กุ้งกุลาดำ | |
---|---|
การจำแนกชั้นทางวิทยาศาสตร์ | |
อาณาจักร: | Animalia |
ไฟลัม: | Arthropoda |
ไฟลัมย่อย: | Crustacea |
ชั้น: | |
อันดับ: | Decapoda |
อันดับย่อย: | Dendrobranchiata |
วงศ์: | Penaeidae |
สกุล: | |
สปีชีส์: | P. monodon |
ชื่อทวินาม | |
Penaeus monodon , 1798 | |
ชื่อพ้อง | |
|
กุ้งกุลาดำ หรือ กุ้งม้าลาย (อังกฤษ: Tiger prawn; ชื่อวิทยาศาสตร์: Penaeus monodon) เป็นกุ้งทะเล ขนาดประมาณ 18 - 25 เซนติเมตร มีขนาดใหญ่ที่สุดในวงศ์ Penaeidae อาศัยอยู่ในเขตร้อน มีชื่อทางวิทยาศาสตร์แตกต่างกันหลายชื่อตามนักวิทยาศาสตร์ที่ค้นพบ แต่ที่เป็นที่ยอมรับกันทั่วไป คือ Penaeus monodon Frabricius และมีชื่อภาษาอังกฤษที่องค์การอาหารและเกษตรแห่งสหประชาชาติ (FAO) ใช้อยู่คือ Giant Tiger Prawn ชอบอาศัยอยู่ในบริเวณน้ำลึก ห่างออกจากฝั่งและชอบพื้นทะเลที่เป็นดินทราย สามารถเจริญเติบโตได้อย่างรวดเร็ว ทนอยู่ในน้ำที่มีอุณหภูมิสูงและความเค็มต่ำ เช่น บริเวณป่าชายเลนได้ดี และหาอาหารจำพวกแพลงก์ตอน, ,
ลักษณะทั่วไป
กุ้งกุลาดำมีหนวดลายจางมากไม่เด่นชัด แก้มอยู่ในแนวระนาบ และสันที่อยู่สองข้างโคนกรี ยาวเกือบถึงฟันกรีอันหลังสุด ซึ่งมีสันแนวข้างเฉียงชี้ไปทางนัยน์ตา นอกจากนี้มีลักษณะอื่น ๆ ที่เด่นชัดคือ ลำตัวสีแดงอมน้ำตาลถึงน้ำตาลเข้ม เป็นเปลือกเกลี้ยงไม่มีขน มีลายพาดขวางด้านหลังประมาณ 9 ลาย และสีออกน้ำตาลเข้มข้างแถบสีขาว ด้านบนของกรีมีฟัน 6-8 ซี่ ด้านล่างมี 2-4 ซี่ ขอบปลายหางและขาว่ายน้ำมีขนสีแดง และมีขนาดตัวประมาณ 18 - 25 เซนติเมตร สันกรียาวเกือบถึงคาราเปสมีสันตับ (Hepatic Crest) ยาวตรงขนานไปกับลำตัว หนวดยาวสีดำไม่มีลายชัดเจน ขาเดินมีสีแดงปนดำ ขาว่ายน้ำมีสีน้ำตาลปนน้ำเงิน โคนสีขาว ขาเดินคู่ที่ห้าไม่มี exopod
มี ลักษณะสำคัญในการจำแนกชนิด ดังนี้ 1. ลำตัว มีแถบสีพาดขวาง แบ่งเป็นข้อปล้องชัดเจน สันที่ส่วนหลังของกรี (Postrostral Ridge) ไม่มีร่องกลาง สันที่เฮพพาติดยาวโค้ง
2. สี ขณะที่มีชีวิต กุ้งกุลาดำโตเต็มวัย ลำตัวสีเข้ม (น้ำตาลเข้ม) ส่วนของเปลือกคลุมหัวและลำตัวด้านบน มีแถบสีอ่อนพาดขวางสลับกับแถบสีน้ำตาลเข้มเกือบดำตลอดตัว ส่วนที่เหลือสีน้ำตาลอ่อนสลับกัน ในวัยรุ่นหรือยังไม่โตเต็มที่อาจเป็นสีฟ้าอมน้ำเงิน หรือมีลายขวางตลอดลำตัว
