โรคกุ้งตายด่วน หรือกลุ่มอาการตายด่วน (อังกฤษ: Shrimp Early Mortality Syndrome, ย่อ: EMS) เรียกอีกชื่อหนึ่งว่า กลุ่มอาการตับและตับอ่อนตายเฉียบพลัน (อังกฤษ: Acute Hepatopancreatic Necrosis Syndrome, ย่อ: AHPNS) เป็นโรคระบาดส่งผลถึงตายในกุ้งเลี้ยง ซึ่งเป็นอาการที่พบว่าเซลล์ตับและตับอ่อนของกุ้งมีลักษณะการตายหรือถูกทำลายอย่างรุนแรง
โรคกุ้งตายด่วน (EMS) หรือกลุ่มอาการตับและตับอ่อนตายเฉียบพลัน (AHPNS) เริ่มมีการระบาดครั้งแรกในรัฐเท็กซัสปี 2528 จากนั้นโรคนี้แพร่ระบาดไปยังฟาร์มกุ้งในทวีปอเมริกาใต้ ต่อมาในปี 2552 มีการแพร่มายังประเทศจีน และกระจายอย่างรวดเร็วสู่ประเทศเวียดนามในปี 2553 ในมาเลเซียปี 2554 และประเทศไทยปลายปี 2554 ตามลำดับ
ในต้นปี 2556 พบว่าแบคทีเรียที่ก่อให้เกิดโรคนี้คือ Vibrio parahaemolyticus อัตราการตายสูงสุดพบในกุ้งขาวแวนนาไม (Penaeus vannamei)ซึ่งเป็นกุ้งเลี้ยงที่ติดในสองอันดับแรกที่มีการเลี้ยงมากที่สุด โดยกุ้งที่เกิดโรคกุ้งตายด่วน (EMS) หรือกลุ่มอาการตับและตับอ่อนตายเฉียบพลัน (AHPNS) จะเกิดภายใน 20 - 30 วันหลังการปล่อยลูกกุ้งลงบ่อ ในช่วงระยะแรกกุ้งในบ่อที่ป่วยจะไม่แสดงอาการผิดปกติอย่างเด่นชัด ไม่มีอาการเกยขอบบ่อ แต่จะเริ่มพบกุ้งตายในยอและตายที่ก้นบ่อ หลังจากนั้นจะพบซากกุ้งลอยขึ้นมา กุ้งเริ่มทยอยตาย และหากไม่ได้รับการรักษาก็จะส่งผลกระทบต่อกุ้งระยะโพสท์ลาวาซึ่งจะมีอัตราตายถึง 90% ภายใน 30 วัน
จากงานวิจัยพบว่าโรคกุ้งตายด่วนไม่มีความเสี่ยงต่อสุขภาพคน เนื่องจากเชื้อ V.parahaemolyticus บางสายพันธุ์ที่พบได้ยากเท่านั้นที่มียีนชนิดพิเศษ 2 ตัวซึ่งสามารถก่อให้เกิดโรคในระบบทางเดินอาหารของคนได้และมีเพียง 1-2% ของสายพันธุ์ของเชื้อ V.parahaemolyticus ที่พบได้ในธรรมชาติทั่วโลกเท่านั้นที่มียีนพิเศษ 2 ชนิดนี้
อาการและอาการแสดง
ช่วงแรกที่กุ้งเริ่มป่วยจะยังไม่แสดงอาการผิดปกติ แต่ต่อมา กุ้งจะมีอาการ ดังนี้
- ว่ายน้ำเฉื่อย
- เซื่องซึม
- กินอาหารน้อยลง
- ซีดหรือสีคล้ำเพราะถูกทำลายจากการติดเชื้อแบคทีเรีย
- ตับมีสีขาวซีด เนื่องจากสูญเสียเม็ดสีในชั้นแคปซูลของเนื้อเยื่อเกี่ยวพัน
- ตับฝ่อลีบอย่างเห็นได้ชัด
- เปลือกนิ่ม ลำไส้ไม่มีอาหาร หรือขาดช่วง
- อาจมีจุดหรือเส้นสีดำที่ตับ
- ตับเหนียว บี้ด้วยนิ้วมือยาก
- จมลงก้นบ่อ
พยาธิสภาพ
