ไทโรซีน (อังกฤษ: Tyrosine; อังกฤษ: Tyr) เป็นกรดอะมิโนชนิดหนึ่ง ซึ่งกรดอะมิโนเป็นหน่วยย่อยของโปรตีน โดยคำว่า ไทโรซีน มาจากคำว่า "tyros" ในภาษากรีก แปลว่า ชีส เนื่องจาก ไทโรซีส ถูกพบครั้งแรกจากการย่อยชีสในปี ค.ศ. 1846
ชื่อ | |
---|---|
(S)-Tyrosine | |
ชื่ออื่น L-2-Amino-3-(4-hydroxyphenyl)propanoic acid | |
เลขทะเบียน | |
| |
3D model () |
|
| |
| |
เคมสไปเดอร์ |
|
ดรักแบงก์ |
|
100.000.419 | |
| |
ผับเคม CID |
|
| |
(EPA) |
|
| |
| |
คุณสมบัติ | |
C9H11NO3 | |
มวลโมเลกุล | 181.191 g·mol−1 |
ความอันตราย | |
NFPA 704 (fire diamond) | |
หากมิได้ระบุเป็นอื่น ข้อมูลข้างต้นนี้คือข้อมูลสาร ณ ภาวะมาตรฐานที่ 25 °C, 100 kPa อ้างอิงกล่องข้อมูล |
การสังเคราะห์ในสิ่งมีชีวิต
ร่างกายสามารถสังเคราะห์ ไทโรซีน ได้จาก ฟีนิลอะลานีน ซึ่งฟีนิลอะลานีน เป็นกรดอะมิโนจำเป็น ร่างกายไม่สามารถสังเคราะห์เองได้ ต้องรับประทานจากอาหารเท่านั้น
โดยเอมไซม์ฟินิลอะลานีนไฮดรอกซีเลส เป็นตัวเร่งปฏิกิริยาเปลี่ยน ฟีนิลอะลานีน ให้เป็น ไทโรซีน
ตัวอย่างโรค
โรคไทโรซีนสูงในเลือดชนิดที่ 1 (Tyrosinemia Type I)
ความสำคัญ
ไทโรซีน เป็นสารตั้งต้นของสารสื่อประสาทได้แก่
- โดปามีน ทำหน้าที่ควบคุมการเคลื่อนไหวต่ออารมณ์ของบุคคล ช่วยให้มีความตื่นตัว กระฉับกระเฉง มีสมาธิมากขึ้น ไวต่อสิ่งกระตุ้นต่างๆ รอบตัว
- นอร์เอพิเฟริน (นอร์อะดรีนาลีน) ทำหน้าที่ เพิ่มอัตราการเต้นของหัวใจ
- เพิ่มการหายใจเร็วขึ้น ทำให้ออกซิเจนไปเลี้ยงร่างกายและสมองมากขึ้น ทำให้ร่างกายและสมองทำงานได้ดีกว่าปกติ และหยุดกระบวนการบางอย่างของร่างกายเช่น กระบวนการย่อยอาหาร
- เอพิเนฟริน (อะดรีนาลีน) ทำหน้าที่คล้าย นอร์เอพิเฟริน
การนำมาใช้
เนื่องจาก ไทโรซีน เป็นสารตั้งต้นของสารต่างๆ ที่กล่าวมาข้างต้น จึงมีการนำ ไทโรซีน มาเป็นผลิตภัณฑ์เสริมอาหาร โดยมีการศึกษาวิจัยพบว่า ช่วยกระตุ้นสมอง ลดความเครียด ลดอาการซึมเศร้า
แหล่งอาหาร
ไทโรซีน พบได้ในผลิตภัณฑ์อาหารที่มีโปรตีนสูง เช่น ไก่, ไก่งวง, นม, โยเกิร์ต, ชีส, ถั่วลิสง, ถั่วอัลมอนด์, เมล็ดฟักทอง, งา, ถั่วเหลือง, ถั่วลิมา, อาโวคาโด และกล้วย เป็นต้น
อ้างอิง
- Tyrosine. สืบค้นเมื่อ 2015-07-13
- IUPAC-IUBMB Joint Commission on Biochemical Nomenclature (1983). "Nomenclature and Symbolism for Amino Acids and Peptides". Recommendations on Organic & Biochemical Nomenclature, Symbols & Terminology. สืบค้นเมื่อ 2007-05-17.
- . คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2020-04-06. สืบค้นเมื่อ 2015-07-13.
- https://dx.doi.org/10.1016%2FS0361-9230%2898%2900163-4
- (PDF). คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิม (PDF)เมื่อ 2015-11-18. สืบค้นเมื่อ 2015-07-13.