3. การแพร่กระจาย กุ้งกุลาดำพบแพร่กระจายทั่วไปในเขต Indo-west Pacific ตะวันออกและตะวันออกเฉียงใต้ของทวีปแอฟริกา ประเทศอินเดีย ประเทศปากีสถานถึงประเทศญี่ปุ่น หมู่เกาะมาเลเซีย ประเทศอินโดนีเซีย นิวกีนีถึงตอนเหนือของออสเตรเลีย ออสเตรเลียถึงตอนเหนือของอ่าวมอริตัน ประเทศ ควีนสแลนด์ และประเทศไทย
4. ที่อยู่อาศัย (Habitat) กุ้งกุลาดำโตเต็มวัยชอบอาศัยพื้นดินโคลน โคลนปนทรายในทะเลลึก วัยอ่อนเป็นแพลงก์ตอนว่ายน้ำได้อย่างอิสระ วัยรุ่นเคลื่อนย้ายเข้าสู่ชายฝั่งเพื่อเลี้ยงตัว และเดินทางกลับสู่ทะเลเมื่อโตเต็มวัย เพื่อผสมพันธุ์
5. ขนาด กุ้งกุลาดำ เป็นกุ้งที่มีขนาดโตมากที่สุดยาวถึง 36.3 เซนติเมตร (363 มิลลิเมตร) จึงได้สมญานาม จัมโบ้ หรือ ไทเกอร์ ตามปรกติกุ้งเพศเมียจะมีขนาดใหญ่กว่าเพศผู้
ถิ่นอาศัย
กุ้งกุลาดำอาศัยอยู่ทั่วไปในทวีปเอเชีย ในประเทศไทยพบแพร่กระจายทั่วไปในอ่าวไทย แต่จะพบมากบริเวณเกาะช้าง บริเวณนอกฝั่งจังหวัดชุมพรถึงจังหวัดนครศรีธรรมราชและทางฝั่งมหาสมุทรอินเดีย (ทะเลอันดามัน) บริเวณนอกฝั่งของจังหวัดภูเก็ต และจังหวัดระนอง ชอบอาศัยอยู่ในบริเวณที่มีพื้นดินเป็นทรายปนโคลน ส่วนแหล่งกำเนิดดั้งเดิมอยู่ในทะเลแถบอินโดแปซิกฟิกตะวันตก อัฟริกาตะวันออกและตะวันตกเฉียงใต้ และคาบสมุทรอินเดีย ลักษณะของกุ้งกุลาดำวัยรุ่นอาศัยตามปากแม่น้ำ และเมื่อเต็มวัยชอบอาศัยในทะเลที่มีพื้นที่มีโคลนปนทราย ระดับความลึกไม่เกิน 110 เมตร กุ้งกุลาดำชอบฝังตัวในเวลากลางวันและหากินในเวลาคืน วางไข่ได้ตลอดทั้งปี แต่วางไข่ชุกชุมระหว่างเดือนพฤษภาคมถึงเดือนธันวาคม ในแถบน้ำกร่อยกินอาหารได้ทั้งพืชและสัตว์มีความแข็งแรงและทนทาน
ประโยชน์
เพาะเลี้ยงกันแพร่หลายในประเทศของเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ใช้บริโภคในประเทศ และส่งไปจำหน่ายต่างประเทศ
การสืบพันธุ์ การคัดพันธุ์ และพันธุศาสตร์ของกุ้ง
กุ้งมีอวัยวะเพศภายนอกมองเห็นได้ชัดเจน และสามารถใช้ลักษณะความแตกต่างของอวัยวะเพศในการจำแนกชนิดได้ อวัยวะเพศผู้ เรียก พีแตสม่า (Ptasma) เกิดจากการเปลี่ยนแขนงอันในของขาว่ายน้ำคู่แรก ทั้ง 2 ข้างเชื่อมติดกัน เพื่อทำหน้าที่เป็นอวัยวะเพศผู้ อวัยวะเพศเมียเรียกทีไลคัม (Phelycum) เกิดจากการเปลี่ยนผนังด้านท้อง (Sternal Plate) ของระยางค์ส่วนอกปล้องที่ 