อาการเสื่อมสภาพของตับและตับอ่อน จะเริ่มจาก R-cell, B-cell และ F-cell ในตับและตับอ่อนมีจำนวนลดลง จากนั้นการแบ่งตัวของนิวเคลียสใน E-cell ก็ต่ำลงเช่นกัน จึงทำให้ R, B, F-cell และ E-cell เริ่มทำงานผิดปกติตามลำดับ ส่งผลให้ส่วนต้นของท่อของเซลล์ตับและตับอ่อนเริ่มมีการเสื่อมสภาพไปจนถึงส่วนปลายของท่อ ซึ่งจะพบความผิดปกติของนิวเคลียส รวมถึงเซลล์ตับและตับอ่อนหลุดลอก
เนื้อเยื่อบริเวณตับและตับอ่อนมีความผิดปกติ โดยเริ่มจาก (epithelial cell) ของตับและตับอ่อนถูกทำลายอย่างรุนแรงคล้ายกับถูกสารพิษ ตับอ่อนมีการสะสมไขมันทั้งในรูปของ fat storage cell vesicle และ oil droplet ลดต่ำลง การทำงานของเซลล์ที่หลั่งสารมีประสิทธิภาพลดลงด้วย ซึ่งกุ้งที่มีอาการติดเชื้ออย่างรุนแรงพบว่าไขมัน, เซลล์ของตับและตับอ่อน และเซลล์ที่ทำหน้าที่หลั่งสารถูกทำลายรุนแรงมากยิ่งขึ้นและหลุดสู่ช่องของท่อตับ ในระยะท้ายของโรคมีการติดเชื้อซ้ำ (secondary infection) อย่างรุนแรงซึ่งเกิดขึ้นโดยการฉวยโอกาสของเชื้อ Vibrio parahaemolyticus และในที่สุดกุ้งที่ติดเชื้อจะตาย เป็นผลมาจากการที่ตับและตับอ่อนล้มเหลว
สาเหตุ
สาเหตุหลักที่ทำให้กุ้งตายเป็นผลมาจากตับและตับอ่อนถูกทำลาย เนื่องจากการติดเชื้อแบคทีเรีย Vibrio parahaemolyticus เป็นเชื้อที่สร้างสารพิษจะอยู่เฉพาะที่ (localized infection) พบในกระเพาะอาหาร เมื่อตับและตับอ่อนของกุ้งถูกทำลายจึงจะพบเชื้อแบคทีเรียที่บริเวณตับและตับอ่อนเป็นจำนวนมาก ปัจจัยที่มีผลต่อการเพิ่มจำนวนของเชื้อ “Vibrio parahaemolyticus” ได้แก่ น้ำที่มีออกซิเจนต่ำ สารอินทรีย์สูง, การหมักหมมของอุปกรณ์, อาหารกุ้งตกค้างในบ่อ และเศษตะกอนอินทรีย์คงค้าง ซึ่งเชื้อก่อโรคจะชอบน้ำที่มีอุณหภูมิสูง (เกิน 29 °C) และมีระดับความเค็มสูง (กว่า 20–38 ppt) การหลีกเลี่ยงภาวะเหล่านี้ในบ่อเลี้ยงจึงมีความสำคัญต่อมาตรการควบคุมโรค แต่ไม่ทนกรด อย่างไรก็ตามถึงแม้ว่าจะทราบสาเหตุของโรค แต่การควบคุมและป้องกันแบคทีเรียนี้เป็นไปได้ยาก เนื่องจากยังขาดวิธีการตรวจวินิจฉัยเชื้อก่อโรคที่มีความจำเพาะและรวดเร็ว
วิทยาการระบาด
พบในกุ้งกุลาดำ (Penaeus monodon) และกุ้งขาวแวนนาไม (Penaeus vannamei) และ Litopenaeus stylirostris (กุ้งน้ำเงินตะวันตก) เป็นหลัก แต่มีรายงานเพิ่มอีกสามชนิดในทวีปอเมริกา ได้แก่ Farfantepenaeus aztecus, Farfantepenaeus californiensis, และ Litopenaeus setiferus
การป้องกันและควบคุมโรค
