ไทยเชื้อสายมลายู (มลายู: Orang Melayu Thai, อักษรยาวี: ملايو تاي, มลายูปัตตานี: ออแรฺนายู, จาวี หรือบังซอยาวี) หรือ ชาวปตานี (มลายู: Orang Patani, ออแรฺตานิง) มีชื่อเรียกทางการว่า 'ชาวไทยและมาเลเซียเชื้อสายมลายู' เป็นคำเรียกพลเมืองในประเทศไทย ซึ่งเป็นที่มีจำนวนมากเป็นอันดับ 6 ของประเทศ และมีประชากรมลายูมากเป็นอันดับ 3 โดยเป็นรองแค่ประเทศมาเลเซียและประเทศอินโดนีเซีย และชาวมลายูส่วนใหญ่อาศัยอยู่ในจังหวัดนราธิวาส, ปัตตานี, ยะลา, สงขลา และสตูล นอกจากนี้ยังมีประชากรมุสลิมและผู้มีเชื้อสายมลายู[]ในเมืองภูเก็ตจังหวัดตรัง และจังหวัดระนอง และชุมชนขนาดใหญ่ในกรุงเทพที่เป็นลูกหลานของผู้อพยพหรือผู้ถูกเนรเทศจากภาคใต้มาตั้งแต่คริสต์ศตวรรษที่ 13 เป็นต้นมา
ملايو تاي Orang Melayu Thai Oré Jawi Bangso Yawi | |
---|---|
นักเรียนชาวไทยเชื้อสายมลายูในจังหวัดนราธิวาส | |
ประชากรทั้งหมด | |
3 ล้านคน (2020, ประมาณ) | |
ภูมิภาคที่มีประชากรอย่างมีนัยสำคัญ | |
ประเทศไทย (ส่วนใหญ่อยู่ในภาคใต้) ประเทศมาเลเซีย (รัฐกลันตัน, รัฐเกอดะฮ์, รัฐตรังกานู และรัฐปะลิส) | |
ภาษา | |
ไทย, ไทยถิ่นใต้, มลายูปัตตานี, มลายูเกอดะฮ์ และมลายูบางกอก | |
ศาสนา | |
ส่วนใหญ่ อิสลามนิกายซุนนี มัซฮับชาฟิอี | |
กลุ่มชาติพันธุ์ที่เกี่ยวข้อง | |
(โดยเฉพาะ และเชื้อสายมลายู), พม่าเชื้อสายมลายู, อื่น ๆ |
รายละเอียด
ชาวมลายูปัตตานี เป็นกลุ่มชนขนาดใหญ่กลุ่มหนึ่งซึ่งอาศัยอยู่จำนวนมากในจังหวัดทางภาคใต้ของประเทศไทย เป็นประชากรส่วนใหญ่ตั้งแต่จังหวัดปัตตานี จังหวัดนราธิวาส และจังหวัดยะลา รวมไปถึงบางส่วนของจังหวัดสงขลา มีประชากร 3,359,000 คน หรือร้อยละ 3 ของประชากรทั้งประเทศ ประชากรส่วนใหญ่นับถือศาสนาอิสลาม เช่นเดียวกับกลุ่มชาวมลายูทั่วไป ชาวมลายูปัตตานีเรียกตนเองว่า ออแรฺนายู (Orang Melayu; اورڠ ملايو) ซึ่งมีความหมายว่า คนมลายู และบางที่ก็เติมคำข้างหน้าด้วยเป็น กีตอออแรฺนายู (Kita Orang Melayu; كيت اورڠ ملايو) ซึ่งแปลว่า พวกเราคือมลายู และจะเรียกชาวมาเลเซียว่า ออแรฺมาเล (Orang Malay) เพราะพวกเขาแยกแยะ และมีจิตสำนึกได้ดีว่าเขาไม่ใช่คนมาเลเซีย และเรียกคนไทยว่า ออแรฺซีแย (Orang Siam; اورڠ سيام) ส่วนชาวมลายูปัตตานีที่ถูกกวาดต้อนไปอาศัยอยู่ในกรุงเทพมหานคร จะถูกเรียกว่า ออแรฺนายูบาเกาะ (Orang Melayu Bangkok; اورڠ ملايو بڠكوق) ถือว่าเป็นชาวมลายู แต่ถูกกวาดต้อนไปกรุงเทพฯ และไม่ใช่ชาวออแรฺนายูอย่างเขา ชาวไทยเชื้อสายมลายูในกรุงเทพนั้นอาศัยอยู่กระจายตัวตั้งแต่สี่แยกบ้านแขก ในฝั่งธนบุรีเลยไปถึงเขตหนองจอก แต่คำคำนี้ยังรวมไปถึงคนมลายูรอบ ๆ ปริมณฑลด้วย อย่างที่จังหวัดปทุมธานี และนนทบุรี โดยที่จังหวัดปทุมธานีจะพบคนกลุ่มนี้ในเขตคลองประชาเก่ง คลองบางโพธิ์เหนือ และคลองหนึ่ง สถานที่ตั้งถิ่นฐานมีสุเหร่าเป็นแห่งแรกที่บ้านสวนพริกไทย ส่วนในนนทบุรีมีชนกลุ่มนี้ที่สามารถพูดภาษามลายูได้ที่ตำบลท่าอิฐ อำเภอปากเกร็ดที่ถูกกวาดต้อนมาจากจังหวัดปัตตานีสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้น เป็นเวลากว่า 200 ปีมาแล้ว ในอยุธยาเองก็มีชุมชนชาวไทยเชื้อสายมลายูอยู่ที่คลองตะเคียนใต้เกาะอยุธยา ซึ่งเข้ามาอาศัยนานแล้วตั้งแต่สมัยอยุธยา