แหล่งข้อมูลอื่น
- Tyrosine MS Spectrum
- Tyrosine metabolism 2019-07-26 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน
- Phenylalanine and tyrosine biosynthesis
- Phenylalanine, Tyrosine, and tryptophan biosynthesis 2021-05-06 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน
wikipedia, แบบไทย, วิกิพีเดีย, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด, บทความ, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม, มือถือ, โทรศัพท์, Android, iOS, Apple, โทรศัพท์โมบิล, Samsung, iPhone, Xiomi, Xiaomi, Redmi, Honor, Oppo, Nokia, Sonya, MI, PC, พีซี, web, เว็บ, คอมพิวเตอร์
ithorsin xngkvs Tyrosine xngkvs Tyr epnkrdxamionchnidhnung sungkrdxamionepnhnwyyxykhxngoprtin odykhawa ithorsin macakkhawa tyros inphasakrik aeplwa chis enuxngcak ithorsis thukphbkhrngaerkcakkaryxychisinpi kh s 1846ithorsin chux S Tyrosinechuxxun L 2 Amino 3 4 hydroxyphenyl propanoic acidelkhthaebiynelkhthaebiyn CAS 60 18 4 L Y3D model rupphaphaebbottxbCHEBI 58315 NChEMBL925 Yekhmsipedxr 5833 Ydrkaebngk DB03839 N100 000 4194791phbekhm CID 115342HK56048U N EPA DTXSID1023730InChI 1S C9H11NO3 c10 8 9 12 13 5 6 1 3 7 11 4 2 6 h1 4 8 11H 5 10H2 H 12 13 t8 m0 s1 YKey OUYCCCASQSFEME QMMMGPOBSA N YN C H Cc1ccc O cc1 C O Okhunsmbtisutrekhmi C 9H 11N O 3mwlomelkul 181 191 g mol 1khwamxntrayNFPA 704 fire diamond 110hakmiidrabuepnxun khxmulkhangtnnikhuxkhxmulsar n phawamatrthanthi 25 C 100 kPa xangxingklxngkhxmulkarsngekhraahinsingmichiwitkarsngekhraahithorsininphuch rangkaysamarthsngekhraah ithorsin idcak finilxalanin sungfinilxalanin epnkrdxamioncaepn rangkayimsamarthsngekhraahexngid txngrbprathancakxaharethann odyexmismfinilxalaninihdrxksiels epntwerngptikiriyaepliyn finilxalanin ihepn ithorsin twxyangorkh orkhithorsinsungineluxdchnidthi 1 Tyrosinemia Type I khwamsakhyithorsin epnsartngtnkhxngsarsuxprasathidaek odpamin thahnathikhwbkhumkarekhluxnihwtxxarmnkhxngbukhkhl chwyihmikhwamtuntw krachbkraechng mismathimakkhun iwtxsingkratuntang rxbtw nxrexphiefrin nxrxadrinalin thahnathi ephimxtrakaretnkhxnghwic ephimkarhayicerwkhun thaihxxksiecnipeliyngrangkayaelasmxngmakkhun thaihrangkayaelasmxngthanganiddikwapkti aelahyudkrabwnkarbangxyangkhxngrangkayechn krabwnkaryxyxahar exphienfrin xadrinalin thahnathikhlay nxrexphiefrinkarnamaichenuxngcak ithorsin epnsartngtnkhxngsartang thiklawmakhangtn cungmikarna ithorsin maepnphlitphnthesrimxahar odymikarsuksawicyphbwa chwykratunsmxng ldkhwamekhriyd ldxakarsumesraaehlngxaharithorsin phbidinphlitphnthxaharthimioprtinsung echn ik ikngwng nm oyekirt chis thwlisng thwxlmxnd emldfkthxng nga thwehluxng thwlima xaowkhaod aelaklwy epntnxangxingTyrosine subkhnemux 2015 07 13 IUPAC IUBMB Joint Commission on Biochemical Nomenclature 1983 Nomenclature and Symbolism for Amino Acids and Peptides Recommendations on Organic amp Biochemical Nomenclature Symbols amp Terminology subkhnemux 2007 05 17 khlngkhxmulekaekbcakaehlngedimemux 2020 04 06 subkhnemux 2015 07 13 https dx doi org 10 1016 2FS0361 9230 2898 2900163 4 PDF khlngkhxmulekaekbcakaehlngedim PDF emux 2015 11 18 subkhnemux 2015 07 13 aehlngkhxmulxunTyrosine MS Spectrum Tyrosine metabolism 2019 07 26 thi ewyaebkaemchchin Phenylalanine and tyrosine biosynthesis Phenylalanine Tyrosine and tryptophan biosynthesis 2021 05 06 thi ewyaebkaemchchinbthkhwamekhminiyngepnokhrng khunsamarthchwywikiphiediyidodykarephimetimkhxmuldkhk