ให้มีฆ่าเชื้อโรคทั้งในบ่อและเชื้อที่อาจมากับไข่กุ้ง นอร์เพลียสทั้งของกุ้งและของไรอาร์ทีเมีย รวมถึงต้องมีการพักบ่อระหว่างการเลี้ยงแต่ละครั้ง การเลี้ยงต้องมีการควบคุมสภาพแวดล้อม นอกจากนั้น โรงเพาะควรมีการใช้โปรไบโอติกและใช้ยาต้านจุลชีพเมื่อจำเป็นอีกด้วย ตลอดจนควบคุมการเพิ่มจำนวนของแพลงก์ตอน การให้อาหารในปริมาณที่เหมาะสม การใช้ปูนขาวโรยบ่อ มีการพักบ่อ เป็นต้น
อาจใช้สารกลุ่มโพลีฟีนอล (Polyphenol) ซึ่งเป็นสารสกัดจากพืชธรรมชาติมีสาร Bioactive เป็นส่วนประกอบหลัก สารกลุ่มนี้สามารถควบคุมปริมาณเชื้อแบคทีเรีย Vibrio parahaemolyticus ได้ รวมทั้งมีฤทธิ์ต้านอนุมูลอิสระก็เป็นส่วนส่งเสริมให้เซลล์ของตับและตับอ่อนของกุ้งแข็งแรง และฟื้นตัวได้ดีขึ้น
การป้องกันการเกิดโรคกุ้งตายด่วนเป็นอีกวิธีการหนึ่งที่ลดความเสียหายที่เกิดจากโรคดังกล่าวได้ด้วยวิธีการตรวจลูกกุ้งก่อนปล่อยลงบ่อเลี้ยงและการสุ่มตรวจตลอดทุกช่วงอายุการเลี้ยงกุ้งดังนั้นถ้ามีวิธีที่ตรวจวัดเชื้อก่อโรคได้เร็วและมีประสิทธิภาพสูงจึงมีประโยชน์กับอุตสาหกรรมการเลี้ยงกุ้งเป็นอย่างมาก จากรายงานการวิจัยของ Arunrut et al. 2016 ได้พัฒนาชุดตรวจแบบใหม่ขึ้นโดยอาศัยเทคนิค Loop-mediated isothermal amplification (LAMP) ที่ใช้เพียงเครื่องควบคุมอุณหภูมิ (Heating block) ที่ราคาไม่แพง ร่วมกับการอ่านผลด้วยตาเปล่าโดยใช้ตัวตรวจจับดีเอ็นเอที่ติดฉลากด้วย Gold nanoparticle มาประยุกต์ใช้ในการตรวจหาเชื้อ V. parahaemolyticus ที่เป็นสาเหตุของโรคตับตายเฉียบพลันสาเหตุหนึ่งของโรคกุ้งตายด่วน โดยการออกแบบไพรเมอร์แลมป์ที่จำเพาะต่อ toxin gene ของเชื้อ V. parahaemolyticus ในการตรวจหาเชื้อได้อย่างมีประสิทธิภาพเป็นแนวทางป้องกันและควบคุมโรคกุ้งตายด่วนที่สะดวก ง่าย รวดเร็ว และแม่นยำได้
ในประเทศไทย
อุตสาหกรรมกุ้งของไทยได้รับผลกระทบอย่างรุนแรงจากโรคกุ้งตายด่วน ส่งผลให้ผลผลิตกุ้งลดลงถึง 50% โดยปี 2556 มีผลผลิตลดลงเหลือประมาณ 270,000 ตัน ในขณะที่ภาพรวมของผลกระทบจากการระบาดของโรคกุ้งตายด่วนในอีกหลายประเทศ ทำให้การผลิตกุ้งเลี้ยงของโลกลดลงประมาณ 11% ปัญหาโรคกุ้งตายด่วน สร้างผลกระทบต่ออุตสาหกรรมกุ้งมากทั้งต่อเกษตรกรและอุตสาหกรรมส่งออก ส่งผลให้ผู้นำเข้าเริ่มหากุ้งจากประเทศอื่นทดแทน และผู้เลี้ยงเองไม่มีความมั่นใจในการลงกุ้งเลี้ยง
อ้างอิง
- "สำเนาที่เก็บถาวร" (PDF). คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิม (PDF)เมื่อ 2015-12-16. สืบค้นเมื่อ 2016-01-13.
- "สำเนาที่เก็บถาวร" (PDF). คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิม (PDF)เมื่อ 2015-12-16. สืบค้นเมื่อ 2016-01-13.