ความโดดเด่นทางวัฒนธรรม
สาเหตุของความไม่สงบในชายแดนภาคใต้โดยกลุ่มแบ่งแยกดินแดนชาวมลายูในจังหวัดนราธิวาส ปัตตานี ยะลา และสงขลา ส่วนหนึ่งมาจากความแตกต่างทางวัฒนธรรมกับชาวไทยและประสบการณ์ในอดีตที่เคยถูกบังคับดูดกลืนให้กลายเป็นคนไทยหลังอาณาจักรสุโขทัยผนวกอาณาจักรปัตตานี ใน ค.ศ. 1816 ประเทศสยามแบ่งรัฐสุลต่านปัตตานีออกเป็น 7 จังหวัดตามนโยบายแบ่งแยกและปกครอง ถึงแม้ว่าจะมีกบฎอยู่บ้าง โดยทั่วไปนโยบายนี้ทำให้บ้านเมืองสงบสุขจนถึงต้นคริสต์ศตรรษที่ 20 ใน ค.ศ. 1901 กระทรวงมหาดไทยของสยามได้รวม 7 จังหวัดไปเป็นมณฑลปัตตานี ซึ่งทำให้เหลือ 4 จังหวัด ดังนี้: ปัตตานี, บังนารา, สายบุรี และยะลา รัฐเกอดะฮ์ถูกยกไปให้อังกฤษตามสนธิสัญญาอังกฤษ–สยาม พ.ศ. 2452 ซึ่งทำให้อำเภอที่เคยอยู่ในรัฐเกอดะฮ์บางส่วนกลายเป็นจังหวัดสตูล มุสลิมเชื้อสายมลายูในสตูลไม่ค่อยมีแนวคิดแบ่งแยกดินแดน ซึ่งน่าจะเป็นผลจากความสัมพันธ์ทางประวัติศาสตร์ของอาณาจักรสตูลต่อสยาม เมื่อเทียบกับการแบ่งแยกในรัฐสุลต่านปัตตานีอย่างรุนแรง สังคมมลายูที่มีความโน้มเอียงสนับสนุนไทยสามารถพบได้ในจังหวัดภูเก็ต, ระนอง และกรุงเทพ
ความเป็นมลายู นั้นขึ้นอยู่กับองค์ประกอบสำคัญได้แก่ ภาษามลายู ศาสนาอิสลาม และวัฒนธรรม เพราะฉะนั้นใครก็ตามที่พูดภาษามลายูได้ เลือกวิถี โดยเฉพาะต้องนับถือศาสนาอิสลามถือว่าเป็นชาวมลายู ถ้าสักแต่พูดภาษามลายู มีชีวิตในวิถีวัฒนธรรมมลายู แต่ไม่ได้นับถือศาสนาอิสลาม ก็ไม่ถือว่าเป็นมลายู
อย่างไรก็ตามศาสนาอิสลามจะเกาะเกี่ยวกับความเป็นมลายูตลอด เมื่อใครเข้ารับศาสนาอิสลามหรือเข้าอิสลามก็จะเรียกว่าเข้ามลายู (มาโซะ มลายู หรือมะโซะยาวี) หรือ เป็นมลายูซึ่งประเด็นนี้น่าสนใจเพราะเขาจะเรียกว่า"เข้าไทย"(มาโซะ ซีแย) เมื่อมีใครเปลี่ยนไปนับถือศาสนาพุทธในทำนองเดียวกัน อย่างไรก็ตาม ขณะเดียวกันชีวิตวัฒนธรรม โดยเฉพาะภาษามลายูก็มีความสำคัญอย่างยิ่ง ถึงกับมีคำกล่าวว่า “ฮีลัง บาฮาซา ฮีลัง บังซา” แปลเป็นไทยได้ว่า “ถ้าภาษา (มลายู) หาย ชาติ (หรือความเป็นมลายู) ก็จะหายด้วย” ดังนั้นเขาจึงต้องต่อสู้เพื่อปกป้องชาติหรือความเป็นมลายูของตัวเองไม่ให้สูญสลายหายไป รวมทั้งพยายามยืนหยัดที่จะใช้ภาษามลายูสืบไป
ชาวไทยเชื้อสายมลายูหลายคน ยังแต่งกายแบบมลายูให้เห็นอยู่ทั่วไป โดยเฉพาะทางภาคใต้ ผู้ชายยังแต่งกายด้วยการนุ่งโสร่ง ผู้หญิงนุ่งผ้าปาเต๊ะ โพกศีรษะเหมือนชาวมุสลิมในประเทศมาเลเซีย ปัจจุบันวัฒนธรรมการแต่งกายของมาเลเซียก็เข้ามา ทำให้ชาวมลายูแต่งตัวให้ทันสมัยมากขึ้น แต่ยังคงอัตลักษณ์ความเป็นมลายู และอิสลามอยู่อย่างมั่นคง
