เมื่อนาซีเยอรมนีพ่ายแพ้ในสงครามโลกครั้งที่สอง ฝ่ายสัมพันธมิตรผู้ชนะจึงได้แสดงสิทธิ์การปกครองเหนือดินแดนของรัฐเยอรมัน (เยอรมันไรช์) ที่ตั้งอยู่ทางฝั่งตะวันตกของ (Oder–Neisse line) และล้มล้างรัฐบาลภายใต้การปกครองของอดอล์ฟ ฮิตเลอร์ลง (ดูที่) จากนั้นมหาอำนาจทั้ง 4 ของฝ่ายสัมพันธมิตรจึงได้แบ่งแยกเยอรมนีออกเป็น เขตยึดครอง จำนวนสี่เขตเพื่อเป้าหมายด้านการปกครอง โดยให้ฝรั่งเศสปกครองดินแดนทางตะวันตกเฉียงใต้ สหราชอาณาจักรปกครองดินแดนทางตะวันตกเฉียงเหนือ สหรัฐปกครองดินแดนตอนใต้ และสหภาพโซเวียตปกครองภาคตะวันออก และบริเวณนี้เป็นที่รู้จักโดยรวมภายใต้ชื่อ เยอรมนีภายใต้การยึดครองของสัมพันธมิตร (เยอรมัน: Alliierten-besetztes Deutschland) การแบ่งแยกนี้เป็นที่ยอมรับและให้สัตยาบัน ณ การประชุมพ็อทซ์ดัม ระหว่างวันที่ 17 กรกฎาคม - 2 สิงหาคม ค.ศ. 1945[] โดยในช่วงฤดูใบไม้ร่วง ค.ศ. 1944 สหรัฐอเมริกา สหราชอาณาจักร และสหภาพโซเวียต ได้ตกลงการแบ่งเขตแดนของเยอรมนีไว้ใน ซึ่งทั้งหมดได้เห็นชอบให้สละดินแดนทางฝั่งตะวันออกของแนวโอเดอร์-ไนเซอ ออกจากการเป็นส่วนหนึ่งของประเทศเยอรมนีเมื่อสิ้นสุดสงคราม และให้สนธิสัญญาสันติภาพเยอรมันฉบับสุดท้ายที่ผ่านการพิจารณาแล้ว เป็นตัวกำหนดแนวพรมแดนระหว่างโปแลนด์-เยอรมนีและสหภาพโซเวียต-โปแลนด์ (สำหรับบริเวณที่เป็นดินแดนของเยอรมนีในอดีตซึ่งถูกสละทิ้ง) เท่ากับว่าสนธิสัญญาฉบับดังกล่าว "ผลักเส้นเขตแดนของโปแลนด์ไปทางทิศตะวันตก" ส่งผลให้อาณาเขตโดยประมาณกลับไปมีขนาดเท่าเดิมเมื่อปี ค.ศ. 1722
Deutsches Reich (ดอยท์เชสไรช์) | |||||||||||||||
---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|
ค.ศ. 1945–1949 | |||||||||||||||
(ธงประมวลอักษรซี) | |||||||||||||||
แผนที่แสดงอาณาเขตของเยอรมนีหลังสงคราม (สีเขียวคือเขตสหราชอาณาจักร สีเหลืองเข้มคือเขตสหรัฐอเมริกา สีฟ้าคือเขตฝรั่งเศส สีแดงคือเขตสหภาพโซเวียต ส่วนสีเหลืองอ่อนคือดินแดนที่เสียไป) | |||||||||||||||
สถานะ | การยึดครองทางทหาร | ||||||||||||||
เมืองหลวง |
| ||||||||||||||
ผู้ว่าการ (ค.ศ. 1945) | |||||||||||||||
• เขตสหราชอาณาจักร | เบอร์นาร์ด มอนต์โกเมอรี | ||||||||||||||
• เขตฝรั่งเศส | ฌ็อง เดอ ลัทร์ เดอ ตาซีญี | ||||||||||||||
• เขตสหรัฐอเมริกา | ดไวต์ ดี. ไอเซนฮาวร์ | ||||||||||||||