- Melba G. Bondad-Reantaso, S. E. McGladdery, I. East & R. P. Subasinghe (บ.ก.). "Chapter 4". Asia Diagnostic Guide to Aquatic Animal Diseases (PDF). FAO Fisheries Technical Paper 402/2, NACA/FAO 2001. ISBN .
{{}}
: CS1 maint: multiple names: editors list () - "สำเนาที่เก็บถาวร". คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2017-03-06. สืบค้นเมื่อ 2016-02-24.
- "สำเนาที่เก็บถาวร". คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2017-03-06. สืบค้นเมื่อ 2016-02-24.
- FAO (2013) Report of the FAO/MARD Technical Workshop on Early Mortality Syndrome (EMS) or Acute Hepatopancreatic Necrosis Syndrome (AHPND) of Cultured Shrimp (under TCP/VIE/3304). Hanoi, Viet Nam, 25–27 June 2013. FAO Fisheries and Aquaculture Report No. 1053. Rome. 54 pp.
- http://www.fisheries.go.th/cf-songkhla/index.php?option=com_content&view=article&id=8:ems
- FAO (2013) Report of the FAO/MARD Technical Workshop on Early Mortality Syndrome (EMS) or Acute Hepatopancreatic Necrosis Syndrome (AHPND) of Cultured Shrimp (under TCP/VIE/3304). Hanoi, Viet Nam, 25–27 June 2013. FAO Fisheries and Aquaculture Report No. 1053. Rome. 54 pp.
- http://www.fisheries.go.th/ems/images/15.05.56/FAO%20Cause%20of%20AHPNS_p.pdf
- http://www.fisheries.go.th/fpo-samutpra/index.php?option=com_weblinks&view=category&id=42&Itemid=128
- http://www.aquathai.org/z27ou-7m.html?§ion=download&file_id=979[]
- https://docs.google.com/file/d/0B2nVWfalCX3NbXgtaF9BbFZScGs/edit
- http://www.aquathai.org/ubpz9egk-3.html?&Page=ArticlePlay&Article=307[]
- http://www.aquathai.org/z27ou-7m.html?§ion=download&file_id=979[]
- http://www.shrimpaqua.com/download/EMS/EMS&Troubleshooting.pdf[]
- Jun, J. W., J. E. Han, et al. "Potential application of bacteriophage pVp-1: Agent combating Vibrio parahaemolyticus strains associated with acute hepatopancreatic necrosis disease (AHPND) in shrimp." Aquaculture.
- Donald V. Lightner, บ.ก. (1996). A Handbook of Shrimp Pathology and Diagnostic Procedures for Disease of Cultured Penaeid Shrimp. Baton Rouge: World Aquaculture Society. ISBN .
- "สำเนาที่เก็บถาวร". คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2017-03-06. สืบค้นเมื่อ 2016-02-24.
- http://www.fisheries.go.th/cf-songkhla/index.php?option=com_content&view=article&id=8:ems
- คู่มือการตรวจและวินิจฉัยโรคในกุ้งทะเล โดย นายสัตวแพทย์ ดร.ทินรัตน์ ศรีสุวรรณ์ ศูนย์วิจัยและชันสูตรโรคสัตว์น้ำ สถาบันสุขภาพสัตว์แห่งชาติ เผยแพร่ใน Thai-NIAH eJournal : ISSN 1905-5048, http://www.dld.go.th/niah เก็บถาวร 2014-01-26 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน, V3 N2 (September – December 2008) หน้า 89 - 121.
