การรับมือโดยใช้อารมณ์ (อังกฤษ: Emotional approach coping) เป็นแนวคิดทางจิตวิทยาที่ใช้การประมวลทางอารมณ์ในสมองและการแสดงอารมณ์เพื่อตอบสนองต่อสถานการณ์ที่ก่อความเครียด เทียบกับการหลีกเลี่ยงอารมณ์ ที่การมีอารมณ์ถือเป็นเรื่องลบ เป็นปฏิกิริยาที่ไม่ต้องการในสถานการณ์เครียด การรับมือวิธีนี้ใช้การแสดงอารมณ์และการประมวลอารมณ์เพื่อให้รับมือกับสถานการณ์เครียดได้ดีกว่า แนวคิดนี้พัฒนาขึ้นเพื่ออธิบายความไม่คล้องจองกันในวรรณกรรมทางจิตวิทยาเรื่องความเครียด (stress) และวิธีการรับมือ (coping) คือการรับมือโดยเพ่งอารมณ์ (emotion-focused coping) ซึ่งเป็นแนวคิดที่มีก่อนแล้ว โดยมากสัมพันธ์กับผลที่ถือเป็นการปรับตัวที่ไม่ดี (maladaptive) แต่การประมวลและแสดงอารมณ์กลับมีหลักฐานว่ามีประโยชน์
ประวัติ
การรับมือ (coping) เป็นความตั้งใจพยายามแก้และบรรเทาปัญหาที่ทำให้เครียด งานวิจัยได้แสดงการรับมืออย่างกว้าง ๆ 2 หมวด คือที่เพ่งอารมณ์ หรือที่เพ่งปัญหา การรับมือที่เพ่งอารมณ์มุ่งการควบคุมอารมณ์เชิงลบต่อความเครียด เทียบกับการรับมือที่เพ่งปัญหา ซึ่งมุ่งเปลี่ยนตัวก่อความเครียดโดยตรง นอกจากนั้นแล้ว กระบวนการรับมือยังแบ่งออกได้อีก 2 หมวด คือ การเข้าหาหรือการหลีกเลี่ยงสถานการณ์ก่อความเครียด
นักวิจัยได้แสดงการมีอารมณ์รุนแรงว่า เป็นตัวสร้างปัญหาและเป็นการทำหน้าที่ผิดปกติ โดยเฉพาะของกระบวนการรู้คิด นอกจากนั้นแล้ว งานวิจัยยังแสดงด้วยว่า การรับมือแบบเพ่งอารมณ์สัมพันธ์กับผลทางจิตที่ไม่ดี คือ งานทบทวนวรรณกรรมกว่า 100 งานพบความสัมพันธ์ระหว่างการรับมือแบบเพ่งอารมณ์กับผลลบ เช่น ความพอใจในชีวิตที่ไม่ดี อาการซึมเศร้าและวิตกกังวลที่มากกว่า และความไม่เสถียรทางอารมณ์ (neuroticism)
แต่ว่า ก็ยังมีหลักฐานเชิงประสบการณ์ด้วยว่า การแสดงอารมณ์อาจเป็นการทำหน้าที่อย่างสมควรและเป็นการปรับตัวที่ดี งานทดลองแสดงว่า การเขียนเปิดแสดงอารมณ์มีผลดีต่อประสิทธิภาพการทำงานทางด้านการรู้คิดและผลที่ดีกว่าทางจิต เช่นปรับอารมณ์ซึมเศร้าได้ งานวิจัยในเรื่องการควบคุมอารมณ์ยังแสดงถึงความสำคัญของการประมวลและการแสดงอารมณ์เพื่อความเป็นอยู่ที่ดี งานวิจัยเรื่องการบำบัดก็แสดงถึงบทบาทสำคัญของอารมณ์ในการรับมือกับสถานการณ์ที่ยากอีกด้วย เช่น การบำบัดเพ่งอารมณ์ (Emotion-focused therapy) เป็นจิตบำบัดที่เน้นความสำคัญของการยอมรับและอดทนอารมณ์เชิงลบ และมีความสุขกับอารมณ์เชิงบวกเพื่อให้จิตปรับตัวอย่างถูกสุขภาพ
นักวิจัยได้พยายามจำแนกการรับมือโดยเพ่งอารมณ์ส่วนที่เป็นการปรับตัวผิดจากส่วนที่ใช้ได้ โดยวัดค่าต่าง ๆ นอกจากนั้นแล้ว งานศึกษาหลายงานพบด้วยว่า การรับมือโดยเพ่งอารมณ์บ่อยครั้งรวมกลยุทธ์ทั้งแบบเข้าหาและหลีกเลี่ยง เหตุผลที่สองที่การรับมือโดยเพ่งอารมณ์ถือว่าเป็นการปรับตัวผิดก็เพราะว่า การวัดมีตัวแปรกวนเป็นความทุกข์ (distress) ซึ่งในที่สุดก่อให้เกิดพฤติกรรมแบบปรับตัวผิด เพื่อแก้ปัญหาการวัดค่าของการรับมือโดยเพ่งอารมณ์ (emotion-focused coping) จึงมีการเสนอให้ใช้บทว่า การรับมือโดยใช้อารมณ์ (emotional approach coping) แทน
การประเมินการรับมือโดยใช้อารมณ์
กลุ่มนักจิตวิทยากลุ่มหนึ่งได้พัฒนาแบบวัดการรับมือโดยใช้อารมณ์ในปี 2543 ซึ่งมีการวัดย่อย 2 กลุ่ม คือ การประมวลอารมณ์ และการแสดงอารมณ์ โดยค่าทั้งสองมีสหสัมพันธ์กัน แต่ก็เป็นเรื่องต่างกัน
ส่วนที่วัดการประมวลอารมณ์สะท้อนให้เห็นความพยายามเพื่อเข้าใจ พิจารณา และตรวจสอบอารมณ์เป็นการตอบสนองต่อเหตุการณ์เครียด ยกตัวอย่างเช่นเป็นการยอมรับว่า "ฉันยอมรับความรู้สึกของฉัน" และ "ฉันใช้เวลาเพื่อพิจารณาว่าฉันกำลังรู้สึกอย่างไรจริง ๆ" ส่วนการแสดงอารมณ์สะท้อนให้เห็นความพยายามเพื่อสื่อสารและแชร์อารมณ์กับคนอื่น ๆ ทั้งทางคำพูดและไม่ใช่คำพูด ตัวอย่างเช่น "ฉันปล่อยให้ตัวเองแสดงความรู้สึก" และ "ฉันตามสบายในการแสดงอารมณ์" การวัดทำทั้งโดยคำถามเฉพาะสถานการณ์ (เช่น คุณทำอะไรเพื่อตอบสนองต่อความเครียดนี้) และเฉพาะนิสัย (เช่น คุณทำอะไรโดยทั่วไป) โดยค่าวัดไม่มีสหสัมพันธ์กับความเอนเอียงเพราะเหตุความชอบใจทางสังคม (social desirability bias)
นอกจากภาษาอังกฤษแล้ว แบบวัดยังได้ตรวจความสมเหตุสมผลแล้วในภาษานอร์เวย์ และภาษาตุรกี ด้วย
หลักฐาน
งานวิจัยตามยาว
ความเป็นหมัน
