ไฮโดรเจนซัลไฟด์ (อังกฤษ: hydrogen sulfide หรือ hydrogen sulphide) หรือ แก๊สไข่เน่า เป็นสารประกอบที่มีสูตรเคมีเป็น H2S ไม่มีสี, เป็นพิษ และเป็นแก๊สไวไฟ มีกลิ่นเน่าเหม็นคล้ายไข่เน่า บ่อยครั้งเป็นผลจากแบคทีเรียย่อยสลายในสารอนินทรีย์ในสภาวะขาดออกซิเจน เช่นใน หนองน้ำและท่อระบายน้ำ () นอกจากนั้นยังพบในแก๊สจากภูเขาไฟ ก๊าซธรรมชาติ และบ่อน้ำบางบ่อ กลิ่นของ H2S ไม่ใช่คุณสมบัติโดยทั่วไปของกำมะถัน ซึ่งในความจริงแล้วไม่มีกลิ่น
| |||
ชื่อ | |||
---|---|---|---|
Hydrogen sulfide | |||
ชื่ออื่น
| |||
เลขทะเบียน | |||
| |||
3D model () |
| ||
3DMet |
| ||
3535004 | |||
| |||
| |||
เคมสไปเดอร์ |
| ||
100.029.070 | |||
| |||
303 | |||
| |||
MeSH | Hydrogen+sulfide | ||
ผับเคม CID |
| ||
| |||
| |||
UN number | 1053 | ||
(EPA) |
| ||
| |||
| |||
คุณสมบัติ | |||
H2S | |||
มวลโมเลกุล | 34.08 g·mol−1 | ||
ลักษณะทางกายภาพ | แก๊สไร้สี | ||
กลิ่น | เหม็นฉุนเหมือนไข่เน่า | ||
ความหนาแน่น | 1.539 g.L−1 (0°C) | ||
จุดหลอมเหลว | −85.5 องศาเซลเซียส (−121.9 องศาฟาเรนไฮต์; 187.7 เคลวิน) | ||
จุดเดือด | −59.55 องศาเซลเซียส (−75.19 องศาฟาเรนไฮต์; 213.60 เคลวิน) | ||
3.980 g dm−3 (ที่ 20 °C) | |||
ความดันไอ | 1740 kPa (at 21 °C) | ||
7.0 | |||
กรด | |||
เบส | |||
(χ) | −25.5·10−6 cm3/mol | ||
ดัชนีหักเหแสง (nD) | 1.000644 (0 °C) | ||
โครงสร้าง | |||
C2v | |||
โค้ง | |||
0.97 D | |||
อุณหเคมี | |||
ความจุความร้อน (C) | 1.003 J K−1 g−1 | ||
(S⦵298) | 206 J mol−1 K−1 | ||
(ΔfH⦵298) | −21 kJ mol−1 | ||
ความอันตราย | |||
อาชีวอนามัยและความปลอดภัย (OHS/OSH): | |||
อันตรายหลัก | ติดไฟและเป็นพิษสูง | ||
: | |||
อันตราย | |||
H220, H330, H400 | |||
P210, P260, P271, P273, P284, P304+P340, P310, P320, P377, P381, P391, P403, P403+P233, P405, P501 | |||
NFPA 704 (fire diamond) | |||
−82.4 องศาเซลเซียส (−116.3 องศาฟาเรนไฮต์; 190.8 เคลวิน) | |||
232 องศาเซลเซียส (450 องศาฟาเรนไฮต์; 505 เคลวิน) | |||
4.3–46% | |||
ปริมาณหรือความเข้มข้น (LD, LC): | |||
LC50 () |
| ||
LCLo () |
| ||
(US health exposure limits): | |||
