บทความนี้อาจต้องการตรวจสอบต้นฉบับ ในด้านไวยากรณ์ รูปแบบการเขียน การเรียบเรียง คุณภาพ หรือการสะกด คุณสามารถช่วยพัฒนาบทความได้ |
โดพามีน (อังกฤษ: Dopamine) เป็นสารประกอบอินทรีย์ในกลุ่มเดียวกัน แคทิคอลลามีน และ เฟนเอทิลเอมีน ซึ่งมีความสำคัญกับสมองและร่างกาย ซื่อโดพามีน ได้จากโครงสร้างทางเคมี ซึ่งสังเคราะห์โดยการเปลี่ยนหมู่กรดอินทรีย์ของ L-DOPA ( L-3,4-dihydroxyphenylalanine) ให้เป็นหมู่อะมิโน ซึ่งเป็นสารเคมีที่ผลิตขึ้นในสมองและไต และพบว่าพืชและสัตว์บางชนิดก็สามารถสังเคราะห์ได้เช่นกัน
of dopamine | |
of the dopamine molecule as found in solution. In the solid state, dopamine adopts a form. | |
ข้อมูลทางคลินิก | |
---|---|
ชื่ออื่น |
|
ข้อมูลทางสรีรวิทยา | |
เนื้อเยื่อต้นกำเนิด | ; ; many others |
เนื้อเยื่อเป้าหมาย | System-wide |
ตัวรับ | , , , , , |
กระตุ้น | โดยตรง: , : โคเคน, แอมเฟตามีน |
ยับยั้ง | ยาระงับอาการทางจิต, , ดอมเพริโดน |
สารต้นกำเนิด | ฟีนิลอะลานีน, ไทโรซีน และ |
ชีวสังเคราะห์ | |
เมแทบอลิซึม | , |
ตัวบ่งชี้ | |
| |
เลขทะเบียน CAS |
|
(PubChem) CID |
|
| |
DrugBank |
|
ChemSpider |
|
| |
| |
100.000.101 | |
ข้อมูลทางกายภาพและเคมี | |
สูตร | C8H11NO2 |
153.181 g·mol−1 | |
แบบจำลอง 3D () |
|
| |
| |
ในสมอง โดพามีนทำหน้าที่เป็นสารสื่อประสาท (neurotransmitter) คอยกระตุ้น ตัวรับโดพามีน (dopamine receptor) โดพามีนทำหน้าที่เป็น (neurohormone) ที่หลั่งมาจากสมองส่วนไฮโปทาลามัส (hypothalamus) หน้าที่หลักของฮอร์โมนตัวนี้คือยับยั้งการหลั่งโปรแลคติน (prolactin) จากต่อมใต้สมองส่วนหน้า (anterior pituitary)
โดพามีนสามารถใช้เป็นยา ซึ่งมีผลต่อระบบประสาทซิมพาเทติก (sympathetic nervous system) โดยมีผลลัพธ์คือ อัตราการเต้นของหัวใจเพิ่มขึ้น แรงดันโลหิตเพิ่มขึ้น อย่างไรก็ตาม เมื่อโดพามีนไม่สามารถผ่านโครงสร้างกั้นระหว่างเลือดและสมอง (blood-brain barrier) โดพามีนที่ใช้เป็นยา จะไม่มีผลโดยตรงต่อระบบประสาทส่วนกลาง การเพิ่มปริมาณของโดพามีนในสมองของผู้ป่วยที่เป็นโรคต่างๆ เช่น พาร์คินสัน สามารถให้สารตั้งต้นแบบสังเคราะห์แก่โดพามีน เช่น L-DOPA เพื่อให้สามารถผ่านโครงสร้างกั้นระหว่างเลือดและสมองได้
โดพามีนเป็นสารสื่อประสาทกลุ่ม (catecholamines) ที่สร้างมาจากกรดอะมิโนไทโรซีน (tyrosine) โดยอาศัยการทำงานของ (tyrosine hydroxylase) ในสมอง มีปริมาณโดพามีนประมาณร้อยละ 80 ของสารกลุ่มแคทีโคลามีนที่ถูกสร้างขึ้นทั้งหมด นอกจากนี้โดพามีนยังจัดเป็นนิวโรฮอร์โมน (neurohormone) ที่หลั่งจากสมองส่วนไฮโปธาลามัส ซึ่งทำหน้าที่ยับยั้งการหลั่งโปรแลกตินจากกลีบส่วนหน้าของต่อมพิทูอิตารี
เมื่อโดพามีนถูกปลดปล่อยจากแล้ว จะมีผลต่อสมองส่วนต่างๆ ในหลายด้าน ซึ่งได้แก่
- (nigrostriatal)
- (mesolimbic)
- (mesocortical)
- (tuberoinfundibular)