ภาษา
ชาวมลายูในประเทศไทยส่วนใหญ่พูดภาษามลายูปัตตานี (บาซอยาวี/ตานี) อย่างไรก็ตาม ใช่ว่าชาวไทยเชื้อสายมลายูทุกคนสามารถพูดภาษามลายูปัตตานีได้ เพราะชาวไทยเชื้อสายมลายูบางส่วนในจังหวัดสตูลและบริเวณใกล้เคียงพูดภาษามลายูสตูล ในขณะที่ชาวมลายูในกรุงเทพได้พัฒนาสำเนียงของตนเองไปเป็นภาษามลายูบางกอก ชาวกรุงเทพ สตูล และปัตตานีมีความใกล้ชิดกันและมีคำศัพท์ใกล้เคียงกัน แต่ไม่สามารถเข้าใจในบางคำ
กลุ่มเชื้อชาติมลายูส่วนใหญ่ในจังหวัดสตูล (และเป็นชนกลุ่มน้อยในจังหวัดพัทลุง[][]ตรัง, กระบี่, พังงา และสงขลา เช่นเดียวกันกับรัฐในประเทศมาเลเซีย เช่นรัฐเกอดะฮ์, รัฐเปรัก และรัฐปะลิส) เป็นกลุ่มชาติพันธุ์ที่แตกต่าง ซึ่งโดยทั่วไปนับถือศาสนาอิสลาม แต่มีความเป็นไทย (กับอิทธิพลมลายูบางส่วน) และพูดภาษาไทยถิ่นใต้ที่มีคำยืมภาษามลายูบางส่วน
ระบบการเขียน
นับตั้งแต่ศาสนาอิสลามเริ่มเข้ามาในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ชาวมลายูใช้อักษรอาหรับดัดแปลงที่มีชื่อว่าอักษรยาวี ไม่เหมือนกับส่วนอื่นในโลกมลายู เช่นมาเลเซีย สิงคโปร์ และอินโดนีเซีย ที่มีผู้ใช้อักษรนี้ลดลงและใช้อักษรลาตินมากขึ้น ชาวมลายูในประเทศไทยยังคงใช้อักษรยาวีอยู่ต่อไป
ศาสนา
ประชากรไทยเชื้อสายมลายูส่วนใหญ่เป็นชาวมุสลิมมัซฮับ โดยมีศาสนาอิสลามเป็นองค์ประกอบสำคัญในอัตลักษณ์ความเป็นไทยเชื้อสายมลายู ใครก็ตามที่ออกจากศาสนานี้ โดยเฉพาะศาสนาพุทธนิกายเถรวาทจะถูกถือว่าเป็นชาวไทยทันที แม้ว่าตนจะมีเชื้อสายมลายูก็ตาม[]
กลุ่มชาวมลายูที่นับถือศาสนาพุทธจำนวนไม่น้อยอาศัยอยู่โดยทั่วไป ส่วนอิทธิพลของพราหมณ์ และไสยศาสตร์ยังคงสืบทอดในบางท้องถิ่น และหลงเหลือภูมินามในท้องที่ เช่น จาเฆาะบาลอ (คลองพระพุทธรูป) บาโงกือเต๊ะ (โคกกุฏิ) และ บูกิตสามิง (เขาพระ) ปัจจุบันชาวมลายูที่เป็นพุทธผสมกลมกลืนไปกับชาวไทยพุทธในพื้นที่ไปแล้ว บางส่วนก็มาจากการเปลี่ยนศาสนาไปนับถือศาสนาพุทธ ดังกรณีชาวมลายูพุทธที่บ้านเชิงเขา จังหวัดนราธิวาส จะมีประเพณีบุญข้าวใหม่ โดยจะนำข้าวที่เพิ่งเก็บเกี่ยวไปให้ผู้อาวุโสชาวมลายูมุสลิมในหมู่บ้านดุอาอุทิศส่วนกุศลแก่บรรพชนของตัวเอง ขณะที่ชุมชนมุสลิมบางแห่งยังคงดำรงพิธีกรรมตามแบบศาสนาพราหมณ์ไปด้วย
ชาวไทยเชื้อสายมลายูที่มีชื่อเสียง
อ้างอิง
- Le Roux (1998), p. 245
- "Thailand: Ethnicity, Regionalism, and Language". lcweb2.loc.gov.
- (PDF) (Report) (ภาษาอังกฤษ). United Nations Committee on the Elimination of Racial Discrimination. 28 July 2011. pp. 3, 5 & 95. CERD/C/THA/1-3. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิม (PDF)เมื่อ 2016-10-09. สืบค้นเมื่อ 8 October 2016.