ในบรรดาคู่รักต่างเพศที่มีบุตรยาก การรับมือโดยใช้อารมณ์พยากรณ์อาการซึมเศร้าที่ลดลงสำหรับทั้งคู่หลังจากได้ลองผสมเทียมที่ไม่สำเร็จ การรับมือโดยใช้อารมณ์อาจจะมีประโยชน์กับคู่ชีวิต คือมีหลักฐานว่า การมีคู่ชีวิตเพศชายที่รับมือโดยใช้อารมณ์มีผลป้องกันอาการซึมเศร้าในคู่เพศหญิงผู้ที่ระดับการรับมือด้วยอารมณ์ต่ำ
การถูกทำร้ายทางเพศ
การรับมือโดยใช้อารมณ์อาจมีประโยชน์กับผู้ถูกทำร้ายทางเพศ ในบรรดาผู้ถูกทำร้ายทางเพศ การเพิ่มการแสดงอารมณ์สัมพันธ์กับความรู้สึกว่าตนสามารถควบคุมกระบวนการฟื้นสภาพได้ และความรู้สึกว่าควบคุมได้สัมพันธ์กับความทุกข์ที่น้อยลงหลังเหตุการณ์
มะเร็งเต้านม
มีหลักฐานไม่ชัดเจนว่า การรับมือโดยใช้อารมณ์มีผลต่อตัวอย่างหญิงที่มีมะเร็งเต้านมหรือไม่ คือ ในการศึกษาตามยาวในหญิงที่มีมะเร็งเต้านม หญิงที่รู้สึกว่าสังคมของตนสามารถรับการแสดงอารมณ์ได้ การแสดงอารมณ์ก็จะพยากรณ์คุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น การรับมือโดยใช้อารมณ์ในหญิงที่มีมะเร็งเต้านมยังพยากรณ์สภาพทางจิตใจที่เจริญขึ้นหลังเหตุการณ์อีกด้วย (Posttraumatic growth) แต่ว่าก็ยังมีงานศึกษาอื่น ๆ ที่ไม่พบความสัมพันธ์ระหว่างการแสดงอารมณ์และสภาพทางจิตใจที่เจริญขึ้นหลังเหตุการณ์
งานศึกษาตามขวาง
นักศึกษาและชุมชน
งานศึกษาตามขวางแสดงความสัมพันธ์ระหว่างการรับมือโดยใช้อารมณ์กับการปรับตัวทางจิตเชิงบวก ในสถานการณ์บางอย่างสำหรับนักศึกษาและตัวอย่างจากชุมชน ในงานศึกษาตามขวางของนักศึกษาหญิงปริญญาตรี ผู้ที่รับมือปัญหาโดยใช้อารมณ์มากกว่าจะรายงานความคิดเชิงบวกมากกว่าและความคิดเชิงลบน้อยกว่า ส่วนในตัวอย่างชุมชนของผู้ใหญ่ชาวอเมริกันเชื้อสายแอฟริกา การรับมือโดยใช้อารมณ์สัมพันธ์ในเชิงลบกับความโกรธ ความวิตกกังวลที่เป็นลักษณะสืบสายพันธุ์ (trait) และอาการซึมเศร้า นอกจากนั้นแล้ว หญิงที่รายงานการประมวลอารมณ์เป็นนิสัยในระดับสูงกว่ายังรายงานอาการซึมเศร้าและวิตกกังวลที่น้อยกว่า และความพอใจในชีวิตที่สูงกว่า และสำหรับชาย การแสดงอารมณ์เป็นนิสัยสัมพันธ์กับความพอใจในชีวิตที่สูงกว่า
ตัวอย่างคนไข้ความผิดปกติทางจิต
มีหลักฐานบ้างที่แสดงความสัมพันธ์ระหว่างการรับมือโดยใช้อารมณ์กับความเป็นสุขทางใจ ในงานศึกษาบุคคลที่ผ่านเกณฑ์ DSM-IV สำหรับความผิดปกติแบบวิตกกังวลเทียบกับกลุ่มควบคุมที่ปกติ ระดับการรับมือโดยใช้อารมณ์จะต่ำกว่าในบุคคลที่ผ่านเกณฑ์วินิจฉัย
ส่วนอีกงานศึกษาหนึ่งตรวจสอบทหารผ่านศึกแล้วพบว่า ผู้ที่มีระดับการแสดงอารมณ์สูงกว่า (แต่ไม่เป็นสำหรับผู้ที่มีระดับการประมวลอารมณ์สูงกว่า) สัมพันธ์กับอาการซึมเศร้าที่ลดลง และกับระดับที่ต่ำกว่าของความผิดปกติที่เกิดหลังความเครียดที่สะเทือนใจ (PTSD) แม้ว่าจะได้ควบคุมอายุ เพศ และเชื้อชาติแล้วโดยสถิติ
ตัวอย่างคนไข้โรคมะเร็ง
งานศึกษาตามขวางของตัวอย่างคนไข้โรคมะเร็งพบความสัมพันธ์ทั้งในเชิงบวก เชิงลบ และผสมเผสกับการรับมือโดยใช้อารมณ์ การประมวลและแสดงอารมณ์ระดับสูงในหญิงผู้รอดชีวิตจากโรค สัมพันธ์กับอารมณ์เชิงบวกที่สูงกว่าและกับอารมณ์เชิงลบที่ต่ำกว่า ส่วนในชายผู้รอดชีวิต การประมวลอารมณ์ที่สูงกว่าสัมพันธ์กับอารมณ์เชิงบวกที่สูงกว่า และการแสดงอารมณ์ที่สูงกว่าสัมพันธ์กับอารมณ์เชิงลบที่ต่ำกว่า และกับความคิดที่ไม่ต้องการน้อยกว่า
แต่ว่า ความสัมพันธ์ระหว่าการรับมือโดยใช้อารมณ์กับการปรับตัวทางจิตไม่ใช่เป็นบวกทั้งหมด เพราะมีทั้งแบบลบแบบผสม ในงานศึกษาในหญิงที่ได้ผลผิดปกติจากการคัดกรองโรคมะเร็งรังไข่ การประมวลอารมณ์ในระดับสูงสัมพันธ์กับความคิดที่ไม่ต้องการที่สูงกว่า และทั้งการประมวลและแสดงอารมณ์ไม่สัมพันธ์กับสภาพทางจิตใจที่เจริญขึ้นหลังเหตุการณ์ (Posttraumatic growth)
ตัวอย่างคนไข้โรคเบาหวาน
มีงานศึกษาตามขวางที่แสดงประโยชน์ของการประมวลอารมณ์สำหรับคนไข้โรคเบาหวาน คือในบรรดาคนไข้(โรคเบาหวานแบบ 2) การประมวลอารมณ์ที่สูงกว่าสัมพันธ์กับความรู้เรื่องโรคเบาหวาน การรับยาตามหมอสั่ง และพฤติกรรมดูแลตัวเองเช่น การลดอาหาร การออกกำลังกาย และการตรวจน้ำตาลในเลือดที่ดีกว่า และโดยนัยเดียวกัน สำหรับคนไข้วัยรุ่น(โรคเบาหวานแบบ 1) การประมวลอารมณ์สัมพันธ์กับการควบคุมเมแทบอลิซึมที่ดีกว่า
ปัจจัยที่กำหนดประสิทธิผล
ความเหมาะกับตัวสร้างความเครียด