โดพามีนออกฤทธิ์ผ่านที่เป็นโปรตีนซึ่งอยู่บนเยื่อหุ้มเซลล์ ตัวรับโดพามีนทุกชนิดจัดอยู่ในกลุ่มตัวรับที่จับอยู่กับ (G-protein-coupled receptor)
โดพามีนที่ถูกปลดปล่อยออกมาที่ (synaptic cleft) แล้วอาจถูกทำลายได้ 3 วิธี คือ
- ดูดกลับเข้าเซลล์โดยโดพามีนทรานสปอตเตอร์ (dopamine transporter; DAT)
- ถูกเอนไซม์ทำลาย
- เกิดการแพร่
Major Dopamine Pathways
อ้างอิง
- Cruickshank L, Kennedy AR, Shankland N (2013). "CSD Entry TIRZAX: 5-(2-Ammonioethyl)-2-hydroxyphenolate, Dopamine". Cambridge Structural Database: Access Structures. . doi:10.5517/cc10m9nl.
- Cruickshank L, Kennedy AR, Shankland N (2013). "Tautomeric and ionisation forms of dopamine and tyramine in the solid state". 1051: 132–36. Bibcode:2013JMoSt1051..132C. doi:10.1016/j.molstruc.2013.08.002.
- "Dopamine: Biological activity". IUPHAR/BPS guide to pharmacology (ภาษาอังกฤษแบบอเมริกัน). International Union of Basic and Clinical Pharmacology. สืบค้นเมื่อ 29 January 2016.
แหล่งข้อมูล
- วิกิมีเดียคอมมอนส์มีสื่อเกี่ยวกับ โดพามีน
wikipedia, แบบไทย, วิกิพีเดีย, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด, บทความ, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม, มือถือ, โทรศัพท์, Android, iOS, Apple, โทรศัพท์โมบิล, Samsung, iPhone, Xiomi, Xiaomi, Redmi, Honor, Oppo, Nokia, Sonya, MI, PC, พีซี, web, เว็บ, คอมพิวเตอร์
bthkhwamnixactxngkartrwcsxbtnchbb indaniwyakrn rupaebbkarekhiyn kareriyberiyng khunphaph hruxkarsakd khunsamarthchwyphthnabthkhwamid odphamin xngkvs Dopamine epnsarprakxbxinthriyinklumediywkn aekhthikhxllamin aela efnexthilexmin sungmikhwamsakhykbsmxngaelarangkay suxodphamin idcakokhrngsrangthangekhmi sungsngekhraahodykarepliynhmukrdxinthriykhxng L DOPA L 3 4 dihydroxyphenylalanine ihepnhmuxamion sungepnsarekhmithiphlitkhuninsmxngaelait aelaphbwaphuchaelastwbangchnidksamarthsngekhraahidechnknodphaminof dopamineof the dopamine molecule as found in solution In the solid state dopamine adopts a form khxmulthangkhlinikchuxxunDA 2 3 4 Dihydroxyphenyl ethylamine 3 4 Dihydroxyphenethylamine 3 Hydroxytyramine Oxytyramine Prolactin inhibiting factor Prolactin inhibiting hormone Intropin Revivankhxmulthangsrirwithyaenuxeyuxtnkaenid many othersenuxeyuxepahmaySystem widetwrb kratunodytrng okhekhn aexmeftaminybyngyarangbxakarthangcit dxmephriodnsartnkaenidfinilxalanin ithorsin aelachiwsngekhraahemaethbxlisum twbngchichuxtamrabb IUPAC 4 2 Aminoethyl benzene 1 2 diolelkhthaebiyn CAS51 61 6 62 31 7 hydrochloride PubChem CID681940DrugBankDB00988ChemSpider661VTD58H1Z2XC03758100 000 101khxmulthangkayphaphaelaekhmisutrC 8H 11N O 