• เขตสหภาพโซเวียต | เกออร์กี จูคอฟ | ||||||||||||||
ยุคประวัติศาสตร์ | สงครามเย็น | ||||||||||||||
8 พฤษภาคม ค.ศ. 1945 | |||||||||||||||
• คณะมนตรีปกครองของฝ่ายสัมพันธมิตร | 5 กรกฎาคม ค.ศ. 1945 | ||||||||||||||
• รัฐใต้อารักขาแห่งซาร์ก | 15 ธันวาคม ค.ศ. 1947 | ||||||||||||||
23 พฤษภาคม ค.ศ. 1949 | |||||||||||||||
7 ตุลาคม ค.ศ. 1949 | |||||||||||||||
12 กันยายน ค.ศ. 1990 | |||||||||||||||
สกุลเงิน |
| ||||||||||||||
รหัส ISO 3166 | |||||||||||||||
| |||||||||||||||
| |||||||||||||||
เขตปกครองกรุงเบอร์ลินของฝ่ายสัมพันธมิตรทั้งสี่เขตและดินแดนส่วนแยก (exclaves) ของเขตเบอร์ลินตะวันตก |
ในช่วงสัปดาห์ท้าย ๆ ของการสู้รบบนภาคพื้นทวีปยุโรป กองกำลังของสหรัฐอเมริกาได้ต่อสู้จนล่วงเลยเข้าไปในอาณาบริเวณซึ่งเกินกว่าแนวยึดครองในอนาคตที่ตกลงกันไว้ บางช่วงล่วงล้ำเข้าไปเป็นระยะทางกว่า 320 กิโลเมตร (200 ไมล์) ส่งผลให้แนวบรรจบ (line of contact) ในช่วงสิ้นสุดสงครามระหว่างกองกำลังของสหรัฐอเมริกาและกองกำลังของสหภาพโซเวียต กลายเป็นเส้นเขตแดนชั่วคราวของเยอรมนีฝั่งตะวันออกและฝั่งตะวันตกซึ่งตั้งอยู่ทางทิศตะวันออกเลยจากซึ่งตกลงกันไว้แต่เดิม สองเดือนต่อมาในวันที่ 1 กรกฎาคม ค.ศ. 1945 ฝ่ายสหรัฐอเมริกาจึงได้ถอนกำลังออกจากอาณาบริเวณที่ตนยึดครองอยู่และคืนให้แก่สหภาพโซเวียตดังที่ได้แบ่งกันเอาไว้ เส้นเขตแดนชั่วคราวดังกล่าวจึงขยับเลื่อนกลับมาทางทิศตะวันตกและกลายเป็นเส้นเขตแดนที่แบ่งเยอรมนีออกเป็นสองประเทศนับแต่นั้นมาจนกระทั่งปี ค.ศ. 1990 นักวิชาการบางส่วนเชื่อว่าการถอนกำลังดังกล่าวเป็นท่าทีสำคัญที่ช่วยโน้มน้าวให้สหภาพโซเวียตยินยอมให้สหรัฐอเมริกา สหราชอาณาจักร และฝรั่งเศสได้ส่วนแบ่งเขตปกครองทางฝั่งตะวันตกของกรุงเบอร์ลิน (แต่เดิมยกให้สหภาพโซเวียตปกครองกรุงเบอร์ลินทั้งหมด) ซึ่งเกิดขึ้นในช่วงเวลาไล่เลี่ยกันคือเดือนกรกฎาคม ค.ศ. 1945 แม้ว่าอีกเหตุผลหนึ่งที่สำคัญก็คือต้องการให้หน่วยราชการลับได้มีโอกาสรวมตัวกัน (ดูที่ปฏิบัติการคลิปหนีบกระดาษ)
อ้างอิง
- What Is to Be Done? 2013-08-26 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน Time, July 9, 1945
- Knowles, Chris (29 January 2014). "Germany 1945-1949: a case study in post-conflict reconstruction". History & Policy. History & Policy. สืบค้นเมื่อ 19 July 2016.