- (PDF). Bangkok: Ministry of Social Development and Human Security. 2015. pp. 1 & 29. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิม (PDF)เมื่อ 2021-03-12. สืบค้นเมื่อ 2021-08-28.
- Institute of South East Asian Studies. The South East Asian Review, 1976. The Institute of South East Asian Studies. p. 167.
- . National Statistical Office (Thailand). คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2009-11-13. สืบค้นเมื่อ 2021-08-28.
- . Phuket Heritage. Lestari Heritage Network. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2008-06-16.
- . National Statistical Office (Thailand). คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2011-06-15. สืบค้นเมื่อ 2021-08-28.
- Mohamed Taher. Encyclopaedic Survey of Islamic Culture. New Delhi: Anmol Publications. pp. 228–229. ISBN .
- Carpenter, William M.; Wiencek, David G., บ.ก. (1996). Asian Security Handbook: An Assessment of Political-Security Issues in the Asia-Pacific Region. Armonk: M. E. Sharpe. pp. 240–6. ISBN .
- Che Man (1990)
- Fraser, Thomas M. (1960). Rusembilan: A Malay Fishing Village in Southern Thailand. Cornell Studies in Anthropology, I. Ithaca: . p. 88.
- Yegar (2002), pp. 79–80
- "Journal of the Royal Asiatic Society of Great Britain & Ireland". 16. 1834: 167.
{{}}
: Cite journal ต้องการ|journal=
((help)) - Institute of South East Asian Studies (1976). The South East Asian Review. The Institute of South East Asian Studies. p. 15.
- Annandale, Nelson; Robinson, Herbert C. (1903). Fasciculi Malayenses: Anthropological and Zoological Results. New York: Longmans, Green & Co. for The University Press of Liverpool. p. 30.
- Kobkua Suwannathat-Pian (2000). "The Historical Development of Thai-Speaking Muslim Communities in Southern Thailand and Northern Malaysia". ใน Turton, Andrew (บ.ก.). Civility and Savagery: Social Identity in Tai States. Surrey: Curzon Press. pp. 162–175. ISBN .
- ดาริกา ธนะศักดิ์ศิริ (2555). รักษ์วัฒนธรรมกลุ่มชาติพันธุ์ (PDF). ปทุมธานี: พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ กาญจนาภิเษก. p. 11.
- มะอีซอ โซะมะตะ และคณะ (2549). "การเปลี่ยนแปลงของระบบนิเวศวัฒนธรรม ในเขตเชิงเขาบูโด-สันการาคีรี กรณีศึกษาบริเวณบ้านตะโหนดอำเภอรือเสาะและอำเภอศรีสาคร จังหวัดนราธิวาส". ศูนย์มานุษยวิทยาสิรินธร. สืบค้นเมื่อ 27 พฤศจิกายน 2565.
{{}}
: ตรวจสอบค่าวันที่ใน:|accessdate=
((help)) - "ตามหามลายูพุทธใน 3 จังหวัดใต้". ฐานข้อมูลข่าวจังหวัดชายแดนภาคใต้. 9 กุมภาพันธ์ 2558. สืบค้นเมื่อ 27 พฤศจิกายน 2565.
{{}}
: ตรวจสอบค่าวันที่ใน:|accessdate=
((help))[] - Najib Bin Ahmad (1 มีนาคม 2556). . มูลนิธิเล็ก-ประไพ วิริยะพันธุ์. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2022-11-26. สืบค้นเมื่อ 27 พฤศจิกายน 2565.
{{}}
: ตรวจสอบค่าวันที่ใน:|accessdate=
((help)) - อัศโตรา ชาบัต (30 มีนาคม 2558). "ใครคือชาวมลายูพุทธศรีวิชัยและลังกาสุกะ?". ศูนย์เฝ้าระวังสถานการณ์ภาคใต้. สืบค้นเมื่อ 27 พฤศจิกายน 2565.
{{}}
: ตรวจสอบค่าวันที่ใน:|accessdate=
((help)) - รายงานผลการศึกษา โครงการศึกษาและพัฒนาระบบการคุ้มครองสิทธิและเสรีภาพในโครงการนำร่อง (ต่อเนื่อง) รวมทั้งศึกษาเปรียบเทียบและขยายสู่ชุมชนใหม่ พื้นที่ภาคใต้ตอนล่าง ตำบลปะลุกาสาเมาะ จังหวัดนราธิวาส ปะนาเระ จังหวัดปัตตานี กรงปินัง จังหวัดยะลา (PDF). มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์. 2547. p. 20.
- รายงานผลการศึกษา โครงการศึกษาและพัฒนาระบบการคุ้มครองสิทธิและเสรีภาพในโครงการนำร่อง (ต่อเนื่อง) รวมทั้งศึกษาเปรียบเทียบและขยายสู่ชุมชนใหม่ พื้นที่ภาคใต้ตอนล่าง ตำบลปะลุกาสาเมาะ จังหวัดนราธิวาส ปะนาเระ จังหวัดปัตตานี กรงปินัง จังหวัดยะลา (PDF). มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์. 2547. p. 6.