ตัวสร้างความเครียดและการประเมินมันของแต่ละบุคคล อาจกำหนดประสิทธิผลของการรับมือด้วยอารมณ์เพื่อจัดการความเครียด การประเมินสถานการณ์เครียดว่าควบคุมไม่ได้ อาจทำการรับมือโดยใช้อารมณ์ให้เป็นวิธีการที่ดี งานศึกษาในนักศึกษาปริญญาตรีแสดงว่า เมื่อเผชิญหน้ากับตัวสร้างความเครียดที่บุคคลประเมินว่ายิ่งควบคุมไม่ได้เท่าไร ก็จะเห็นด้วยกับการใช้การรับมือโดยใช้อารมณ์เพื่อจัดการความเครียดยิ่งขึ้นเท่านั้น
เพศ
มีหลักฐานที่แสดงว่า การรับมือโดยใช้อารมณ์ต่างกันระหว่างเพศ ในงานศึกษาตามยาว การรับมือโดยใช้อารมณ์เป็นตัวพยากรณ์ความพอใจในชีวิตและอาการซึมเศร้าที่ลดลงในหญิง แต่ว่า ในชาย กลับเป็นตัวพยากรณ์การปรับตัวได้ไม่ดีในช่วงระยะเวลายาว
มีตัวอย่างที่แสดงว่า หญิงรายงานการประมวลและแสดงอารมณ์มากกว่าชาย แต่ว่า งานวิจัยในคู่ที่เป็นหมัน ไม่พบการใช้การรับมือโดยใช้อารมณ์ระหว่างชายหญิงในระดับที่แตกต่างกัน
ความแตกต่างระหว่างบุคคล
ความแตกต่างระหว่างบุคคล เช่นทักษะในการใช้วิธีรับมือต่าง ๆ และความรู้สึกสบายในการแสดงอารมณ์ อาจเปลี่ยนความโน้มเอียงเพื่อใช้วิธีรับมือโดยใช้อารมณ์อย่างมีประสิทธิผล บุคคลที่มีความฉลาดทางอารมณ์สูงอาจจะใช้การรับมือโดยใช้อารมณ์ได้ดีกว่า แต่การมีความรู้สึกว่าสามารถควบคุมเหตุการณ์ได้โดยไม่สมจริง อาจทำให้โอกาสการใช้การรับมือโดยใช้อารมณ์มีน้อยลงเพราะว่า การแสดงและการประมวลอารมณ์อาจนำไปสู่การประเมินที่ต้องยอมรับว่า ความรู้สึกว่าควบคุมได้เป็นภาพลวง
ลักษณะส่วนบุคคล เช่น การมีหวัง สามารถเปลี่ยนประสิทธิผลของการรับมือโดยใช้อารมณ์ หญิงคนไข้มะเร็งเต้านมที่มีความหวังสูงและรายงานการรับมือโดยแสดงอารมณ์ ต้องไปหาหมอเพราะปัญหาเกี่ยวกับมะเร็งน้อยกว่า มีสุขภาพทางกายที่ดีกว่า และทุกข์น้อยกว่าเทียบกับหญิงที่ไม่แสดงอารมณ์
กลไกการทำงานของการรับมือโดยใช้อารมณ์
การบ่งเป้าหมายและการทำเพื่อให้ถึงเป้าหมาย
ผลของการรับมือโดยใช้อารมณ์อาจมาจากการระบุเป้าหมาย เข้าใจปัญหาการเข้าถึงเป้าหมาย แล้วหาทางเพื่อจะไปถึง คือ การประมวลและแสดงอารมณ์อาจช่วยบุคคลให้หันไปสนใจการระบุเป้าหมายที่สำคัญที่สุดในชีวิตของตน
ความชินต่อตัวก่อความเครียดและการประเมินทางการรู้คิดใหม่
ผลของการรับมือโดยใช้อารมณ์อาจมาจากการได้รับสิ่งเร้าที่สร้างความเครียดเมื่อพยายามประมวลและแสดงอารมณ์ที่เกี่ยวข้องกัน และการได้ตัวสร้างความเครียดอย่างซ้ำ ๆ อาจทำให้เกิดความชินทางสรีรภาพ (habituation) การได้รับสิ่งเร้าซ้ำ ๆ ผ่านการประมวลและแสดงอารมณ์อาจนำไปสู่การประเมินทางการรู้คิดใหม่ (cognitive reappraisal) ของตัวสร้างความเครียดและการยืนยันตนเอง (self-affirmation) ที่สัมพันธ์กัน
การกำหนดอารมณ์
กระบวนการขี้นป้ายให้กับอารมณ์ (เช่น เรียกชื่อมัน) อาจช่วยลดความรุนแรงของประสบการณ์ทางอารมณ์ งานศึกษาได้แสดงว่า การขึ้นป้ายให้กับอารมณ์นำไปสู่การทำงานที่ลดลงในสมองเช่นบริเวณอะมิกดะลา และเพิ่มการทำงานของ prefrontal cortex ซึ่งอาจเป็นการทำงานเพื่อควบคุมอารมณ์ที่เป็นประโยชน์
การควบคุมสถานการณ์ทางสังคม
การรับมือโดยใช้อารมณ์อาจเป็นตัวส่งสัญญาณให้สังคมรู้ว่าบุคคลจำเป็นต้องได้รับความช่วยเหลือ การตอบสนองจากสังคมเป็นตัวกำหนดว่าการรับมือเช่นนี้เป็นการปรับตัวที่ดีหรือไม่ การแสดงอารมณ์ที่ได้รับความเห็นใจจากผู้อื่นอาจทำให้ปรับตัวได้ดีกว่าการไม่ยอมรับ หลักฐานงานวิจัยบางอย่างแสดงว่า นี่อาจจะเป็นกลไกการทำงานของการรับมือวิธีนี้ เพราะว่า หญิงคนไข้มะเร็งเต้านมที่รู้สึกว่าสังคมยอมรับการแสดงอารมณ์ของตนได้ การรับมือโดยใช้อารมณ์จะเป็นตัวพยากรณ์คุณภาพชีวิตที่ดีกว่า
เชิงอรรถและอ้างอิง
- Stanton, A.L.; Parsa, A.; Austenfeld, J.L. (2002). Snyder, C.R.; Lopez, S.J. (บ.ก.). Oxford handbook of positive psychology. New York: Oxford University Press. pp. 148–158. ISBN .
- Stanton, A.L.; Franz, R. (1999). Snyder, C.R. (บ.ก.). Coping : the psychology of what works ([Online-Ausg.]. ed.). New York, NY [u.a.]: Oxford Univ. Press. pp. 90-118. ISBN .
- Snyder, C.R. (2001). Coping with stress : effective people and processes ([Online-Ausg.]. ed.). New York: Oxford University Press. pp. 16-17. ISBN .
- Folkman, Richard S; Lazarus, Susan (2006). Stress, appraisal, and coping ([Nachdr.] ed.). New York: Springer. ISBN .