7 และ 8 หรือตรงกับขาเดินคู่ที่ 4 ถึง 5 พัฒนาเป็นถุงสำหรับรับน้ำเชื้อ วัยเจริญพันธุ์ (Maturation) หมายถึง รังไข่หรืออวัยวะที่ใช้ในการผสมพันธุ์พัฒนาเต็มที่ในการผลิตไข่ (Egg) หรือน้ำเชื้อ (Sperm) พร้อมที่จะผสมพันธุ์ โดยใช้อวัยวะภายนอกในพวก "Penaeids" เพศผู้ (Petasma) และเพศเมีย (Thelycum) เมื่อลอกคราบเพื่อเข้าสู่วัยเจริญพันธุ์อวัยวะเพศทั้ง 2 เพศ เจริญดีแล้วการผสมพันธุ์จะเกิดขึ้นภายหลังจากตัวเมียลอกคราบใหม่
ในการคัดพันธุ์กุ้ง แม้ว่าการทำ Individual Selection หรือ Mass Selection จะทำได้ง่าย ต้นทุนต่ำ ทดสอบและบันทึกผลได้ง่าย แต่การคัดพันธุ์แบบนี้ไม่สามารถหา "Interval" ระหว่าง Generation ได้ จึงควรใช้วิธีการคัดพันธุ์แบบ Family Selection ควบคู่ไปกับการทดสอบ Progeny อย่างต่อเนื่องทั้งแบบ Full Sib และ Half Sib
ในการศึกษาพันธุศาสตร์ประชากรกุ้ง กระทำโดยมีวัตถุประสงค์เพื่อจำแนกกลุ่มประชาการตามความถี่ของยีน (Gene Frequency) และมีการเปลี่ยน แปลงความถี่เนื่องจากสาเหตุต่าง ๆ ข้อมูลที่ได้เหล่านี้สามารถนำไปใช้ประโยชน์อย่างกว้างขวาง เช่น การจัดการเพื่อการอนุรักษ์ การปรับปรุงพันธุ์ การศึกษาอนุกรมวิธานและวิวัฒนาการ เป็นต้น เนื่องจากกุ้งกุลาดำ ได้มีการเพาะเลี้ยงกันอย่างแพร่หลาย โดยพันธุ์กุ้งที่ใช้ในการเลี้ยงทั้งหมดได้จากการจับพ่อแม่พันธุ์จากธรรมชาติ ขึ้นมาเพาะพันธุ์ ซึ่งมีการจับพ่อแม่พันธ์ปีละประมาณ 5 ถึง 6 แสนตัว ทำให้ประชากรกุ้งกุลาดำในธรรมชาติลดลง ความหลากหลายทางพันธุกรรมในธรรมชาติก็ลดลงด้วย นอกจากนี้การหลุดรอดของพันธุ์กุ้งที่เกิดจากการเพาะเลี้ยงลงไปในธรรมชาติ ปะปนกับประชากรดั้งเดิม มีผลทำให้ความหลากหลายทางพันธุกรรมลดลงเช่นกัน การศึกษาพันธุศาสตร์ประชากรกุ้งกุลาดำจะทำให้ทราบว่ากุ้งกุลาดำในธรรมชาติ แต่ละแหล่งประกอบด้วยประชากรที่กลุ่มเพื่อนำข้อมูลที่ได้ไปใช้ในการจัดการ ผสมพันธุ์ป้องกันการผสมเลือดชิด และใช้เป็นข้อมูลพื้นฐานในการคัดเลือกพ่อแม่พันธุ์สำหรับการสร้าง Domesticated Broodstock ต่อไป
ตลาดกุ้ง