- แพร ศิริศักดิ์ดำเกิง (2552). (PDF). กรุงเทพฯ: ศูนย์มานุษยวิทยาสิรินธร. p. 109. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิม (PDF)เมื่อ 2012-08-31. สืบค้นเมื่อ 2015-05-17.
อ่านเพิ่ม
- Streicher, Ruth (2020). UNEASY MILITARY ENCOUNTERS: the Imperial Politics of Counterinsurgency in Southern Thailand. SOUTHEAST ASIA PROGRAM.
- (1990). Muslims Separatism: The Moros of Southern Philippines and the Malays of Southern Thailand. Oxford: Oxford University Press. ISBN . OCLC 466390039.
- Che Man, W. K. (2003). "Democratization and National Integration: Malay Muslim Community in Southern Thailand". Intellectual Discourse. 11 (1): 1–26.
- Le Roux, Pierre (1998). "To Be or Not to Be…: The Cultural Identity of the Jawi (Thailand)" (PDF). Asian Folklore Studies. 57 (2): 223–255. doi:10.2307/1178753. JSTOR 1178753.
- Montesano, Michael John; Jory, Patrick, บ.ก. (2008). Thai South and Malay North: Ethnic Interactions on the Plural Peninsula. National University of Singapore Press. ISBN .
- (2002). Between Integration and Secession: The Muslim Communities of the Southern Philippines, Southern Thailand and Western Burma/Myanmar. Lanham: Lexington Books. Part Two: The Patani Muslims, pp. 73–181. ISBN .
- Aphornsuvan, Thanet (2004). Origins of Malay Muslim "Separatism" in Southern Thailand. Singapore: Asia Research Institute, National University of Singapore.
wikipedia, แบบไทย, วิกิพีเดีย, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด, บทความ, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม, มือถือ, โทรศัพท์, Android, iOS, Apple, โทรศัพท์โมบิล, Samsung, iPhone, Xiomi, Xiaomi, Redmi, Honor, Oppo, Nokia, Sonya, MI, PC, พีซี, web, เว็บ, คอมพิวเตอร์
ithyechuxsaymlayu mlayu Orang Melayu Thai xksryawi ملايو تاي mlayupttani xxaer nayu cawi hruxbngsxyawi hrux chawptani mlayu Orang Patani xxaer taning michuxeriykthangkarwa chawithyaelamaelesiyechuxsaymlayu epnkhaeriykphlemuxnginpraethsithy sungepnthimicanwnmakepnxndb 6 khxngpraeths aelamiprachakrmlayumakepnxndb 3 odyepnrxngaekhpraethsmaelesiyaelapraethsxinodniesiy aelachawmlayuswnihyxasyxyuincnghwdnrathiwas pttani yala sngkhla aelastul nxkcakniyngmiprachakrmuslimaelaphumiechuxsaymlayu txngkarxangxingetmrupaebb inemuxngphuektcnghwdtrng aelacnghwdranxng aelachumchnkhnadihyinkrungethphthiepnlukhlankhxngphuxphyphhruxphuthukenrethscakphakhitmatngaetkhriststwrrsthi 13 epntnmaithyechuxsaymlayuملايو تاي Orang Melayu Thai Ore Jawi Bangso Yawinkeriynchawithyechuxsaymlayuincnghwdnrathiwasprachakrthnghmd3 lankhn 2020 praman phumiphakhthimiprachakrxyangminysakhypraethsithy swnihyxyuinphakhit praethsmaelesiy rthklntn rthekxdah rthtrngkanu aelarthpalis phasaithy ithythinit mlayupttani mlayuekxdah aelamlayubangkxksasnaswnihy xislamnikaysunni mshbchafixiklumchatiphnthuthiekiywkhxng odyechphaa aelaechuxsaymlayu phmaechuxsaymlayu xun raylaexiydchawmlayupttani epnklumchnkhnadihyklumhnungsungxasyxyucanwnmakincnghwdthangphakhitkhxngpraethsithy epnprachakrswnihytngaetcnghwdpttani cnghwdnrathiwas aelacnghwdyala rwmipthungbangswnkhxngcnghwdsngkhla miprachakr 3 359 000 khn hruxrxyla 3 khxngprachakrthngpraeths prachakrswnihynbthuxsasnaxislam echnediywkbklumchawmlayuthwip chawmlayupttanieriyktnexngwa xxaer nayu Orang Melayu اورڠ ملايو sungmikhwamhmaywa khnmlayu aelabangthiketimkhakhanghnadwyepn kitxxxaer nayu Kita Orang Melayu كيت اورڠ ملايو sungaeplwa phwkerakhuxmlayu aelacaeriykchawmaelesiywa xxaer mael Orang Malay ephraaphwkekhaaeykaeya aelamicitsanukiddiwaekhaimichkhnmaelesiy aelaeriykkhnithywa xxaer siaey Orang Siam اورڠ سيام swnchawmlayupttanithithukkwadtxnipxasyxyuinkrungethphmhankhr