แหล่งข้อมูลอื่น
- Post-World War II commanders/governors of Germany
- Civil Affairs In Germany (1945) มีให้โหลดฟรีที่ อินเทอร์เน็ตอาร์ไคฟ์ []
- The Struggle for Germany and the Origins of the Cold War 2016-08-27 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน by Melvyn P. Leffler
wikipedia, แบบไทย, วิกิพีเดีย, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด, บทความ, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม, มือถือ, โทรศัพท์, Android, iOS, Apple, โทรศัพท์โมบิล, Samsung, iPhone, Xiomi, Xiaomi, Redmi, Honor, Oppo, Nokia, Sonya, MI, PC, พีซี, web, เว็บ, คอมพิวเตอร์
emuxnasieyxrmniphayaephinsngkhramolkkhrngthisxng faysmphnthmitrphuchnacungidaesdngsiththikarpkkhrxngehnuxdinaednkhxngrtheyxrmn eyxrmnirch thitngxyuthangfngtawntkkhxng Oder Neisse line aelalmlangrthbalphayitkarpkkhrxngkhxngxdxlf hitelxrlng duthi caknnmhaxanacthng 4 khxngfaysmphnthmitrcungidaebngaeykeyxrmnixxkepn ekhtyudkhrxng canwnsiekhtephuxepahmaydankarpkkhrxng odyihfrngesspkkhrxngdinaednthangtawntkechiyngit shrachxanackrpkkhrxngdinaednthangtawntkechiyngehnux shrthpkkhrxngdinaedntxnit aelashphaphosewiytpkkhrxngphakhtawnxxk aelabriewnniepnthiruckodyrwmphayitchux eyxrmniphayitkaryudkhrxngkhxngsmphnthmitr eyxrmn Alliierten besetztes Deutschland karaebngaeykniepnthiyxmrbaelaihstyabn n karprachumphxthsdm rahwangwnthi 17 krkdakhm 2 singhakhm kh s 1945 txngkarxangxing odyinchwngvduibimrwng kh s 1944 shrthxemrika shrachxanackr aelashphaphosewiyt idtklngkaraebngekhtaednkhxngeyxrmniiwin sungthnghmdidehnchxbihsladinaednthangfngtawnxxkkhxngaenwoxedxr inesx xxkcakkarepnswnhnungkhxngpraethseyxrmniemuxsinsudsngkhram aelaihsnthisyyasntiphapheyxrmnchbbsudthaythiphankarphicarnaaelw epntwkahndaenwphrmaednrahwangopaelnd eyxrmniaelashphaphosewiyt opaelnd sahrbbriewnthiepndinaednkhxngeyxrmniinxditsungthukslathing ethakbwasnthisyyachbbdngklaw phlkesnekhtaednkhxngopaelndipthangthistawntk sngphlihxanaekhtodypramanklbipmikhnadethaedimemuxpi kh s 1722ircheyxrmn Deutsches Reich dxythechsirch kh s 1945 1949thngpramwlxksrsiephlngchati aephnthiaesdngxanaekhtkhxngeyxrmnihlngsngkhram siekhiywkhuxekhtshrachxanackr siehluxngekhmkhuxekhtshrthxemrika sifakhuxekhtfrngess siaedngkhuxekhtshphaphosewiyt swnsiehluxngxxnkhuxdinaednthiesiyip sthanakaryudkhrxngthangthharemuxnghlwngebxrlin odynitiny aefrngkefirt ekhtshrthxemrika bad exnehaesin ekhtshrachxanackr baedin baedin ekhtfrngess ebxrlintawnxxk ekhtshphaphosewiyt phuwakar kh s 1945 ekhtshrachxanackrebxrnard mxntokemxri ekhtfrngesschxng edx lthr edx tasiyi ekhtshrthxemrikadiwt di ixesnhawr ekhtshphaphosewiytekxxrki cukhxfyukhprawtisastrsngkhrameyn karyxmcannkhxngeyxrmni8 phvsphakhm kh s 1945 khnamntripkkhrxngkhxngfaysmphnthmitr5 krkdakhm kh s 1945 rthitxarkkhaaehngsark15 