(Permissible) | C 20 ppm; 50 ppm [สูงสุด 10 นาที] | ||
(Recommended) | C 10 ppm (15 mg/m3) [10 นาที] | ||
(Immediate danger) | 100 ppm | ||
สารประกอบอื่นที่เกี่ยวข้องกัน | |||
hydrogen chalcogenidesที่เกี่ยวข้อง | |||
สารประกอบที่เกี่ยวข้อง | ฟอสฟีน | ||
หากมิได้ระบุเป็นอื่น ข้อมูลข้างต้นนี้คือข้อมูลสาร ณ ภาวะมาตรฐานที่ 25 °C, 100 kPa อ้างอิงกล่องข้อมูล |
คาร์ล วิลเฮ็ล์ม เชเลอ นักเคมีชาวสวีเดนเป็นผู้ค้นพบไฮโดรเจนซัลไฟด์ในปี 1777
คุณสมบัติ
ไฮโดรเจนซัลไฟด์หนาแน่นกว่าอากาศเล็กน้อย ส่วนผสมระหว่าง H2S กับอากาศ สามารถระเบิดได้ เมื่อไฮโดรเจนซัลไฟด์เผาไหม้ในออกซิเจนจะให้เปลวไฟสีน้ำเงินและเกิดซัลเฟอร์ไดออกไซด์กับน้ำเป็นผลิตภัณฑ์ดังสมการ
2H2S + 3O2 → 2SO2 + 2H2O
โดยทั่วไปแล้วไฮโดรเจนซัลไฟด์มีฤทธิ์เป็นตัวรีดิวซ์ โดยเฉพาะเมื่ออยู่ในสภาวะเบส ซึ่งจะอยู่ในรูป SH-
ในอุณหภูมิสูง หรือเมื่อมีตัวเร่งปฏิกิริยาไฮโดรเจนซัลไฟด์สามารถทำปฏิกิริยากับซัลเฟอร์ไดออกไซด์เกิดเป็นกำมะถันและน้ำดังสมการ
2H2S + SO2 → 3S + 2H2O
ปฏิกิริยาดังกล่าว ใช้ในกระบวนการเคลาส์ ซึ่งเป็นกระบวนการสำคัญสำหรับกำจัดไฮโดรเจนซัลไฟด์ในภาคอุตสากรรม
ไฮโดรเจนซัลไฟด์ละลายน้ำได้เล็กน้อย และสามารถแสดงฤทธิ์เป็นกรดได้ (pKa = 6.9 ในสารละลาย 0.01-0.1M ที่ 18 °C) สารละลายของไฮโดรเจนซัลไฟด์ไม่มีสี แต่เมื่อถูกอากาศ จะถูกออกซิไดส์อย่างช้า ๆ เกิดความขุ่นจากกำมะถันซึ่งไม่ละลายน้ำ
ไฮโดรเจนซัลไฟด์ทำปฏิกิริยากับโลหะหลายชนิดเกิดเป็นเกลือซัลไฟด์ ซึ่งมักเป็นสีดำและไม่ละลายน้ำ ดังนั้นจึงมักใช้กระดาษชุบเลด(II)แอซิเตตในการทดสอบไฮโดรเจนซัลไฟด์ การนำโลหะซัลไฟด์ไปใส่กรดมักเกิดแก๊สไฮโดรเจนซัลไฟด์
การผลิต
ไฮโดรเจนซัลไฟด์ โดยทั่วไปแล้วผลิตโดยการแยกจากแก๊สธรรมชาติที่มี H2S ปน นอกจากนี้ยังอาจผลิตโดยปฏิกิริยาระหว่างไฮโดรเจนกับกำมะถันเหลวที่อุณหภูมิที่ 450 °C ซึ่งอาจใช้ไฮโดรคาร์บอนเป็นแหล่งคาร์บอนได้
แบคทีเรียที่รีดิวซ์ซัลเฟตหรือซัลเฟอร์ สามารถสร้างพลังงานในสภาวะออกซิเจนต่ำโดยใช้ซัลเฟตหรือซัลเฟอร์เพื่อออกซิไดส์สารประกอบอินทรีย์ของไฮโดรเจน และเกิด H2S เป็นผลพลอยได้
วิธีการสังเคราะห์ปกติในห้องปฏิบัติการ ใช้กับกรดแก่ ดังสมการ
FeS + 2 HCl → FeCl2 + H2S
ในการวิเคราะห์สารอนินทรีย์เชิงคุณภาพ สามารถใช้ในการผลิต H2S:
CH3C(S)NH2 + H2O → CH3C(O)NH2 + H2S
ซัลไฟด์ของธาตุโลหะและอโลหะหลายชนิด เช่น และ เมื่อโดนน้ำแล้วจะให้ไฮโดรเจนซัลไฟด์:
Al2S3 + 6 H2O → 3 H2S + 2 Al(OH)3
P4S10 + 16 H2O → 10 H2S + 4 H3PO4
SiS2 + 2 H2O → 2 H2S + SiO2
นอกจากนี้ไฮโดรเจนซัลไฟด์ยังผลิตได้จากการให้ความร้อนกับกำมะถันกับสารอินทรีย์ หรือการรีดิวซ์สารอินทรีย์ที่มีกำมะถันด้วยไฮโดรเจน
การใช้งาน
การผลิตกำมะถัน สารประกอบอินทรีย์ที่มีกำมะถัน และซัลไฟด์ของโลหะแอลคาไล
ประโยชน์สำคัญของไฮโดรเจนซัลไฟด์ คือการเป็นสารตั้งต้นในการผลิตธาตุกำมะถัน สารออร์กาโนซัลเฟอร์หลายชนิดก็ผลิตจากไฮโดรเจนซัลไฟด์ เช่น และ
เมื่อทำปฏิกิริยากับเบสของโลหะแอลคาไล ไฮโดรเจนซัลไฟด์จะเกิดเป็นเกลือไฮโดรซัลไฟด์และซัลไฟด์ตามลำดับ เช่น:
- H2S + NaOH → NaSH + H2O
- NaSH + NaOH → Na2S + H2O
ซึ่ง NaSH และ Na2S มีประโยชน์ในอุตสาหกรรมกระดาษ โดยไปทำลายพันธะในเยื่อเคมีใน
ในทางกลับกัน เกลือเหล่านี้สามารถเกิดปฏิกิริยากลับไปเป็นไฮโดรเจนซัลไฟด์ในกรดได้ จึงใช้เป็นแหล่งให้ไฮโดรเจนซัลไฟด์ในการสังเคราะห์สารอินทรีย์บางตัว
อ้างอิง
- "Hydrogen Sulfide - PubChem Public Chemical Database". The PubChem Project. USA: National Center for Biotechnology Information.
- Patnaik, Pradyot (2002). Handbook of Inorganic Chemicals. McGraw-Hill. ISBN .
- William M. Haynes (2016). CRC Handbook of Chemistry and Physics (97th ed.). Boca Raton: CRC Press. pp. 4–87. ISBN .
- "Hydrogen sulfide". pubchem.ncbi.nlm.nih.gov (ภาษาอังกฤษ).
- Perrin, D.D. (1982). Ionisation Constants of Inorganic Acids and Bases in Aqueous Solution (2nd ed.). Oxford: Pergamon Press.
- Bruckenstein, S.; Kolthoff, I.M., in Kolthoff, I.M.; Elving, P.J. Treatise on Analytical Chemistry, Vol. 1, pt. 1; Wiley, NY, 1959, pp. 432–433.
- Zumdahl, Steven S. (2009). Chemical Principles (6th ed.). Houghton Mifflin Company. p. A23. ISBN .
- NIOSH Pocket Guide to Chemical Hazards. "#0337". (NIOSH).
- "Hydrogen sulfide". Immediately Dangerous to Life and Health Concentrations (IDLH). (NIOSH).
- "Hydrogen sulfide". npi.gov.au.