cathukeriykwa xxaer nayubaekaa Orang Melayu Bangkok اورڠ ملايو بڠكوق thuxwaepnchawmlayu aetthukkwadtxnipkrungethph aelaimichchawxxaer nayuxyangekha chawithyechuxsaymlayuinkrungethphnnxasyxyukracaytwtngaetsiaeykbanaekhk infngthnburielyipthungekhthnxngcxk aetkhakhaniyngrwmipthungkhnmlayurxb primnthldwy xyangthicnghwdpthumthani aelannthburi odythicnghwdpthumthanicaphbkhnklumniinekhtkhlxngprachaekng khlxngbangophthiehnux aelakhlxnghnung sthanthitngthinthanmisuehraepnaehngaerkthibanswnphrikithy swninnnthburimichnklumnithisamarthphudphasamlayuidthitablthaxith xaephxpakekrdthithukkwadtxnmacakcnghwdpttanismyrtnoksinthrtxntn epnewlakwa 200 pimaaelw inxyuthyaexngkmichumchnchawithyechuxsaymlayuxyuthikhlxngtaekhiynitekaaxyuthya sungekhamaxasynanaelwtngaetsmyxyuthyakhwamoddednthangwthnthrrmsaehtukhxngkhwamimsngbinchayaednphakhitodyklumaebngaeykdinaednchawmlayuincnghwdnrathiwas pttani yala aelasngkhla swnhnungmacakkhwamaetktangthangwthnthrrmkbchawithyaelaprasbkarninxditthiekhythukbngkhbdudklunihklayepnkhnithyhlngxanackrsuokhthyphnwkxanackrpttani in kh s 1816 praethssyamaebngrthsultanpttanixxkepn 7 cnghwdtamnoybayaebngaeykaelapkkhrxng thungaemwacamikbdxyubang odythwipnoybaynithaihbanemuxngsngbsukhcnthungtnkhriststrrsthi 20 in kh s 1901 krathrwngmhadithykhxngsyamidrwm 7 cnghwdipepnmnthlpttani sungthaihehlux 4 cnghwd dngni pttani bngnara sayburi aelayala rthekxdahthukykipihxngkvstamsnthisyyaxngkvs syam ph s 2452 sungthaihxaephxthiekhyxyuinrthekxdahbangswnklayepncnghwdstul muslimechuxsaymlayuinstulimkhxymiaenwkhidaebngaeykdinaedn sungnacaepnphlcakkhwamsmphnththangprawtisastrkhxngxanackrstultxsyam emuxethiybkbkaraebngaeykinrthsultanpttanixyangrunaerng sngkhmmlayuthimikhwamonmexiyngsnbsnunithysamarthphbidincnghwdphuekt ranxng aelakrungethph praephnikaraehnk epnphsmphsansilparahwang chwa xinediy aelaithy epnkaraesdngkarkharwahruxcngrkphkdiaekphuihythikhwrekharphnbthuxmaeyuxn pccubnhaduyak enuxngcakkhdhlksasnaxislam khwamepnmlayu nnkhunxyukbxngkhprakxbsakhyidaek phasamlayu sasnaxislam aelawthnthrrm ephraachannikhrktamthiphudphasamlayuid eluxkwithi odyechphaatxngnbthuxsasnaxislamthuxwaepnchawmlayu thaskaetphudphasamlayu michiwitinwithiwthnthrrmmlayu aetimidnbthuxsasnaxislam kimthuxwaepnmlayu xyangirktamsasnaxislamcaekaaekiywkbkhwamepnmlayutlxd emuxikhrekharbsasnaxislamhruxekhaxislamkcaeriykwaekhamlayu maosa mlayu hruxmaosayawi hrux epnmlayusungpraednninasnicephraaekhacaeriykwa ekhaithy maosa siaey emuxmiikhrepliynipnbthuxsasnaphuththinthanxngediywkn xyangirktam khnaediywknchiwitwthnthrrm odyechphaaphasamlayukmikhwamsakhyxyangying thungkbmikhaklawwa hilng bahasa hilng bngsa aeplepnithyidwa thaphasa mlayu hay chati hruxkhwamepnmlayu kcahaydwy dngnnekhacungtxngtxsuephuxpkpxngchatihruxkhwamepnmlayukhxngtwexngimihsuyslayhayip rwmthngphyayamyunhydthicaichphasamlayusubip chawithyechuxsaymlayuhlaykhn yngaetngkayaebbmlayuihehnxyuthwip odyechphaathangphakhit phuchayyngaetngkaydwykarnungosrng phuhyingnungphapaeta ophksirsaehmuxnchawmusliminpraethsmaelesiy pccubnwthnthrrmkaraetngkaykhxngmaelesiykekhama thaihchawmlayuaetngtwihthnsmymakkhun aetyngkhngxtlksnkhwamepnmlayu aelaxislamxyuxyangmnkhngphasachawmlayuinpraethsithyswnihyphudphasamlayupttani basxyawi tani xyangirktam ichwachawithyechuxsaymlayuthukkhnsamarthphudphasamlayupttaniid ephraachawithyechuxsaymlayubangswnincnghwdstulaelabriewniklekhiyngphudphasamlayustul inkhnathichawmlayuinkrungethphidphthnasaeniyngkhxngtnexngipepnphasamlayubangkxk chawkrungethph stul aelapttanimikhwamiklchidknaelamikhasphthiklekhiyngkn aetimsamarthekhaicinbangkha