ตลาดกุ้งกุลาดำในปัจจุบันเป็นตลาดที่นับว่าดีมาก เนื่องจากความต้องการของทั้งตลาดภายในประเทศและภายนอกประเทศมีมาก ประกอบกับผลผลิตที่น้อยลง ทำให้ราคากุ้งกุลาดำมีราคาค่อนข้างสูง ตลาดกุ้งที่สำคัญได้แก่ 1. ห้องเย็น เป็นตลาดที่ต้องการกุ้งทะเลที่มีขนาดใหญ่เป็นจำนวนมาก เพื่อส่งออกไปยังต่างประเทศ เช่น สหรัฐอเมริกา ญี่ปุ่นและกลุ่มประเทศในยุโรป 2. สะพานปลา เป็นตลาดกุ้งภายในประเทศ โดยใช้วิธีประมูลราคาซึ่งราคากุ้งจะขึ้นอยู่กับปริมาณกุ้งที่เข้ามาในแต่ละวัน นอกจากตลาดทั้ง 2 แห่งแล้วยังมีภัตตาคารหรือห้องอาหารที่ต้องการกุ้งเป็น ๆ โดยจะออกรับซื้อตามปากบ่อ ซึ่งจะให้ราคาสูงแต่ปริมาณความต้องการไม่มากนักและไม่แน่นอนในแต่ละวัน
การเลี้ยงกุ้งกุลาดำ
การเลือกสถานที่ การเลือกสถานที่นับว่าเป็นปัจจัยที่สำคัญเป็นอันดับหนึ่งที่จะช่วยส่งเสริมความสำเร็จ ประกอบด้วยปัจจัยหลายประการซึ่งเป็นองค์ประกอบในการตัดสินว่าพื้นที่ใดเหมาะสมต่อการเลี้ยงกุ้งกุลาดำ ทั้งยังเป็นส่วนช่วยในการเพิ่มมาตรการป้องกันความเสียหายในการเลี้ยงกุ้งกุลาดำ ปัจจัยซึ่งจะช่วยพิจารณามีดังนี้
1.คุณภาพดิน โดยบ่อกุ้งกุลาดำที่ดีควรจะเป็นดินปนทรายและมีสภาพความเป็นกรดเป็นด่าง (pH) อยู่ระหว่าง 6.5-8.5 มีคุณสมบัติกักเก็บน้ำได้ดี และคันดินไม่พังทลายง่าย
2.คุณภาพน้ำ แหล่งน้ำที่ใช้ในการเลี้ยงควรมีคุณภาพดี สะอาด ปราศจากสารเคมี สารพิษ ของเสียจากโรงงานอุตสาหกรรม และแหล่งชุมชน ยาฆ่าแมลง และของเสียจากโรงเลี้ยงสัตว์อื่น ๆ ซึ่งมีสารอินทรีย์เน่าเปื่อยจากพืชและสัตว์ ซึ่งจะทำให้ออกซิเจนซึ่งจำเป็นต่อการหายใจในน้ำลดต่ำลง กลายเป็นแหล่งเพาะเชื้อที่ไม่ต้องการอีกด้วย แหล่งน้ำที่ใช้ควรมีปริมาณเพียงพอต่อการสูบใช้ตลอดทั้งปีและมีความเค็มที่สม่ำเสมอ โดยเฉพาะพื้นที่ที่มีการส่งน้ำเข้าบ่อเลี้ยงได้โดยไม่ต้องสูบน้ำจะช่วยลดค่าใช้จ่ายได้เป็นอย่างดี
3.แหล่งพันธุ์กุ้ง พื้นที่เลี้ยงควรอยู่ใกล้หรือไม่ห่างจากแหล่งพันธุ์กุ้งกุลาดำ ทำให้สะดวกในการจัดหาลูกพันธุ์และการลำเลียงขนส่งซึ่งจะส่งผลดีต่อสุขภาพของลูกกุ้งด้วย
4.สาธารณูปโภค หรือ สิ่งอำนวยความสะดวกหลายอย่างที่จำเป็นอย่างมากต่อการเลี้ยงเพื่อให้ได้ผลผลิตที่ดี เช่น ถนน ไฟฟ้า เพื่อสะดวกในการขนส่งอาหาร ผลผลิต การเตรียมอาหารหรือการเพิ่มออกซิเจนในบ่อเลี้ยงโดยการใช้เครื่องตีน้ำ
5.ตลาด ในปัจจุบันมีพ่อค้ามารับซื้อกุ้งกุลาดำถึงปากบ่ออยู่มากพอสมควร หรือทำการติดต่อห้องเย็นให้มาซื้อกุ้ง