- Greenwood, Norman N.; Earnshaw, Alan (1997). Chemistry of the Elements (2nd ed.). Butterworth-Heinemann. ISBN .
- Francois Pouliquen; Claude Blanc; Emmanuel Arretz; Ives Labat; Jacques Tournier-Lasserve; Alain Ladousse; Jean Nougayrede; Gérard Savin; Raoul Ivaldi; Monique Nicolas; Jean Fialaire; René Millischer; Charles Azema; Lucien Espagno; Henri Hemmer; Jacques Perrot (200). "Hydrogen Sulfide". Ullmann's Encyclopedia of Chemical Industry. doi:10.1002/14356007.a13_467. ISBN .
ข้อมูลเพิ่มเติม
- Committee on Medical and Biological Effects of Environmental Pollutants (1979). Hydrogen Sulfide. Baltimore: University Park Press. ISBN .
- Siefers, Andrea (2010). A novel and cost-effective hydrogen sulfide removal technology using tire derived rubber particles (วิทยานิพนธ์ MS). Iowa State University. สืบค้นเมื่อ 8 February 2013.
แหล่งข้อมูลอื่น
wikipedia, แบบไทย, วิกิพีเดีย, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด, บทความ, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม, มือถือ, โทรศัพท์, Android, iOS, Apple, โทรศัพท์โมบิล, Samsung, iPhone, Xiomi, Xiaomi, Redmi, Honor, Oppo, Nokia, Sonya, MI, PC, พีซี, web, เว็บ, คอมพิวเตอร์
ihodrecnslifd xngkvs hydrogen sulfide hrux hydrogen sulphide hrux aeksikhena epnsarprakxbthimisutrekhmiepn H2S immisi epnphis aelaepnaeksiwif miklinenaehmnkhlayikhena bxykhrngepnphlcakaebkhthieriyyxyslayinsarxninthriyinsphawakhadxxksiecn echnin hnxngnaaelathxrabayna nxkcaknnyngphbinaekscakphuekhaif kasthrrmchati aelabxnabangbx klinkhxng H2S imichkhunsmbtiodythwipkhxngkamathn sunginkhwamcringaelwimmiklinihodrecnslifd Ball and stick model of hydrogen sulfideehluxng bn slefxr khaw lang ihodrecn Spacefill model of hydrogen sulfidechuxHydrogen sulfidechuxxun Dihydrogen monosulfideSour gasDihydrogen sulfidekasthxrabaynakasikhenaSulfaneSulfurated hydrogenSulfureted hydrogenSulfuretted hydrogenSulfur hydrideHydrosulfuric acidHydrothionic acidThiohydroxic acidSulfhydric acidelkhthaebiynelkhthaebiyn CAS 7783 06 4 Y3D model rupphaphaebbottxb3DMet B012063535004CHEBI 16136 YChEMBL1200739 Nekhmsipedxr 391 Y100 029 070231 977 3303C00283 YMeSH Hydrogen sulfidephbekhm CID 402MX1225000YY9FVM7NSN YUN number 1053 EPA DTXSID4024149InChI 1S H2S h1H2 YKey RWSOTUBLDIXVET UHFFFAOYSA N YInChI 1 H2S h1H2Key RWSOTUBLDIXVET UHFFFAOYAJSkhunsmbtisutrekhmi H 2Smwlomelkul 34 08 g mol 1lksnathangkayphaph aeksirsiklin ehmnchunehmuxnikhenakhwamhnaaenn 1 539 g L 1 0 C cudhlxmehlw 85 5 xngsaeslesiys 121 9 xngsafaerniht 187 7 ekhlwin cudeduxd 59 55 xngsaeslesiys 75 19 xngsafaerniht 213 60 ekhlwin lalayinna 3 980 g dm 3 thi 20 C khwamdnix 1740 kPa at 21 C 7 0krdebs x 25 5 