- http://www.technologychaoban.com/news_detail.php?tnid=773[]
- http://journals.plos.org/plosone/article?id=10.1371/journal.pone.0151769
- http://www.nstda.or.th/news/17770-biotec-workshops-shrimp-ems-and-analysis-solutions[]
wikipedia, แบบไทย, วิกิพีเดีย, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด, บทความ, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม, มือถือ, โทรศัพท์, Android, iOS, Apple, โทรศัพท์โมบิล, Samsung, iPhone, Xiomi, Xiaomi, Redmi, Honor, Oppo, Nokia, Sonya, MI, PC, พีซี, web, เว็บ, คอมพิวเตอร์
orkhkungtaydwn hruxklumxakartaydwn xngkvs Shrimp Early Mortality Syndrome yx EMS eriykxikchuxhnungwa klumxakartbaelatbxxntayechiybphln xngkvs Acute Hepatopancreatic Necrosis Syndrome yx AHPNS epnorkhrabadsngphlthungtayinkungeliyng sungepnxakarthiphbwaeslltbaelatbxxnkhxngkungmilksnakartayhruxthukthalayxyangrunaerng orkhkungtaydwn EMS hruxklumxakartbaelatbxxntayechiybphln AHPNS erimmikarrabadkhrngaerkinrthethksspi 2528 caknnorkhniaephrrabadipyngfarmkunginthwipxemrikait txmainpi 2552 mikaraephrmayngpraethscin aelakracayxyangrwderwsupraethsewiydnaminpi 2553 inmaelesiypi 2554 aelapraethsithyplaypi 2554 tamladb intnpi 2556 phbwaaebkhthieriythikxihekidorkhnikhux Vibrio parahaemolyticus xtrakartaysungsudphbinkungkhawaewnnaim Penaeus vannamei sungepnkungeliyngthitidinsxngxndbaerkthimikareliyngmakthisud odykungthiekidorkhkungtaydwn EMS hruxklumxakartbaelatbxxntayechiybphln AHPNS caekidphayin 20 30 wnhlngkarplxylukkunglngbx inchwngrayaaerkkunginbxthipwycaimaesdngxakarphidpktixyangednchd immixakarekykhxbbx aetcaerimphbkungtayinyxaelataythiknbx hlngcaknncaphbsakkunglxykhunma kungerimthyxytay aelahakimidrbkarrksakcasngphlkrathbtxkungrayaophsthlawasungcamixtrataythung 90 phayin 30 wn phaphtwxyangkarekidorkhtaydwninkungthiekidphayinesltb caknganwicyphbwaorkhkungtaydwnimmikhwamesiyngtxsukhphaphkhn enuxngcakechux V parahaemolyticus bangsayphnthuthiphbidyakethannthimiyinchnidphiess 2 twsungsamarthkxihekidorkhinrabbthangedinxaharkhxngkhnidaelamiephiyng 1 2 khxngsayphnthukhxngechux V parahaemolyticus thiphbidinthrrmchatithwolkethannthimiyinphiess 2 chnidnixakaraelaxakaraesdngchwngaerkthikungerimpwycayngimaesdngxakarphidpkti aettxma kungcamixakar dngni waynaechuxy esuxngsum kinxaharnxylng sidhruxsikhlaephraathukthalaycakkartidechuxaebkhthieriy tbmisikhawsid enuxngcaksuyesiyemdsiinchnaekhpsulkhxngenuxeyuxekiywphn tbfxlibxyangehnidchd epluxknim laisimmixahar hruxkhadchwng xacmicudhruxesnsidathitb tbehniyw bidwyniwmuxyak cmlngknbxphyathisphaph xakaresuxmsphaphkhxngtbaelatbxxn caerimcak R cell B cell aela F cell intbaelatbxxnmicanwnldlng caknnkaraebngtwkhxngniwekhliysin E cell ktalngechnkn cungthaih R B F cell aela E cell erimthanganphidpktitamladb sngphlihswntnkhxngthxkhxngeslltbaelatbxxnerimmikaresuxmsphaphipcnthungswnplaykhxngthx sungcaphbkhwamphidpktikhxngniwekhliys rwmthungeslltbaelatbxxnhludlxk enuxeyuxbriewntbaelatbxxnmikhwamphidpkti odyerimcak epithelial cell khxngtbaelatbxxnthukthalayxyangrunaerngkhlaykbthuksarphis tbxxnmikarsasmikhmnthnginrupkhxng fat storage cell vesicle aela oil droplet ldtalng karthangankhxngesllthihlngsarmiprasiththiphaphldlngdwy sungkungthimixakartidechuxxyangrunaerngphbwaikhmn esllkhxngtbaelatbxxn