การเตรียมบ่อเลี้ยงกุ้งกุลาดำ 1. บ่อเลี้ยงที่ขุดใหม่ สิ่งที่ควรคำนึงถึงคือ ความลาดชันของบ่อ บ่อที่มีความลาดชันมากจะเกิดปัญหามากกว่าบ่อที่มีความลาดชันน้อยเนื่องจากส่วนที่มีความลาดชันมาก ๆ มีพื้นที่บ่อที่รับแสงมาก จะทำให้เกิดขี้แดดและตะไคร่น้ำอย่างรวดเร็วจึงก่อให้เกิดปัญหาพื้นบ่อเสื่อมโทรมได้เร็วกว่าบ่อที่มีความลาดชันน้อย
ตรวจความเป็นกรด-ด่างของดิน พื้นบ่อที่มีความลึก 30-50 ซม.ถ้ามีค่าความเป็นกรด-ด่างต่ำกว่า 8.0 ให้โรยปูนมาร์ล 50 กิโลกรัมต่อไร่ ตากไว้ให้แห้งประมาณ 1 สัปดาห์ หลังจากนั้นจะล้างบ่อหรือไม่ล้างก็ได้ แล้วจึงปล่อยน้ำจากบ่อพักเข้ามาในบ่อเลี้ยงที่สอง บ่อเก่าหรือบ่อที่ผ่านการเลี้ยงมาแล้ว สำหรับบ่อเก่าซึ่งมีสภาพเสื่อมโทรมอยู่บ้างถ้าผู้เลี้ยงไม่พิถีพิถันในการเตรียมบ่ออาจเกิดปัญหาอยู่บ้าง ดังนั้นหลังจากการจับกุ้งแล้วต้องปรับสภาพพื้นบ่อให้ดีเสียก่อนด้วยการดูด หรือฉีดเลนบริเวณก้นบ่อทิ้งแล้วตากให้แห้ง จากนั้นจึงใช้รถไถหน้าดินออกอีกครั้งหนึ่งและโรยปูนมาร์ล 80-100 กิโลกรัมต่อไร่ ตากให้แห้งประมาณ 2-3 สัปดาห์ การตากบ่อมีความจำเป็นสำหรับบ่อที่ใช้มาแล้วหลายครั้ง เพื่อเป็นการกำจัดแอมโมเนียและไฮโดรเจนซัลไฟด์ที่หมักหมมอยู่ในดินแล้วล้างบ่อด้วยน้ำจากบ่อพักน้ำผ่านอวนตาถี่อีกครั้งหนึ่ง แล้วจึงทำการกักเก็บน้ำสำหรับเลี้ยงต่อไป การกำจัดศัตรูในบ่อเลี้ยง ในกรณีที่บ่อไม่สามารถตากให้แห้งได้อาจเป็นเพราะบ่อมีการรั่วซึมจะใช้กากชาโรยบริเวณที่มีน้ำขังอยู่ในปริมาณ 20 กิโลกรัมต่อไร่ ทิ้งไว้ 24 ชั่วโมง จึงใช้ไดรโว่หรือท่อพญานาคดูดน้ำบริเวณนั้นทิ้ง ไม่จำเป็นต้องล้างบ่ออีกตะแกรงที่ประตูน้ำควรใช้ตาถี่มาก ๆ ขนาด 500-600 ไมครอน หรืออาจใช้มุ้งไนลอนเขียวอย่างดี 2 ถึง 3 ชิ้น ถ้าใช้เครื่องสูบน้ำแบบท่อพญานาคจะใช้ถุงอวนทำด้วยมุ้งเขียวที่ปลายอีกชั้นเพื่อป้องกันศัตรูกุ้งที่อาจเข้ามากับน้ำ การเตรียมน้ำในบ่อเลี้ยง น้ำในบ่อเลี้ยงควรมีความลึกประมาณ 1-1.5 เมตร เพื่อช่วยชะลอการเปลี่ยนแปลงของความเค็มและอุณหภูมิ เพราะในช่วงที่มีการเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิมาก ๆ หากอุณหภูมิสูงเกินไปในช่วงที่ร้อนจัด กุ้งจะเกิดอาการงอตัวและการเกร็งของกล้ามเนื้อทำให้ช็อคตายในที่สุด อีกทั้งระดับน้ำต่ำมาก ๆ แสงแดดสามารถส่องไปถึงพื้นก้นบ่อจึงเกิดการบลูมของแพลงก์ตอนพืชอย่างรวดเร็ว