10 6 cm3 moldchnihkehaesng nD 1 000644 0 C okhrngsrangC2vokhng0 97 Dxunhekhmikhwamcukhwamrxn C 1 003 J K 1 g 1 S 298 206 J mol 1 K 1 DfH 298 21 kJ mol 1khwamxntrayxachiwxnamyaelakhwamplxdphy OHS OSH xntrayhlk tidifaelaepnphissung xntrayH220 H330 H400P210 P260 P271 P273 P284 P304 P340 P310 P320 P377 P381 P391 P403 P403 P233 P405 P501NFPA 704 fire diamond 440 82 4 xngsaeslesiys 116 3 xngsafaerniht 190 8 ekhlwin 232 xngsaeslesiys 450 xngsafaerniht 505 ekhlwin 4 3 46 primanhruxkhwamekhmkhn LD LC LC50 713 ppm hnu 1 chwomng 673 ppm hnuban 1 chwomng 634 ppm hnu 1 chwomng 444 ppm hnu 4 chwomng LCLo 600 ppm mnusy 30 nathi 800 ppm mnusy 5 nathi US health exposure limits Permissible C 20 ppm 50 ppm sungsud 10 nathi Recommended C 10 ppm 15 mg m3 10 nathi Immediate danger 100 ppmsarprakxbxunthiekiywkhxngknhydrogen chalcogenidesthiekiywkhxng nasarprakxbthiekiywkhxng fxsfinhakmiidrabuepnxun khxmulkhangtnnikhuxkhxmulsar n phawamatrthanthi 25 C 100 kPa xangxingklxngkhxmul kharl wilehlm echelx nkekhmichawswiednepnphukhnphbihodrecnslifdinpi 1777khunsmbtiihodrecnslifdhnaaennkwaxakaselknxy swnphsmrahwang H2S kbxakas samarthraebidid emuxihodrecnslifdephaihminxxksiecncaiheplwifsinaenginaelaekidslefxridxxkisdkbnaepnphlitphnthdngsmkar 2H2S 3O2 2SO2 2H2O odythwipaelwihodrecnslifdmivththiepntwridiws odyechphaaemuxxyuinsphawaebs sungcaxyuinrup SH inxunhphumisung hruxemuxmitwerngptikiriyaihodrecnslifdsamarththaptikiriyakbslefxridxxkisdekidepnkamathnaelanadngsmkar 2H2S SO2 3S 2H2O ptikiriyadngklaw ichinkrabwnkarekhlas sungepnkrabwnkarsakhysahrbkacdihodrecnslifdinphakhxutsakrrm ihodrecnslifdlalaynaidelknxy aelasamarthaesdngvththiepnkrdid pKa 6 9 insarlalay 0 01 0 1M thi 18 C sarlalaykhxngihodrecnslifdimmisi aetemuxthukxakas cathukxxksiidsxyangcha ekidkhwamkhuncakkamathnsungimlalayna ihodrecnslifdthaptikiriyakbolhahlaychnidekidepnekluxslifd sungmkepnsidaaelaimlalayna dngnncungmkichkradaschubeld II aexsiettinkarthdsxbihodrecnslifd karnaolhaslifdipiskrdmkekidaeksihodrecnslifdkarphlitihodrecnslifd odythwipaelwphlitodykaraeykcakaeksthrrmchatithimi H2S pn nxkcakniyngxacphlitodyptikiriyarahwangihodrecnkbkamathnehlwthixunhphumithi 450 C sungxacichihodrkharbxnepnaehlngkharbxnid aebkhthieriythiridiwsslefthruxslefxr samarthsrangphlngnganinsphawaxxksiecntaodyichslefthruxslefxrephuxxxksiidssarprakxbxinthriykhxngihodrecn aelaekid H2S epnphlphlxyid withikarsngekhraahpktiinhxngptibtikar ichkbkrdaek dngsmkar FeS 2 HCl FeCl2 H2S inkarwiekhraahsarxninthriyechingkhunphaph samarthichinkarphlit H2S CH3C S NH2 H2O CH3C O NH2 H2S slifdkhxngthatuolhaaelaxolhahlaychnid echn aela emuxodnnaaelwcaihihodrecnslifd Al2S3 6 H2O 3 