klumechuxchatimlayuswnihyincnghwdstul aelaepnchnklumnxyincnghwdphthlung txngkartrwcsxbkhwamthuktxng txngkarxangxingetmrupaebb trng krabi phngnga aelasngkhla echnediywknkbrthinpraethsmaelesiy echnrthekxdah rtheprk aelarthpalis epnklumchatiphnthuthiaetktang sungodythwipnbthuxsasnaxislam aetmikhwamepnithy kbxiththiphlmlayubangswn aelaphudphasaithythinitthimikhayumphasamlayubangswn rabbkarekhiyn nbtngaetsasnaxislamerimekhamainexechiytawnxxkechiyngit chawmlayuichxksrxahrbddaeplngthimichuxwaxksryawi imehmuxnkbswnxuninolkmlayu echnmaelesiy singkhopr aelaxinodniesiy thimiphuichxksrnildlngaelaichxksrlatinmakkhun chawmlayuinpraethsithyyngkhngichxksryawixyutxipsasnachawithyechuxsaymlayuin kh s 2011 prachakrithyechuxsaymlayuswnihyepnchawmuslimmshb odymisasnaxislamepnxngkhprakxbsakhyinxtlksnkhwamepnithyechuxsaymlayu ikhrktamthixxkcaksasnani odyechphaasasnaphuththnikayethrwathcathukthuxwaepnchawithythnthi aemwatncamiechuxsaymlayuktam txngkarxangxing klumchawmlayuthinbthuxsasnaphuththcanwnimnxyxasyxyuodythwip swnxiththiphlkhxngphrahmn aelaisysastryngkhngsubthxdinbangthxngthin aelahlngehluxphuminaminthxngthi echn caekhaabalx khlxngphraphuththrup baongkuxeta okhkkuti aela bukitsaming ekhaphra pccubnchawmlayuthiepnphuththphsmklmklunipkbchawithyphuththinphunthiipaelw bangswnkmacakkarepliynsasnaipnbthuxsasnaphuthth dngkrnichawmlayuphuthththibanechingekha cnghwdnrathiwas camipraephnibuykhawihm odycanakhawthiephingekbekiywipihphuxawuoschawmlayumusliminhmubanduxaxuthisswnkuslaekbrrphchnkhxngtwexng khnathichumchnmuslimbangaehngyngkhngdarngphithikrrmtamaebbsasnaphrahmnipdwychawithyechuxsaymlayuthimichuxesiyngkngsdal phiphithphkdi xditphrachayainsmedcphrarachathibdimuhmmdthi 5 aehngrthklntn praethsmaelesiy surinthr phissuwrrn aewmahadi aewdaoxa ecaxaming otatahyng wnmuhamdnxr matha sultansulyman emthi xrun niklya dulyaxangxingLe Roux 1998 p 245 Thailand Ethnicity Regionalism and Language lcweb2 loc gov PDF Report phasaxngkvs United Nations Committee on the Elimination of Racial Discrimination 28 July 2011 pp 3 5 amp 95 CERD C THA 1 3 khlngkhxmulekaekbcakaehlngedim PDF emux 2016 10 09 subkhnemux 8 October 2016 PDF Bangkok Ministry of Social Development and Human Security 2015 pp 1 amp 29 khlngkhxmulekaekbcakaehlngedim PDF emux 2021 03 12 subkhnemux 2021 08 28 Institute of South East Asian Studies The South East Asian Review 1976 The Institute of South East Asian Studies p 167 National Statistical Office Thailand khlngkhxmulekaekbcakaehlngedimemux 2009 11 13 subkhnemux 2021 08 28 Phuket Heritage Lestari Heritage Network khlngkhxmulekaekbcakaehlngedimemux 2008 06 16 National Statistical Office Thailand khlngkhxmulekaekbcakaehlngedimemux 2011 06 15 subkhnemux 2021 08 28 Mohamed Taher Encyclopaedic Survey of Islamic Culture New Delhi Anmol Publications pp 228 229 ISBN 81 261 0403 1 Carpenter William M Wiencek David G b k 1996 Asian Security Handbook An Assessment of Political Security Issues in the Asia Pacific Region Armonk M E Sharpe pp 240 6 ISBN 1 56324 813 1 Che Man 1990 Fraser Thomas M 1960 Rusembilan A Malay Fishing Village in Southern Thailand Cornell Studies in Anthropology I Ithaca p 88 Yegar 2002 pp 79 80 Journal of the Royal Asiatic Society of Great Britain amp Ireland 16 1834 167 a href wiki E0 B9 81 E0 B8 A1 E0 B9 88 E0 B9 81 E0 B8 9A E0 B8 9A Cite journal title aemaebb Cite journal cite journal a Cite journal txngkar journal help Institute of South East Asian Studies 1976 The South East Asian Review The Institute of South East Asian Studies p 15 Annandale Nelson Robinson Herbert C 1903 Fasciculi