{{}}
: CS1 maint: uses authors parameter () - Lazarus, Richard S.; Folkman, Susan (1984). Stress, appraisal, and coping. New York: Springer. ISBN .
- Lazarus, Richard S. "Progress on a cognitive-motivational-relational theory of emotion". American Psychologist. 46 (8): 819–834. doi:10.1037/0003-066x.46.8.819.
- Taylor, Shelley E. (2011). Health psychology (8th ed.). New York, NY: McGraw-Hill. ISBN .
- Allport, G. W. (1948). "The Genius of Kurt Lewin". Journal of Social Issues. 4: 14–21.
{{}}
: CS1 maint: uses authors parameter () - Lewin, K (1935). A Dynamic Theory of Personality. New York: McGraw-Hill.
{{}}
: CS1 maint: uses authors parameter () - Carver, Charles S.; White, Teri L. "Behavioral inhibition, behavioral activation, and affective responses to impending reward and punishment: The BIS/BAS Scales". Journal of Personality and Social Psychology. 67 (2): 319–333. doi:10.1037/0022-3514.67.2.319.
- Averill, James R. (1990). Leary, David E. (บ.ก.). Metaphors in the history of psychology (New ed.). New York: Cambridge University Press. pp. 104-132. ISBN .
- Frattaroli, Joanne (2006). "Experimental disclosure and its moderators: A meta-analysis". Psychological Bulletin. 132 (6): 823–865. doi:10.1037/0033-2909.132.6.823.
- Gross, James J.; John, Oliver P. (2013). Gross, James J. (บ.ก.). Handbook of emotion regulation (Second ed.). New York: The Guilford Press. pp. 555–568. ISBN .
- Greenberg, Leslie (2015). Emotion-focused Therapy: Coaching Clients to Work Through Their Feelings. American Psychological Association. ISBN .
- Stanton, Annette L.; Danoff-Burg, Sharon; Cameron, Christine L.; Ellis, Andrew P. "Coping through emotional approach: Problems of conceptualizaton and confounding". Journal of Personality and Social Psychology. 66 (2): 350–362. doi:10.1037/0022-3514.66.2.350.
- Stanton, Annette L.; Kirk, Sarah B.; Cameron, Christine L.; Danoff-Burg, Sharon (2000). "Coping through emotional approach: Scale construction and validation". Journal of Personality and Social Psychology. 78 (6): 1150–1169. doi:10.1037/0022-3514.78.6.1150.
- Austenfeld, Jennifer L.; Stanton, Annette L. (1 December 2004). "Coping Through Emotional Approach: A New Look at Emotion, Coping, and Health-Related Outcomes". Journal of Personality. 72 (6): 1335–1364. doi:10.1111/j.1467-6494.2004.00299.x. ISSN 1467-6494.
- Segerstrom, Suzanne C.; Stanton, Annette L.; Alden, Lynn E.; Shortridge, Brenna E. "A Multidimensional Structure for Repetitive Thought: What's on Your Mind, and How, and How Much?". Journal of Personality and Social Psychology. 85 (5): 909–921. doi:10.1037/0022-3514.85.5.909.
- Zangi, Heidi A.; Garratt, Andrew; Hagen, Kåre B.; Stanton, Annette L.; Mowinckel, Petter; Finset, Arnstein (3 September 2009). "Emotion regulation in patients with rheumatic diseases: validity and responsiveness of the Emotional Approach Coping Scale (EAC)". BMC Musculoskeletal Disorders. 10 (1): 107. doi:10.1186/1471-2474-10-107. ISSN 1471-2474. PMC 2749806. PMID 19728869.
- Durak, Mihat; Senol-Durak, Emre (2011). "Turkish Validation of the Emotional Approach Coping Scale". Psychological Reports. doi:10.2466/02.08.20.21.
- Berghuis, James P.; Stanton, Annette L. (April 2002). "Adjustment to a dyadic stressor: A longitudinal study of coping and depressive symptoms in infertile couples over an insemination attempt". Journal of Consulting and Clinical Psychology. 70 (2): 433–438. doi:10.1037/0022-006x.70.2.433.
- Frazier, Patricia; Tashiro, Ty; Berman, Margit; Steger, Michael; Long, Jeffrey. "Correlates of Levels and Patterns of Positive Life Changes Following Sexual Assault". Journal of Consulting and Clinical Psychology. 72 (1): 19–30. doi:10.1037/0022-006x.72.1.19.
- Stanton, Annette L.; Danoff-Burg, Sharon; Cameron, Christine L.; Bishop, Michelle; Collins, Charlotte A.; Kirk, Sarah B.; Sworowski, Lisa A.; Twillman, Robert (October 2000). "Emotionally expressive coping predicts psychological and physical adjustment to breast cancer". Journal of Consulting and Clinical Psychology. 68 (5): 875–882. doi:10.1037/0022-006x.68.5.875.
- Manne, S.; Ostroff, J.; Winkel, G.; Goldstein, L.; Fox, K.; Grana, G. (2004). "Posttraumatic growth after breast cancer: Patient, partner, and couple perspectives". Psychosomatic Medicine: 442–454.
- Lechner, Suzanne C.; Carver, Charles S.; Antoni, Michael H.; Weaver, Kathryn E.; Phillips, Kristin M. (October 2006). "Curvilinear associations between benefit finding and psychosocial adjustment to breast cancer". Journal of Consulting and Clinical Psychology. 74 (5): 828–840. doi:10.1037/0022-006x.74.5.828.
- Segerstrom, Suzanne C.; Stanton, Annette L.; Flynn, Sarah McQueary; Roach, Abbey R.; Testa, Jamie J.; Hardy, Jaime K. (2012-01-01). "Episodic repetitive thought: dimensions, correlates, and consequences". Anxiety, Stress, & Coping. 25 (1): 3–21. doi:10.1080/10615806.2011.608126. ISSN 1061-5806. PMC 3237825. PMID 21861772.
- Peters, Rosalind M. (1 September 2006). "The Relationship of Racism, Chronic Stress Emotions, and Blood Pressure". Journal of Nursing Scholarship. 38 (3): 234–240. doi:10.1111/j.1547-5069.2006.00108.x. ISSN 1547-5069.
- Marques, Luana; Kaufman, Rebecca E.; LeBeau, Richard T.; Moshier, Samantha J.; Otto, Michael W.; Pollack, Mark H.; Simon, Naomi M. (1 June 2009). "A Comparison of Emotional Approach Coping (EAC) between Individuals with Anxiety Disorders and Nonanxious Controls". CNS Neuroscience & Therapeutics. 15 (2): 100–106. doi:10.1111/j.1755-5949.2009.00080.x. ISSN 1755-5949.
- Hassija, Christina M.; Luterek, Jane A.; Naragon-Gainey, Kristin; Moore, Sally A.; Simpson, Tracy (1 September 2012). "Impact of emotional approach coping and hope on PTSD and depression symptoms in a trauma exposed sample of Veterans receiving outpatient VA mental health care services". Anxiety, Stress, & Coping. 25 (5): 559–573. doi:10.1080/10615806.2011.621948. ISSN 1061-5806. PMID 22059938.
- Cho, Dalnim; Park, Crystal L.; Blank, Thomas O. (1 August 2013). "Emotional approach coping: Gender differences on psychological adjustment in young to middle-aged cancer survivors". Psychology & Health. 28 (8): 874–894. doi:10.1080/08870446.2012.762979. ISSN 0887-0446. PMID 23391312.