2153 181 g mol 1aebbcalxng 3D Interactive imageNCCc1cc O c O cc1InChI 1S C8H11NO2 c9 4 3 6 1 2 7 10 8 11 5 6 h1 2 5 10 11H 3 4 9H2Key VYFYYTLLBUKUHU UHFFFAOYSA Nsaranukrmephschkrrm insmxng odphaminthahnathiepnsarsuxprasath neurotransmitter khxykratun twrbodphamin dopamine receptor odphaminthahnathiepn neurohormone thihlngmacaksmxngswnihopthalams hypothalamus hnathihlkkhxnghxromntwnikhuxybyngkarhlngopraelkhtin prolactin caktxmitsmxngswnhna anterior pituitary odphaminsamarthichepnya sungmiphltxrabbprasathsimphaethtik sympathetic nervous system odymiphllphthkhux xtrakaretnkhxnghwicephimkhun aerngdnolhitephimkhun xyangirktam emuxodphaminimsamarthphanokhrngsrangknrahwangeluxdaelasmxng blood brain barrier odphaminthiichepnya caimmiphlodytrngtxrabbprasathswnklang karephimprimankhxngodphamininsmxngkhxngphupwythiepnorkhtang echn pharkhinsn samarthihsartngtnaebbsngekhraahaekodphamin echn L DOPA ephuxihsamarthphanokhrngsrangknrahwangeluxdaelasmxngid odphaminepnsarsuxprasathklum catecholamines thisrangmacakkrdxamionithorsin tyrosine odyxasykarthangankhxng tyrosine hydroxylase insmxng miprimanodphaminpramanrxyla 80 khxngsarklumaekhthiokhlaminthithuksrangkhunthnghmd nxkcakniodphaminyngcdepnniworhxromn neurohormone thihlngcaksmxngswnihopthalams sungthahnathiybyngkarhlngopraelktincakklibswnhnakhxngtxmphithuxitari emuxodphaminthukpldplxycakaelw camiphltxsmxngswntang inhlaydan sungidaek nigrostriatal mesolimbic mesocortical tuberoinfundibular odphaminxxkvththiphanthiepnoprtinsungxyubneyuxhumesll twrbodphaminthukchnidcdxyuinklumtwrbthicbxyukb G protein coupled receptor odphaminthithukpldplxyxxkmathi synaptic cleft aelwxacthukthalayid 3 withi khux dudklbekhaesllodyodphaminthranspxtetxr dopamine transporter DAT thukexnismthalay ekidkaraephrMajor Dopamine Pathwaysnigrostriatal pathwayxangxingCruickshank L Kennedy AR Shankland N 2013 CSD Entry TIRZAX 5 2 Ammonioethyl 2 hydroxyphenolate Dopamine Cambridge Structural Database Access Structures doi 10 5517 cc10m9nl Cruickshank L Kennedy AR Shankland N 2013 Tautomeric and ionisation forms of dopamine and tyramine in the solid state 1051 132 36 Bibcode 2013JMoSt1051 132C doi 10 1016 j molstruc 2013 08 002 Dopamine Biological activity IUPHAR BPS guide to pharmacology phasaxngkvsaebbxemrikn International Union of Basic and Clinical Pharmacology subkhnemux 29 January 2016 aehlngkhxmulwikimiediykhxmmxnsmisuxekiywkb odphamin bthkhwamephschkrrmaelayaniyngepnokhrng khunsamarthchwywikiphiediyidodykarephimetimkhxmuldk