แพลงก์ตอนเหล่านี้จะแย่งใช้ออกซิเจนไปจากบ่อเลี้ยงกุ้งในช่วงกลางคืนเกิดเป็นตะไคร่น้ำและขี้แดดในเวลากลางวันและในที่สุดเมื่อแพลงก์ตอนตายลงจะเกิดการสลายตัวทำให้พื้นบ่อเน่าเสียเกิดก๊าซไฮโดรเจนซัลไฟด์ อันเป็นผลเสียต่อกุ้ง ดังนั้นระดับน้ำที่เหมาะสมสำหรับการเลี้ยงกุ้งแบบหนาแน่นควรให้ระดับน้ำสูงอย่างน้อย 1.50 เมตร และควรมีเครื่องสูบน้ำแบบท่อพญานาคขนาดเส้นผ่าศูนย์กลาง 16-24 นิ้ว ในอัตรา 1 เครื่องต่อ 2 บ่อ สำหรับช่วยเพิ่มระดับน้ำในบ่อเลี้ยงได้รวดเร็วทันกับความต้องการ
การคัดเลือกพันธุ์ลูกกุ้งกุลาดำ
ข้อควรพิจารณาในการเลือกซื้อลูกพันธุ์กุ้งกุลาดำ 1. เลือกจากโรงเพาะฟักที่เชื่อถือได้ ถ้ามีโอกาสควรไปดูโรงเพาะฟักแห่งนั้น ดูการจัดการ วิธีการมาตรฐานในการผลิต สิ่งเหล่านี้จะช่วยในการตัดสินใจเพราะถ้าแหล่งผลิตลูกกุ้งทำถูกต้องตามหลักวิชาการ มีการควบคุมคุณภาพทำให้มาตรฐานการผลิตสูง จะทำให้เราแน่ใจว่าลูกกุ้งที่ได้นั้นแข็งแรงและปลอดโรค 2. พิจารณาสภาพของลูกกุ้ง ปกติผู้เลี้ยงที่มีประสบการณ์จะมารถบอกถึงความแข็งแรงหรือสมบูรณ์ของลูกกุ้งได้ ในกรณีที่ไม่คุ้นเคยอาจใช้หลักต่อไปนี้ในการพิจารณาซึ่ง ลูกกุ้งที่แข็งแรงควรจะมีลักษณะดังนี้ ลำตัวโปร่งใส ว่ายทวนกระแสน้ำ ลักษณะภายนอกต้องปกติสมบูรณ์
การจัดการคุณภาพน้ำในบ่อเลี้ยงกุ้ง ปัญหาที่เกิดขึ้นในการเลี้ยงกุ้งกุลาดำในปัจจุบันได้แก่ ปัญหาที่เกี่ยวข้องกับคุณภาพน้ำที่แย่ลง เนื่องจากมลภาวะต่าง ๆ ที่มาจากการเลี้ยงอย่างหนาแน่นและการปล่อยของเสียต่าง ๆ ลงสู่แหล่งน้ำมากเกินไป ทำให้เกิดการหมักหมมในแม่น้ำลำคลอง และบริเวณปากแม่น้ำหรือตามแนวชายฝั่งทะเลจนถึงระดับที่การเลี้ยงในหลาย ๆ พื้นที่ต้องมีความเสี่ยงต่อกุ้งเป็นโรคตายสูงมาก การจัดการเรื่องคุณภาพน้ำในบ่อเลี้ยงมีความสำคัญมาก ผู้เลี้ยงต้องมีความรู้ความเข้าใจถึงการเปลี่ยนแปลงต่าง ๆ ตลอดจนแนวทางการในการป้องกันและแก้ไข เพื่อลดปัญหาต่าง ๆ ที่อาจมีผลต่อสุขภาพของกุ้ง คุณสมบัติของน้ำที่มีความสำคัญในการเลี้ยงกุ้งกุลาดำมีดังนี้
1. ความเค็ม กุ้งกุลาดำเป็นกุ้งที่สามารถทนต่อการเปลี่ยนแปลงของความเค็มได้ในช่วงกว้าง และถ้าความเค็มเปลี่ยนแปลงอย่างช้า ๆ สามารถปรับตัวอยู่ที่ความเค็มเกือบศูนย์เป็นเวลานานพอสมควรหรือความเค็มที่เพิ่มขึ้นจนถึง 45 ppt. แต่ความเค็มที่เหมาะสมอยู่ระหว่าง 10-15 ppt.