- Andrykowski, Michael A.; Pavlik, Edward J. (1 April 2011). "Response to an abnormal ovarian cancer-screening test result: Test of the social cognitive processing and cognitive social health information processing models". Psychology & Health. 26 (4): 383–397. doi:10.1080/08870440903437034. ISSN 0887-0446. PMC 2911487. PMID 20419561.
- Smalls, Brittany L.; Walker, Rebekah J.; Hernandez-Tejada, Melba A.; Campbell, Jennifer A.; Davis, Kimberly S.; Egede, Leonard E. (2012). "Associations between coping, diabetes knowledge, medication adherence and self-care behaviors in adults with type 2 diabetes". General Hospital Psychiatry. 34 (4): 385–389. doi:10.1016/j.genhosppsych.2012.03.018. PMC 3383912. PMID 22554428.
- Hughes, Amy E.; Berg, Cynthia A.; Wiebe, Deborah J. (1 September 2012). "Emotional Processing and Self-Control in Adolescents With Type 1 Diabetes". Journal of Pediatric Psychology. 37 (8): 925–934. doi:10.1093/jpepsy/jss062. ISSN 0146-8693. PMC 3437683. PMID 22523404.
- Park, Crystal L.; Armeli, Stephen; Tennen, Howard (1 May 2004). "Appraisal-Coping Goodness of Fit: A Daily Internet Study". Personality and Social Psychology Bulletin. 30 (5): 558–569. doi:10.1177/0146167203262855. ISSN 0146-1672. PMID 15107156.
- Zuckerman, Miron; Knee, C. Raymond; Kieffer, Suzanne C.; Gagne, Marylene (1 April 2004). "What Individuals Believe They Can and Cannot Do: Explorations of Realistic and Unrealistic Control Beliefs". Journal of Personality Assessment. 82 (2): 215–232. doi:10.1207/s15327752jpa8202_9. ISSN 0022-3891. PMID 15080132.
- Creswell, J. David; Lam, Suman; Stanton, Annette L.; Taylor, Shelley E.; Bower, Julienne E.; Sherman, David K. (1 February 2007). "Does Self-Affirmation, Cognitive Processing, or Discovery of Meaning Explain Cancer-Related Health Benefits of Expressive Writing?". Personality and Social Psychology Bulletin. 33 (2): 238–250. doi:10.1177/0146167206294412. ISSN 0146-1672. PMID 17259584.
- Burklund, Lisa Jane; Creswell, J. David; Irwin, Michael; Lieberman, Matthew (2014-01-01). "The common and distinct neural bases of affect labeling and reappraisal in healthy adults". Emotion Science. 5: 221. doi:10.3389/fpsyg.2014.00221. PMC 3970015. PMID 24715880.
wikipedia, แบบไทย, วิกิพีเดีย, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด, บทความ, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม, มือถือ, โทรศัพท์, Android, iOS, Apple, โทรศัพท์โมบิล, Samsung, iPhone, Xiomi, Xiaomi, Redmi, Honor, Oppo, Nokia, Sonya, MI, PC, พีซี, web, เว็บ, คอมพิวเตอร์
karrbmuxodyichxarmn xngkvs Emotional approach coping epnaenwkhidthangcitwithyathiichkarpramwlthangxarmninsmxngaelakaraesdngxarmnephuxtxbsnxngtxsthankarnthikxkhwamekhriyd ethiybkbkarhlikeliyngxarmn thikarmixarmnthuxepneruxnglb epnptikiriyathiimtxngkarinsthankarnekhriyd karrbmuxwithiniichkaraesdngxarmnaelakarpramwlxarmnephuxihrbmuxkbsthankarnekhriydiddikwa aenwkhidniphthnakhunephuxxthibaykhwamimkhlxngcxngkninwrrnkrrmthangcitwithyaeruxngkhwamekhriyd stress aelawithikarrbmux coping khuxkarrbmuxodyephngxarmn emotion focused coping sungepnaenwkhidthimikxnaelw odymaksmphnthkbphlthithuxepnkarprbtwthiimdi maladaptive aetkarpramwlaelaaesdngxarmnklbmihlkthanwamipraoychnprawtikarrbmux coping epnkhwamtngicphyayamaekaelabrrethapyhathithaihekhriyd nganwicyidaesdngkarrbmuxxyangkwang 2 hmwd khuxthiephngxarmn hruxthiephngpyha karrbmuxthiephngxarmnmungkarkhwbkhumxarmnechinglbtxkhwamekhriyd ethiybkbkarrbmuxthiephngpyha sungmungepliyntwkxkhwamekhriydodytrng nxkcaknnaelw krabwnkarrbmuxyngaebngxxkidxik 2 hmwd khux karekhahahruxkarhlikeliyngsthankarnkxkhwamekhriyd nkwicyidaesdngkarmixarmnrunaerngwa epntwsrangpyhaaelaepnkarthahnathiphidpkti odyechphaakhxngkrabwnkarrukhid nxkcaknnaelw nganwicyyngaesdngdwywa karrbmuxaebbephngxarmnsmphnthkbphlthangcitthiimdi khux nganthbthwnwrrnkrrmkwa 100 nganphbkhwamsmphnthrahwangkarrbmuxaebbephngxarmnkbphllb echn khwamphxicinchiwitthiimdi xakarsumesraaelawitkkngwlthimakkwa aelakhwamimesthiyrthangxarmn neuroticism aetwa kyngmihlkthanechingprasbkarndwywa karaesdngxarmnxacepnkarthahnathixyangsmkhwraelaepnkarprbtwthidi nganthdlxngaesdngwa karekhiynepidaesdngxarmnmiphlditxprasiththiphaphkarthanganthangdankarrukhidaelaphlthidikwathangcit echnprbxarmnsumesraid nganwicyineruxngkarkhwbkhumxarmnyngaesdngthungkhwamsakhykhxngkarpramwlaelakaraesdngxarmnephuxkhwamepnxyuthidi nganwicyeruxngkarbabdkaesdngthungbthbathsakhykhxngxarmninkarrbmuxkbsthankarnthiyakxikdwy echn karbabdephngxarmn Emotion focused therapy epncitbabdthiennkhwamsakhykhxngkaryxmrbaelaxdthnxarmnechinglb aelamikhwamsukhkbxarmnechingbwkephuxihcitprbtwxyangthuksukhphaph nkwicyidphyayamcaaenkkarrbmuxodyephngxarmnswnthiepnkarprbtwphidcakswnthiichid odywdkhatang nxkcaknnaelw ngansuksahlaynganphbdwywa karrbmuxodyephngxarmnbxykhrngrwmklyuthththngaebbekhahaaelahlikeliyng ehtuphlthisxngthikarrbmuxodyephngxarmnthuxwaepnkarprbtwphidkephraawa karwdmitwaeprkwnepnkhwamthukkh distress sunginthisudkxihekidphvtikrrmaebbprbtwphid ephuxaekpyhakarwdkhakhxngkarrbmuxodyephngxarmn emotion focused coping cungmikaresnxihichbthwa karrbmuxodyichxarmn emotional approach coping aethnkarpraeminkarrbmuxodyichxarmnklumnkcitwithyaklumhnungidphthnaaebbwdkarrbmuxodyichxarmninpi 2543 sungmikarwdyxy 2 klum khux karpramwlxarmn aelakaraesdngxarmn odykhathngsxngmishsmphnthkn aetkepneruxngtangkn