thnwakhm kh s 1947 shphnthsatharnrtheyxrmni23 phvsphakhm kh s 1949 satharnrthprachathipityeyxrmnikh7 tulakhm kh s 1949 kartklngkhnsudthaykh12 knyayn kh s 1990skulenginirchsmarkh 1945 48 ernetinmarkh 1945 48 markheyxrmn tawntk 1948 49 ng markheyxrmntawnxxk tawnxxk 1948 49 c markhsar sar 1947 48 frngksar sar 1948 59 rhs ISO 3166kxnhna thdipnasieyxrmni eyxrmnitawntkeyxrmnitawnxxkebxrlintawntkrwmekhakbshphnthsatharnrtheyxrmni eyxrmnitawntk inwnthi 1 mkrakhm kh s 1957rwmekhakbshphnthsatharnrtheyxrmni eyxrmnitawntk inwnthi 3 tulakhm kh s 1990eyxrmnirwmpraethsxyangepnthangkarinwnthi 3 tulakhm kh s 1990ekhtitpkkhrxngkhxngsmphnthmitrfngtawntk frngess shrachxanackr aelashrthxemrika aelaekhtebxrlintawntkekhtitpkkhrxngkhxngshphaphosewiytaelaekhtebxrlintawnxxkekhtpkkhrxngkrungebxrlinkhxngfaysmphnthmitrthngsiekhtaeladinaednswnaeyk exclaves khxngekhtebxrlintawntk4 occupation zones in Germany and the 1947 1949 inchwngspdahthay khxngkarsurbbnphakhphunthwipyuorp kxngkalngkhxngshrthxemrikaidtxsucnlwngelyekhaipinxanabriewnsungekinkwaaenwyudkhrxnginxnakhtthitklngkniw bangchwnglwnglaekhaipepnrayathangkwa 320 kiolemtr 200 iml sngphlihaenwbrrcb line of contact inchwngsinsudsngkhramrahwangkxngkalngkhxngshrthxemrikaaelakxngkalngkhxngshphaphosewiyt klayepnesnekhtaednchwkhrawkhxngeyxrmnifngtawnxxkaelafngtawntksungtngxyuthangthistawnxxkelycaksungtklngkniwaetedim sxngeduxntxmainwnthi 1 krkdakhm kh s 1945 fayshrthxemrikacungidthxnkalngxxkcakxanabriewnthitnyudkhrxngxyuaelakhunihaekshphaphosewiytdngthiidaebngknexaiw esnekhtaednchwkhrawdngklawcungkhybeluxnklbmathangthistawntkaelaklayepnesnekhtaednthiaebngeyxrmnixxkepnsxngpraethsnbaetnnmacnkrathngpi kh s 1990 nkwichakarbangswnechuxwakarthxnkalngdngklawepnthathisakhythichwyonmnawihshphaphosewiytyinyxmihshrthxemrika shrachxanackr aelafrngessidswnaebngekhtpkkhrxngthangfngtawntkkhxngkrungebxrlin aetedimykihshphaphosewiytpkkhrxngkrungebxrlinthnghmd sungekidkhuninchwngewlaileliyknkhuxeduxnkrkdakhm kh s 1945 aemwaxikehtuphlhnungthisakhykkhuxtxngkarihhnwyrachkarlbidmioxkasrwmtwkn duthiptibtikarkhliphnibkradas xangxingWhat Is to Be Done 2013 08 26 thi ewyaebkaemchchin Time July 9 1945 Knowles Chris 29 January 2014 Germany 1945 1949 a case study in post conflict reconstruction History amp Policy History amp Policy subkhnemux 19 July 2016 aehlngkhxmulxunwikimiediykhxmmxnsmisuxthiekiywkhxngkb eyxrmniphayitkaryudkhrxngkhxngsmphnthmitr Post World War II commanders governors of Germany Civil Affairs In Germany 1945 miihohldfrithi xinethxrentxarikhf xun The Struggle for Germany and the Origins of the Cold War 2016 08 27 thi ewyaebkaemchchin by Melvyn P Leffler bthkhwampraethseyxrmniniyngepnokhrng khunsamarthchwywikiphiediyidodykarephimetimkhxmuldk