H2S 2 Al OH 3 P4S10 16 H2O 10 H2S 4 H3PO4 SiS2 2 H2O 2 H2S SiO2 nxkcakniihodrecnslifdyngphlitidcakkarihkhwamrxnkbkamathnkbsarxinthriy hruxkarridiwssarxinthriythimikamathndwyihodrecnkarichngankarphlitkamathn sarprakxbxinthriythimikamathn aelaslifdkhxngolhaaexlkhail praoychnsakhykhxngihodrecnslifd khuxkarepnsartngtninkarphlitthatukamathn sarxxrkaonslefxrhlaychnidkphlitcakihodrecnslifd echn aela emuxthaptikiriyakbebskhxngolhaaexlkhail ihodrecnslifdcaekidepnekluxihodrslifdaelaslifdtamladb echn H2S NaOH NaSH H2O NaSH NaOH Na2S H2O sung NaSH aela Na2S mipraoychninxutsahkrrmkradas odyipthalayphnthaineyuxekhmiin inthangklbkn ekluxehlanisamarthekidptikiriyaklbipepnihodrecnslifdinkrdid cungichepnaehlngihihodrecnslifdinkarsngekhraahsarxinthriybangtwxangxing Hydrogen Sulfide PubChem Public Chemical Database The PubChem Project USA National Center for Biotechnology Information Patnaik Pradyot 2002 Handbook of Inorganic Chemicals McGraw Hill ISBN 978 0 07 049439 8 William M Haynes 2016 CRC Handbook of Chemistry and Physics 97th ed Boca Raton CRC Press pp 4 87 ISBN 978 1 4987 5429 3 Hydrogen sulfide pubchem ncbi nlm nih gov phasaxngkvs Perrin D D 1982 Ionisation Constants of Inorganic Acids and Bases in Aqueous Solution 2nd ed Oxford Pergamon Press Bruckenstein S Kolthoff I M in Kolthoff I M Elving P J Treatise on Analytical Chemistry Vol 1 pt 1 Wiley NY 1959 pp 432 433 Zumdahl Steven S 2009 Chemical Principles 6th ed Houghton Mifflin Company p A23 ISBN 978 0 618 94690 7 NIOSH Pocket Guide to Chemical Hazards 0337 NIOSH Hydrogen sulfide Immediately Dangerous to Life and Health Concentrations IDLH NIOSH Hydrogen sulfide npi gov au Greenwood Norman N Earnshaw Alan 1997 Chemistry of the Elements 2nd ed Butterworth Heinemann ISBN 978 0 08 037941 8 Francois Pouliquen Claude Blanc Emmanuel Arretz Ives Labat Jacques Tournier Lasserve Alain Ladousse Jean Nougayrede Gerard Savin Raoul Ivaldi Monique Nicolas Jean Fialaire Rene Millischer Charles Azema Lucien Espagno Henri Hemmer Jacques Perrot 200 Hydrogen Sulfide Ullmann s Encyclopedia of Chemical Industry doi 10 1002 14356007 a13 467 ISBN 978 3527306732 khxmulephimetimCommittee on Medical and Biological Effects of Environmental Pollutants 1979 Hydrogen Sulfide Baltimore University Park Press ISBN 978 0 8391 0127 7 Siefers Andrea 2010 A novel and cost effective hydrogen sulfide removal technology using tire derived rubber particles withyaniphnth MS Iowa State University subkhnemux 8 February 2013 aehlngkhxmulxunwikimiediykhxmmxnsmisuxthiekiywkhxngkb ihodrecnslifd bthkhwamekhminiyngepnokhrng khunsamarthchwywikiphiediyidodykarephimetimkhxmuldkhk