Malayenses Anthropological and Zoological Results New York Longmans Green amp Co for The University Press of Liverpool p 30 Kobkua Suwannathat Pian 2000 The Historical Development of Thai Speaking Muslim Communities in Southern Thailand and Northern Malaysia in Turton Andrew b k Civility and Savagery Social Identity in Tai States Surrey Curzon Press pp 162 175 ISBN 0 7007 1173 2 darika thnaskdisiri 2555 rkswthnthrrmklumchatiphnthu PDF pthumthani phiphithphnthsthanaehngchati kaycnaphiesk p 11 maxisx osamata aelakhna 2549 karepliynaeplngkhxngrabbniewswthnthrrm inekhtechingekhabuod snkarakhiri krnisuksabriewnbantaohndxaephxruxesaaaelaxaephxsrisakhr cnghwdnrathiwas sunymanusywithyasirinthr subkhnemux 27 phvscikayn 2565 a href wiki E0 B9 81 E0 B8 A1 E0 B9 88 E0 B9 81 E0 B8 9A E0 B8 9A Cite web title aemaebb Cite web cite web a trwcsxbkhawnthiin accessdate help tamhamlayuphuththin 3 cnghwdit thankhxmulkhawcnghwdchayaednphakhit 9 kumphaphnth 2558 subkhnemux 27 phvscikayn 2565 a href wiki E0 B9 81 E0 B8 A1 E0 B9 88 E0 B9 81 E0 B8 9A E0 B8 9A Cite web title aemaebb Cite web cite web a trwcsxbkhawnthiin accessdate help lingkesiy Najib Bin Ahmad 1 minakhm 2556 mulnithielk praiph wiriyaphnthu khlngkhxmulekaekbcakaehlngedimemux 2022 11 26 subkhnemux 27 phvscikayn 2565 a href wiki E0 B9 81 E0 B8 A1 E0 B9 88 E0 B9 81 E0 B8 9A E0 B8 9A Cite web title aemaebb Cite web cite web a trwcsxbkhawnthiin accessdate help xsotra chabt 30 minakhm 2558 ikhrkhuxchawmlayuphuththsriwichyaelalngkasuka sunyefarawngsthankarnphakhit subkhnemux 27 phvscikayn 2565 a href wiki E0 B9 81 E0 B8 A1 E0 B9 88 E0 B9 81 E0 B8 9A E0 B8 9A Cite web title aemaebb Cite web cite web a trwcsxbkhawnthiin accessdate help raynganphlkarsuksa okhrngkarsuksaaelaphthnarabbkarkhumkhrxngsiththiaelaesriphaphinokhrngkarnarxng txenuxng rwmthngsuksaepriybethiybaelakhyaysuchumchnihm phunthiphakhittxnlang tablpalukasaemaa cnghwdnrathiwas panaera cnghwdpttani krngpinng cnghwdyala PDF mhawithyalysngkhlankhrinthr 2547 p 20 raynganphlkarsuksa okhrngkarsuksaaelaphthnarabbkarkhumkhrxngsiththiaelaesriphaphinokhrngkarnarxng txenuxng rwmthngsuksaepriybethiybaelakhyaysuchumchnihm phunthiphakhittxnlang tablpalukasaemaa cnghwdnrathiwas panaera cnghwdpttani krngpinng cnghwdyala PDF mhawithyalysngkhlankhrinthr 2547 p 6 aephr siriskdidaeking 2552 PDF krungethph sunymanusywithyasirinthr p 109 khlngkhxmulekaekbcakaehlngedim PDF emux 2012 08 31 subkhnemux 2015 05 17 xanephimStreicher Ruth 2020 UNEASY MILITARY ENCOUNTERS the Imperial Politics of Counterinsurgency in Southern Thailand SOUTHEAST ASIA PROGRAM 1990 Muslims Separatism The Moros of Southern Philippines and the Malays of Southern Thailand Oxford Oxford University Press ISBN 0 19 588924 X OCLC 466390039 Che Man W K 2003 Democratization and National Integration Malay Muslim Community in Southern Thailand Intellectual Discourse 11 1 1 26 Le Roux Pierre 1998 To Be or Not to Be The Cultural Identity of the Jawi Thailand PDF Asian Folklore Studies 57 2 223 255 doi 10 2307 1178753 JSTOR 1178753 Montesano Michael John Jory Patrick b k 2008 Thai South and Malay North Ethnic Interactions on the Plural Peninsula National University of Singapore Press ISBN 978 9971 69 411 1 2002 Between Integration and Secession The Muslim Communities of the Southern Philippines Southern Thailand and Western Burma Myanmar Lanham Lexington Books Part Two The Patani Muslims pp 73 181 ISBN 0 7391 0356 3 Aphornsuvan Thanet 2004 Origins of Malay Muslim Separatism in Southern Thailand Singapore Asia Research Institute National University of Singapore