aelaesllthithahnathihlngsarthukthalayrunaerngmakyingkhunaelahludsuchxngkhxngthxtb inrayathaykhxngorkhmikartidechuxsa secondary infection xyangrunaerngsungekidkhunodykarchwyoxkaskhxngechux Vibrio parahaemolyticus aelainthisudkungthitidechuxcatay epnphlmacakkarthitbaelatbxxnlmehlwsaehtusaehtuhlkthithaihkungtayepnphlmacaktbaelatbxxnthukthalay enuxngcakkartidechuxaebkhthieriy Vibrio parahaemolyticus epnechuxthisrangsarphiscaxyuechphaathi localized infection phbinkraephaaxahar emuxtbaelatbxxnkhxngkungthukthalaycungcaphbechuxaebkhthieriythibriewntbaelatbxxnepncanwnmak pccythimiphltxkarephimcanwnkhxngechux Vibrio parahaemolyticus idaek nathimixxksiecnta sarxinthriysung karhmkhmmkhxngxupkrn xaharkungtkkhanginbx aelaesstakxnxinthriykhngkhang sungechuxkxorkhcachxbnathimixunhphumisung ekin 29 C aelamiradbkhwamekhmsung kwa 20 38 ppt karhlikeliyngphawaehlaniinbxeliyngcungmikhwamsakhytxmatrkarkhwbkhumorkh aetimthnkrd xyangirktamthungaemwacathrabsaehtukhxngorkh aetkarkhwbkhumaelapxngknaebkhthieriyniepnipidyak enuxngcakyngkhadwithikartrwcwinicchyechuxkxorkhthimikhwamcaephaaaelarwderwwithyakarrabadphbinkungkulada Penaeus monodon aelakungkhawaewnnaim Penaeus vannamei aela Litopenaeus stylirostris kungnaengintawntk epnhlk aetmiraynganephimxiksamchnidinthwipxemrika idaek Farfantepenaeus aztecus Farfantepenaeus californiensis aela Litopenaeus setiferuskarpxngknaelakhwbkhumorkhihmikhaechuxorkhthnginbxaelaechuxthixacmakbikhkung nxrephliysthngkhxngkungaelakhxngirxarthiemiy rwmthungtxngmikarphkbxrahwangkareliyngaetlakhrng kareliyngtxngmikarkhwbkhumsphaphaewdlxm nxkcaknn orngephaakhwrmikarichopriboxtikaelaichyatanculchiphemuxcaepnxikdwy tlxdcnkhwbkhumkarephimcanwnkhxngaephlngktxn karihxaharinprimanthiehmaasm karichpunkhaworybx mikarphkbx epntn xacichsarklumophlifinxl Polyphenol sungepnsarskdcakphuchthrrmchatimisar Bioactive epnswnprakxbhlk sarklumnisamarthkhwbkhumprimanechuxaebkhthieriy Vibrio parahaemolyticus id rwmthngmivththitanxnumulxisrakepnswnsngesrimihesllkhxngtbaelatbxxnkhxngkungaekhngaerng aelafuntwiddikhun karpxngknkarekidorkhkungtaydwnepnxikwithikarhnungthildkhwamesiyhaythiekidcakorkhdngklawiddwywithikartrwclukkungkxnplxylngbxeliyngaelakarsumtrwctlxdthukchwngxayukareliyngkungdngnnthamiwithithitrwcwdechuxkxorkhiderwaelamiprasiththiphaphsungcungmipraoychnkbxutsahkrrmkareliyngkungepnxyangmak cakrayngankarwicykhxng Arunrut et al 2016 idphthnachudtrwcaebbihmkhunodyxasyethkhnikh Loop mediated isothermal amplification LAMP thiichephiyngekhruxngkhwbkhumxunhphumi Heating block thirakhaimaephng rwmkbkarxanphldwytaeplaodyichtwtrwccbdiexnexthitidchlakdwy Gold nanoparticle maprayuktichinkartrwchaechux V parahaemolyticus thiepnsaehtukhxngorkhtbtayechiybphlnsaehtuhnungkhxngorkhkungtaydwn odykarxxkaebbiphremxraelmpthicaephaatx toxin gene khxngechux V parahaemolyticus inkartrwchaechuxidxyangmiprasiththiphaphepnaenwthangpxngknaelakhwbkhumorkhkungtaydwnthisadwk ngay rwderw aelaaemnyaidinpraethsithyxutsahkrrmkungkhxngithyidrbphlkrathbxyangrunaerngcakorkhkungtaydwn sngphlihphlphlitkungldlngthung 50 odypi 2556 miphlphlitldlngehluxpraman 270 000 tn inkhnathiphaphrwmkhxngphlkrathbcakkarrabadkhxngorkhkungtaydwninxikhlaypraeths thaihkarphlitkungeliyngkhxngolkldlngpraman 