swnthiwdkarpramwlxarmnsathxnihehnkhwamphyayamephuxekhaic phicarna aelatrwcsxbxarmnepnkartxbsnxngtxehtukarnekhriyd yktwxyangechnepnkaryxmrbwa chnyxmrbkhwamrusukkhxngchn aela chnichewlaephuxphicarnawachnkalngrusukxyangircring swnkaraesdngxarmnsathxnihehnkhwamphyayamephuxsuxsaraelaaechrxarmnkbkhnxun thngthangkhaphudaelaimichkhaphud twxyangechn chnplxyihtwexngaesdngkhwamrusuk aela chntamsbayinkaraesdngxarmn karwdthathngodykhathamechphaasthankarn echn khunthaxairephuxtxbsnxngtxkhwamekhriydni aelaechphaanisy echn khunthaxairodythwip odykhawdimmishsmphnthkbkhwamexnexiyngephraaehtukhwamchxbicthangsngkhm social desirability bias nxkcakphasaxngkvsaelw aebbwdyngidtrwckhwamsmehtusmphlaelwinphasanxrewy aelaphasaturki dwyhlkthannganwicytamyaw khwamepnhmn inbrrdakhurktangephsthimibutryak karrbmuxodyichxarmnphyakrnxakarsumesrathildlngsahrbthngkhuhlngcakidlxngphsmethiymthiimsaerc karrbmuxodyichxarmnxaccamipraoychnkbkhuchiwit khuxmihlkthanwa karmikhuchiwitephschaythirbmuxodyichxarmnmiphlpxngknxakarsumesrainkhuephshyingphuthiradbkarrbmuxdwyxarmnta karthuktharaythangephs karrbmuxodyichxarmnxacmipraoychnkbphuthuktharaythangephs inbrrdaphuthuktharaythangephs karephimkaraesdngxarmnsmphnthkbkhwamrusukwatnsamarthkhwbkhumkrabwnkarfunsphaphid aelakhwamrusukwakhwbkhumidsmphnthkbkhwamthukkhthinxylnghlngehtukarn maerngetanm mihlkthanimchdecnwa karrbmuxodyichxarmnmiphltxtwxyanghyingthimimaerngetanmhruxim khux inkarsuksatamyawinhyingthimimaerngetanm hyingthirusukwasngkhmkhxngtnsamarthrbkaraesdngxarmnid karaesdngxarmnkcaphyakrnkhunphaphchiwitthidikhun karrbmuxodyichxarmninhyingthimimaerngetanmyngphyakrnsphaphthangciticthiecriykhunhlngehtukarnxikdwy Posttraumatic growth aetwakyngmingansuksaxun thiimphbkhwamsmphnthrahwangkaraesdngxarmnaelasphaphthangciticthiecriykhunhlngehtukarn ngansuksatamkhwang nksuksaaelachumchn ngansuksatamkhwangaesdngkhwamsmphnthrahwangkarrbmuxodyichxarmnkbkarprbtwthangcitechingbwk insthankarnbangxyangsahrbnksuksaaelatwxyangcakchumchn inngansuksatamkhwangkhxngnksuksahyingpriyyatri phuthirbmuxpyhaodyichxarmnmakkwacarayngankhwamkhidechingbwkmakkwaaelakhwamkhidechinglbnxykwa swnintwxyangchumchnkhxngphuihychawxemriknechuxsayaexfrika karrbmuxodyichxarmnsmphnthinechinglbkbkhwamokrth khwamwitkkngwlthiepnlksnasubsayphnthu trait aelaxakarsumesra nxkcaknnaelw hyingthirayngankarpramwlxarmnepnnisyinradbsungkwayngraynganxakarsumesraaelawitkkngwlthinxykwa aelakhwamphxicinchiwitthisungkwa aelasahrbchay karaesdngxarmnepnnisysmphnthkbkhwamphxicinchiwitthisungkwa twxyangkhnikhkhwamphidpktithangcit mihlkthanbangthiaesdngkhwamsmphnthrahwangkarrbmuxodyichxarmnkbkhwamepnsukhthangic inngansuksabukhkhlthiphaneknth DSM IV sahrbkhwamphidpktiaebbwitkkngwlethiybkbklumkhwbkhumthipkti radbkarrbmuxodyichxarmncatakwainbukhkhlthiphaneknthwinicchy swnxikngansuksahnungtrwcsxbthharphansukaelwphbwa phuthimiradbkaraesdngxarmnsungkwa aetimepnsahrbphuthimiradbkarpramwlxarmnsungkwa smphnthkbxakarsumesrathildlng aelakbradbthitakwakhxngkhwamphidpktithiekidhlngkhwamekhriydthisaethuxnic PTSD aemwacaidkhwbkhumxayu ephs aelaechuxchatiaelwodysthiti twxyangkhnikhorkhmaerng ngansuksatamkhwangkhxngtwxyangkhnikhorkhmaerngphbkhwamsmphnththnginechingbwk echinglb aelaphsmephskbkarrbmuxodyichxarmn karpramwlaelaaesdngxarmnradbsunginhyingphurxdchiwitcakorkh smphnthkbxarmnechingbwkthisungkwaaelakbxarmnechinglbthitakwa swninchayphurxdchiwit karpramwlxarmnthisungkwasmphnthkbxarmnechingbwkthisungkwa aelakaraesdngxarmnthisungkwasmphnthkbxarmnechinglbthitakwa aelakbkhwamkhidthiimtxngkarnxykwa aetwa khwamsmphnthrahwakarrbmuxodyichxarmnkbkarprbtwthangcitimichepnbwkthnghmd ephraamithngaebblbaebbphsm inngansuksainhyingthiidphlphidpkticakkarkhdkrxngorkhmaerngrngikh karpramwlxarmninradbsungsmphnthkbkhwamkhidthiimtxngkarthisungkwa aelathngkarpramwlaelaaesdngxarmnimsmphnthkbsphaphthangciticthiecriykhunhlngehtukarn Posttraumatic growth twxyangkhnikhorkhebahwan mingansuksatamkhwangthiaesdngpraoychnkhxngkarpramwlxarmnsahrbkhnikhorkhebahwan khuxinbrrdakhnikhorkhebahwanaebb 2 karpramwlxarmnthisungkwasmphnthkbkhwamrueruxngorkhebahwan karrbyatamhmxsng aelaphvtikrrmduaeltwexngechn karldxahar karxxkkalngkay aelakartrwcnatalineluxdthidikwa aelaodynyediywkn sahrbkhnikhwyrunorkhebahwanaebb 1 karpramwlxarmnsmphnthkbkarkhwbkhumemaethbxlisumthidikwapccythikahndprasiththiphlkhwamehmaakbtwsrangkhwamekhriyd twsrangkhwamekhriydaelakarpraeminmnkhxngaetlabukhkhl xackahndprasiththiphlkhxngkarrbmuxdwyxarmnephuxcdkarkhwamekhriyd karpraeminsthankarnekhriydwakhwbkhumimid xacthakarrbmuxodyichxarmnihepnwithikarthidi ngansuksainnksuksapriyyatriaesdngwa emuxephchiyhnakbtwsrangkhwamekhriydthibukhkhlpraeminwayingkhwbkhumimidethair kcaehndwykbkarichkarrbmuxodyichxarmnephuxcdkarkhwamekhriydyingkhunethann ephs mihlkthanthiaesdngwa karrbmuxodyichxarmntangknrahwangephs inngansuksatamyaw karrbmuxodyichxarmnepntwphyakrnkhwamphxicinchiwitaelaxakarsumesrathildlnginhying aetwa inchay klbepntwphyakrnkarprbtwidimdiinchwngrayaewlayaw mitwxyangthiaesdngwa hyingrayngankarpramwlaelaaesdngxarmnmakkwachay aetwa nganwicyinkhuthiepnhmn imphbkarichkarrbmuxodyichxarmnrahwangchayhyinginradbthiaetktangkn khwamaetktangrahwangbukhkhl khwamaetktangrahwangbukhkhl echnthksainkarichwithirbmuxtang aelakhwamrusuksbayinkaraesdngxarmn xacepliynkhwamonmexiyngephuxichwithirbmuxodyichxarmnxyangmiprasiththiphl bukhkhlthimikhwamchladthangxarmnsungxaccaichkarrbmuxodyichxarmniddikwa