2. ความเป็นกรดเป็นด่าง (pH) pH ของน้ำมีความสำคัญต่อการดำรงชีวิตของกุ้งกุลาดำมาก เนื่องจาก pH ของน้ำนั้นมีผลต่อคุณสมบัติของน้ำตัวอื่น ๆ เช่นความเป็นพิษของแอมโมเนียและไฮโดรเจนซัลไฟด์ เป็นต้น pH ที่เหมาะสมแก่การเลี้ยงกุ้งควรอยู่ระหว่าง 7.5-8.5 แต่การเจริญเติบโตที่ดีที่สุดในบ่อจะอยู่ที่ pH ของน้ำระหว่าง 8.0-8.5 การเปลี่ยนแปลง pH ของน้ำในบ่อขึ้นอยู่กับปัจจัยหลาย ๆ อย่าง เช่น คุณสมบัติของดิน ค่าความเป็นด่างของน้ำ การผลิตและการใช้คาร์บอนไดออกไซด์ในน้ำซึ่งส่วนใหญ่จะขึ้นอยู่กับปริมาณแพลงก์ตอนพืช
3. ปริมาณออกซิเจนที่ละลายในน้ำ ปริมาณออกซิเจนที่ละลายในน้ำมีผลต่อการกินอาหาร การเจริญเติบโตและสุขภาพของกุ้ง ถ้าปริมาณออกซิเจนต่ำเกินไปอาจมีผลทำให้กุ้งตายได้ ปริมาณออกซิเจนที่ละลายในบ่อเลี้ยงจะเปลี่ยนแปลงคล้ายกับ pH คือ มีค่าต่ำสุดในตอนเช้ามืดเนื่องจากการใช้ไปในการย่อยสลายสารอินทรีย์โดยจุลินทรีย์ในบ่อ และการหายใจของสิ่งมีชีวิตในบ่อ หลังจากนั้นแพลงก์ตอนพืชเริ่มมีการสังเคราะห์แสงปริมาณออกซิเจนจะเพิ่มขึ้นและสูงสุดในตอนบ่าย ความสามารถในการละลายของออกซิเจนในน้ำขึ้นอยู่กับอุณหภูมิและความเค็มของน้ำ โดยที่น้ำที่มีความเค็มและอุณหภูมิเพิ่มขึ้นออกซิเจนจะละลายน้ำได้น้อยลง ปริมาณออกซิเจนที่เหมาะสมควรอยู่ระหว่าง 4 ppm. จนถึงจุดอิ่มตัว
4. แอมโมเนียและไนไตรท์ ในบ่อเลี้ยงกุ้งกุลาดำแบบพัฒนานั้นจะมีปริมาณของสารประกอบไนโตรเจนที่ก้นบ่อเป็นจำนวนมาก ซึ่งอาจเกิดจากขบวนการย่อยสลายสารอินทรีย์โดยจุลินทรีย์ที่ก้นบ่อแล้วปล่อยแอมโมเนียออกมา นอกจากนั้นสัตว์น้ำยังปล่อยของเสียออกมาในรูปของแอมดมเนียสู่แหล่งน้ำโดยตรง ในสภาวะที่มีออกซิเจนแบคทีเรียจำพวก nitrifying bacteria จะเปลี่ยนแอมโมเนียเป็นไนไตรท์และไนเตรท ตามลำดับ แอมโมเนีย เป็นสารประกอบไนโตรเจนที่เป็นพิษต่อสัตว์น้ำ แอมโมเนียที่พบอยู่ในน้ำจะอยู่ใน 2 รูปแบบ คือ แอมโมเนียซึ่งเป็นพิษต่อสัตว์น้ำ และแอมโมเนียมอิออนซึ่งไม่เป็นพิษต่อสัตว์น้ำ ในการวัดแอมโมเนียโดยทั่วไปจะวัดรวมทั้งสองรูปแบบ แอมโมเนียทั้งสองรูปแบบนี้จะเปลี่ยนกลับไปมาตาม pH และอุณหภูมิของน้ำ โดยเฉพาะถ้า pH สูงขี้นอัตราส่วนของแอมโมเนียที่เป็นพิษจะสูงขึ้น ทำให้ความเป็นพิษต่อสัตว์น้ำจะมากขึ้นด้วย ซึ่งในบ่อเลี้ยงกุ้งกุลาดำปริมาณแอมโมเนียในรูปที่เป็นพิษไม่ควรเกิน 0.1 ppm.