11 pyhaorkhkungtaydwn srangphlkrathbtxxutsahkrrmkungmakthngtxekstrkraelaxutsahkrrmsngxxk sngphlihphunaekhaerimhakungcakpraethsxunthdaethn aelaphueliyngexngimmikhwammnicinkarlngkungeliyngxangxing saenathiekbthawr PDF khlngkhxmulekaekbcakaehlngedim PDF emux 2015 12 16 subkhnemux 2016 01 13 saenathiekbthawr PDF khlngkhxmulekaekbcakaehlngedim PDF emux 2015 12 16 subkhnemux 2016 01 13 Melba G Bondad Reantaso S E McGladdery I East amp R P Subasinghe b k Chapter 4 Asia Diagnostic Guide to Aquatic Animal Diseases PDF FAO Fisheries Technical Paper 402 2 NACA FAO 2001 ISBN 92 5 104620 4 a href wiki E0 B9 81 E0 B8 A1 E0 B9 88 E0 B9 81 E0 B8 9A E0 B8 9A Cite book title aemaebb Cite book cite book a CS1 maint multiple names editors list saenathiekbthawr khlngkhxmulekaekbcakaehlngedimemux 2017 03 06 subkhnemux 2016 02 24 saenathiekbthawr khlngkhxmulekaekbcakaehlngedimemux 2017 03 06 subkhnemux 2016 02 24 FAO 2013 Report of the FAO MARD Technical Workshop on Early Mortality Syndrome EMS or Acute Hepatopancreatic Necrosis Syndrome AHPND of Cultured Shrimp under TCP VIE 3304 Hanoi Viet Nam 25 27 June 2013 FAO Fisheries and Aquaculture Report No 1053 Rome 54 pp http www fisheries go th cf songkhla index php option com content amp view article amp id 8 ems FAO 2013 Report of the FAO MARD Technical Workshop on Early Mortality Syndrome EMS or Acute Hepatopancreatic Necrosis Syndrome AHPND of Cultured Shrimp under TCP VIE 3304 Hanoi Viet Nam 25 27 June 2013 FAO Fisheries and Aquaculture Report No 1053 Rome 54 pp http www fisheries go th ems images 15 05 56 FAO 20Cause 20of 20AHPNS p pdf http www fisheries go th fpo samutpra index php option com weblinks amp view category amp id 42 amp Itemid 128 http www aquathai org z27ou 7m html amp section download amp file id 979 lingkesiy https docs google com file d 0B2nVWfalCX3NbXgtaF9BbFZScGs edit http www aquathai org ubpz9egk 3 html amp Page ArticlePlay amp Article 307 lingkesiy http www aquathai org z27ou 7m html amp section download amp file id 979 lingkesiy http www shrimpaqua com download EMS EMS amp Troubleshooting pdf lingkesiy Jun J W J E Han et al Potential application of bacteriophage pVp 1 Agent combating Vibrio parahaemolyticus strains associated with acute hepatopancreatic necrosis disease AHPND in shrimp Aquaculture Donald V Lightner b k 1996 A Handbook of Shrimp Pathology and Diagnostic Procedures for Disease of Cultured Penaeid Shrimp Baton Rouge World Aquaculture Society ISBN 0 9624529 9 8 saenathiekbthawr khlngkhxmulekaekbcakaehlngedimemux 2017 03 06 subkhnemux 2016 02 24 http www fisheries go th cf songkhla index php option com content amp view article amp id 8 ems khumuxkartrwcaelawinicchyorkhinkungthael ody naystwaephthy dr thinrtn srisuwrrn sunywicyaelachnsutrorkhstwna sthabnsukhphaphstwaehngchati ephyaephrin Thai NIAH eJournal ISSN 1905 5048 http www dld go th niah ekbthawr 2014 01 26 thi ewyaebkaemchchin V3 N2 September December 2008 hna 89 121 http www technologychaoban com news detail php tnid 773 lingkesiy http journals plos org plosone article id 10 1371 journal pone 0151769 http www nstda or th news 17770 biotec workshops shrimp ems and analysis solutions lingkesiy