aetkarmikhwamrusukwasamarthkhwbkhumehtukarnidodyimsmcring xacthaihoxkaskarichkarrbmuxodyichxarmnminxylngephraawa karaesdngaelakarpramwlxarmnxacnaipsukarpraeminthitxngyxmrbwa khwamrusukwakhwbkhumidepnphaphlwng lksnaswnbukhkhl echn karmihwng samarthepliynprasiththiphlkhxngkarrbmuxodyichxarmn hyingkhnikhmaerngetanmthimikhwamhwngsungaelarayngankarrbmuxodyaesdngxarmn txngiphahmxephraapyhaekiywkbmaerngnxykwa misukhphaphthangkaythidikwa aelathukkhnxykwaethiybkbhyingthiimaesdngxarmnklikkarthangankhxngkarrbmuxodyichxarmnkarbngepahmayaelakarthaephuxihthungepahmay phlkhxngkarrbmuxodyichxarmnxacmacakkarrabuepahmay ekhaicpyhakarekhathungepahmay aelwhathangephuxcaipthung khux karpramwlaelaaesdngxarmnxacchwybukhkhlihhnipsnickarrabuepahmaythisakhythisudinchiwitkhxngtn khwamchintxtwkxkhwamekhriydaelakarpraeminthangkarrukhidihm phlkhxngkarrbmuxodyichxarmnxacmacakkaridrbsingerathisrangkhwamekhriydemuxphyayampramwlaelaaesdngxarmnthiekiywkhxngkn aelakaridtwsrangkhwamekhriydxyangsa xacthaihekidkhwamchinthangsrirphaph habituation karidrbsingerasa phankarpramwlaelaaesdngxarmnxacnaipsukarpraeminthangkarrukhidihm cognitive reappraisal khxngtwsrangkhwamekhriydaelakaryunyntnexng self affirmation thismphnthkn karkahndxarmn krabwnkarkhinpayihkbxarmn echn eriykchuxmn xacchwyldkhwamrunaerngkhxngprasbkarnthangxarmn ngansuksaidaesdngwa karkhunpayihkbxarmnnaipsukarthanganthildlnginsmxngechnbriewnxamikdala aelaephimkarthangankhxng prefrontal cortex sungxacepnkarthanganephuxkhwbkhumxarmnthiepnpraoychn karkhwbkhumsthankarnthangsngkhm karrbmuxodyichxarmnxacepntwsngsyyanihsngkhmruwabukhkhlcaepntxngidrbkhwamchwyehlux kartxbsnxngcaksngkhmepntwkahndwakarrbmuxechnniepnkarprbtwthidihruxim karaesdngxarmnthiidrbkhwamehniccakphuxunxacthaihprbtwiddikwakarimyxmrb hlkthannganwicybangxyangaesdngwa nixaccaepnklikkarthangankhxngkarrbmuxwithini ephraawa hyingkhnikhmaerngetanmthirusukwasngkhmyxmrbkaraesdngxarmnkhxngtnid karrbmuxodyichxarmncaepntwphyakrnkhunphaphchiwitthidikwaechingxrrthaelaxangxingStanton A L Parsa A Austenfeld J L 2002 Snyder C R Lopez S J b k Oxford handbook of positive psychology New York Oxford University Press pp 148 158 ISBN 978 0199862160 Stanton A L Franz R 1999 Snyder C R b k Coping the psychology of what works Online Ausg ed New York NY u a Oxford Univ Press pp 90 118 ISBN 978 0195119343 Snyder C R 2001 Coping with stress effective people and processes Online Ausg ed New York Oxford University Press pp 16 17 ISBN 9780195130447 Folkman Richard S Lazarus Susan 2006 Stress appraisal and coping Nachdr ed New York Springer ISBN 0 8261 4191 9 a href wiki E0 B9 81 E0 B8 A1 E0 B9 88 E0 B9 81 E0 B8 9A E0 B8 9A Cite book title aemaebb Cite book cite book a CS1 maint uses authors parameter Lazarus Richard S Folkman Susan 1984 Stress appraisal and coping New York Springer ISBN 978 0826141910 Lazarus Richard S Progress on a cognitive motivational relational theory of emotion American Psychologist 46 8 819 834 doi 10 1037 0003 066x 46 8 819 Taylor Shelley E 2011 Health psychology 8th ed New York NY McGraw Hill ISBN 9780078035197 Allport G W 1948 The Genius of Kurt Lewin Journal of Social Issues 4 14 21 a href wiki E0 B9 81 E0 B8 A1 E0 B9 88 E0 B9 81 E0 B8 9A E0 B8 9A Cite journal title aemaebb Cite journal cite journal a CS1 maint uses authors parameter Lewin K 1935 A Dynamic Theory of Personality New York McGraw Hill a href wiki E0 B9 81 E0 B8 A1 E0 B9 88 E0 B9 81 E0 B8 9A E0 B8 9A Cite book title aemaebb Cite book cite book a CS1 maint uses authors parameter Carver Charles S White Teri L Behavioral inhibition behavioral activation and affective responses to impending reward and punishment The BIS BAS Scales Journal of Personality and Social Psychology 67 2 319 333 doi 10 1037 0022 3514 67 2 319 Averill James R 1990 Leary David E b k Metaphors in the history of psychology New ed New York Cambridge University Press pp 104 132 ISBN 9780521421522 Frattaroli Joanne 2006 Experimental disclosure and its moderators A meta analysis Psychological Bulletin 132 6 823 865 doi 10 1037 0033 2909 132 6 823 Gross James J John Oliver P 2013 Gross James J b k Handbook of emotion regulation Second ed New York The Guilford Press pp 555 568 ISBN 9781462503506 Greenberg Leslie 2015 Emotion focused Therapy Coaching Clients to Work Through Their Feelings American Psychological Association ISBN 9781433819957 Stanton Annette L Danoff Burg Sharon Cameron Christine L Ellis Andrew P Coping through emotional approach Problems of conceptualizaton and confounding Journal of Personality and Social Psychology 66 2 350 362 doi 10 1037 0022 3514 66 2 350 Stanton Annette L Kirk Sarah B Cameron Christine L Danoff Burg Sharon 2000 Coping through emotional approach Scale construction and validation Journal of Personality and Social Psychology 78 6 1150 1169 doi 10 1037 0022 3514 78 6 1150 Austenfeld Jennifer L Stanton Annette L 1 December 2004 Coping Through Emotional Approach A New Look at Emotion Coping and Health Related Outcomes Journal of Personality 72 6 1335 1364 doi 10 1111 j 1467 6494 2004 00299 x ISSN 1467 6494 Segerstrom Suzanne C Stanton Annette L Alden Lynn E Shortridge Brenna E A Multidimensional Structure for Repetitive Thought What s on Your Mind and How and How Much Journal of Personality and Social Psychology 85 5 909 921 doi 10 1037 0022 3514 85 5 909 Zangi Heidi A Garratt Andrew Hagen Kare B Stanton Annette L Mowinckel Petter Finset Arnstein 3 September 2009 Emotion regulation in patients with rheumatic diseases validity and responsiveness of the Emotional Approach Coping Scale EAC BMC Musculoskeletal Disorders 10 1 107 doi 10 1186 1471 2474 10 107 ISSN 1471 2474 PMC 2749806 PMID 19728869 Durak Mihat Senol Durak Emre 2011 Turkish Validation of the Emotional Approach Coping Scale Psychological Reports doi 10 2466 02 08 20 21 Berghuis James P Stanton Annette L April 2002 Adjustment to a dyadic stressor A longitudinal study of coping and depressive symptoms in infertile couples over an insemination attempt Journal of Consulting and Clinical Psychology 70 2 433 438 doi 10 1037 0022 006x 70 2 433 Frazier Patricia Tashiro Ty Berman Margit Steger Michael Long Jeffrey Correlates of Levels and Patterns of Positive Life Changes Following Sexual Assault Journal of Consulting and Clinical Psychology 72 1 19 30 doi 10 1037 0022 006x 72 1 19 Stanton Annette L Danoff Burg Sharon Cameron Christine L Bishop Michelle Collins Charlotte A Kirk Sarah B Sworowski Lisa A Twillman Robert October 2000 Emotionally expressive coping predicts psychological and physical adjustment to breast cancer Journal of Consulting and Clinical Psychology 68 5 875 882 doi 10 1037 0022 006x 68 5 875 Manne S Ostroff J Winkel G Goldstein L Fox K Grana G 2004 Posttraumatic growth after breast cancer Patient partner and couple perspectives Psychosomatic Medicine 442 454 Lechner Suzanne C Carver Charles S Antoni Michael H Weaver Kathryn E Phillips Kristin M October 2006 Curvilinear associations between benefit finding and psychosocial adjustment to breast cancer Journal of Consulting and Clinical Psychology 74 5 828 840 doi 10 1037 0022 006x 74 5 828 Segerstrom Suzanne C Stanton Annette L Flynn Sarah McQueary Roach Abbey R Testa Jamie J Hardy Jaime K 2012 01 01 Episodic repetitive thought dimensions correlates and consequences Anxiety Stress amp Coping 25 1 3 21 doi 10 1080 10615806 2011 608126 ISSN 1061 5806 PMC 3237825 PMID 21861772 Peters Rosalind M 1 September 2006 The Relationship of Racism Chronic Stress Emotions and Blood Pressure Journal of Nursing Scholarship 38 3 234 240 doi 10 1111 j 1547 5069 2006 00108 x ISSN 1547 5069 Marques Luana Kaufman Rebecca E LeBeau Richard T Moshier Samantha J Otto Michael W Pollack Mark H Simon Naomi M 1 June 2009 A Comparison of Emotional Approach Coping EAC between Individuals with Anxiety Disorders and Nonanxious Controls CNS Neuroscience amp Therapeutics 15 2 100 106 doi 10 1111 j 1755 5949 2009 00080 x ISSN 1755 5949 Hassija Christina M Luterek Jane A Naragon Gainey Kristin Moore Sally A Simpson Tracy 1 September 2012 Impact of emotional approach coping and hope on PTSD and depression symptoms in a trauma exposed sample of Veterans receiving outpatient VA mental health care services Anxiety Stress amp Coping 25 5 559 573 doi 10 1080 10615806 2011 621948 ISSN 1061 5806 PMID 22059938 Cho Dalnim Park Crystal L Blank Thomas O 1 August 2013 Emotional approach coping Gender differences on psychological adjustment in young to middle aged cancer survivors Psychology amp Health 28 8 874 894 doi 10 1080 08870446 2012 762979 ISSN 0887 0446 PMID 23391312 Andrykowski Michael A Pavlik Edward J 1 April 2011 Response to an abnormal ovarian cancer screening test result Test of the social cognitive processing and cognitive social health information processing models Psychology amp Health 26 4 383 397 doi 10 1080 08870440903437034 ISSN 0887 0446 PMC 2911487 PMID 20419561 Smalls Brittany L Walker Rebekah J Hernandez Tejada Melba A Campbell Jennifer A Davis Kimberly S Egede Leonard E 2012 Associations between coping diabetes knowledge medication adherence and self care behaviors in adults with type 2 diabetes General Hospital Psychiatry 34 4 385 389 doi 10 1016 j genhosppsych 2012 03 018 PMC 3383912 PMID 22554428 Hughes Amy E Berg Cynthia A Wiebe Deborah J 1 September 2012 Emotional Processing and Self Control in Adolescents With Type 1 Diabetes Journal of Pediatric Psychology 37 8 925 934 doi 10 1093 jpepsy jss062 ISSN 0146 8693 PMC 3437683 PMID 22523404 Park Crystal L Armeli Stephen Tennen Howard 1 May 2004 Appraisal Coping Goodness of Fit A Daily Internet Study Personality and Social Psychology Bulletin 30 5 558 569 doi 10 1177 0146167203262855 ISSN 0146 1672 PMID 15107156 Zuckerman Miron Knee C Raymond Kieffer Suzanne C Gagne Marylene 1 April 2004 What Individuals Believe They Can and Cannot Do Explorations of Realistic and Unrealistic Control Beliefs Journal of Personality Assessment 82 2 215 232 doi 10 1207 s15327752jpa8202 9 ISSN 0022 3891 PMID 15080132 Creswell J David Lam Suman Stanton Annette L Taylor Shelley E Bower Julienne E Sherman David K 1 February 2007 Does Self Affirmation Cognitive Processing or Discovery of Meaning Explain Cancer Related Health Benefits of Expressive Writing Personality and Social Psychology Bulletin 33 2 238 250 doi 10 1177 0146167206294412 ISSN 0146 1672 PMID 17259584 Burklund Lisa Jane Creswell J David Irwin Michael Lieberman Matthew 2014 01 01 The common and distinct neural bases of affect labeling and reappraisal in healthy adults Emotion Science 5 221 doi 10 3389 fpsyg 2014 00221 PMC 3970015 PMID 24715880