5.ไฮโดรเจนซัลไฟด์ การเกิดไฮโดรเจนซัลไฟด์ เนื่องจากในสภาพก้นบ่อที่ขาดออกซิเจนจะทำให้แบคทีเรียบางชนิดที่สามารถใช้กำมะถันในการย่อยสลายสารอินทรีย์ได้ ย่อยสลายสารอินทรีย์บริเวณพื้นบ่อได้เป็นสารประกอบซัลไฟด์ :ซึ่งสารประกอบซัลไฟด์ที่อยู่ในรูปของ H2S จะมีปริมาณมากขึ้นเมื่อ pH ของน้ำต่ำลง และก็จะทำให้มีความเป็นพิษสูงขึ้นด้วย ระดับความเข้มข้นของไฮโดรเจนซัลไฟด์สูงสุดที่ไม่เป็นอันตรายต่อกุ้งกุลาดำ คือ 0.033 ppm.
การเปลี่ยนถ่ายน้ำ
การเปลี่ยนถ่ายน้ำเป็นการช่วยชะล้างธาตุอาหารและแพลงก์ตอนพืชออกจากบ่อช่วยกำจัดสารพิษที่เกิดจากสิ่งมีชีวิต เช่น แอมโมเนีย และยังช่วยปรับระดับความเค็มและอุณหภูมิไม่ให้สูงมากเกินไป การระบายน้ำทิ้งควรระบายน้ำในส่วนที่ใกล้พื้นบ่อ และประตูระบายน้ำควรอยู่ตรงข้ามกับประตูน้ำเข้า อัตราการเปลี่ยนถ่ายน้ำประมาณ 10-20 เปอร์เซ็นต์ของปริมาตรน้ำในบ่อต่อวัน ถ้ามีฝนตกมากต้องระบายน้ำชั้นบนออกและเมื่อเลี้ยงกุ้งไปแล้ว 2 เดือน ควรเปลี่ยนอวนกรองน้ำที่ประตูระบายน้ำออกให้มีตาที่โตขึ้นเพื่อระบายน้ำได้สะดวก
การรักษาและฟื้นฟูสภาพพื้นบ่อระหว่างเลี้ยง
สารอินทรีย์ต่างๆ เช่น เศษอาหารที่เหลือ ขี้กุ้ง ขี้แดด ตลอดจนซากสิ่งมีชีวิตต่าง ๆ ในบ่อเลี้ยงกุ้งจะตกทับถมลงสู่ก้นบ่อ ดังนั้นก่อนที่น้ำในบ่อจะเน่าเสียมักพบว่าพื้นบ่อเน่าเสียก่อนเสมอ ซึ่งกุ้งเป็นสัตว์ที่หากินตามพื้น เมื่อสภาพพื้นบ่อเริ่มเสียย่อมเป็นสาเหตุหนึ่งที่ทำให้กุ้งเป็นโรคดังนั้นหลังจากปล่อยกุ้งลงเลี้ยงแล้วประมาณ 1/2 เดือน ควรตรวจสภาพพื้นบ่ออย่างสม่ำเสมอย่างน้อย 7-15 วันต่อครั้ง เมื่อพบว่าของเสียต่าง ๆ ถูกกระแสน้ำพัดพาไปรวมที่ใดก็ควรจะกำจัดออกโดยเร็วก่อนที่พื้นบ่อจะเน่าเสีย ทั้งนี้การรักษาและฟื้นฟูสภาพพื้นโดยรอบชานและพื้นบ่อ นอกจากจะช่วยรักษาและฟื้นฟูสภาวะแวดล้อมภายในให้เหมาะสมแก่การอยู่อาศัยของกุ้งแล้วยังเป็นการป้องกันไม่ให้กุ้งเกิดโรคอีกด้วย
อาหารกุ้ง
1. อาหารธรรมชาติ หมายถึง พืชน้ำ สัตว์น้ำเล็ก ๆ เช่นแพลงก์ตอน สัตว์หน้าดินที่มีอยู่ในบ่อหรือติดมากับน้ำทะเลที่ใช่ถ่ายเทน้ำเข้าสู่บ่อ กุ้งที่เลี้ยงจะได้รับอาหารนี้ส่วนหนึ่งเพื่อการเจริญเติบโตและการดำรงชีวิตในสภาพปกติ
2. อาหารสด หมายถึง อาหารที่ผู้เลี้ยงนำมาให้กุ้งในบ่อกินโดยไม่ผ่านกระบวนการใด ๆ เป็นอาหารดิบ เช่น ปลาสด หอย หมึก กากถั่ว แป้ง วิตามินและแร่ธาตุอาหารชนิดต่าง ๆ แล้วผ่านขบวนการอัดเป็นเม็ดให้มีขนาดพอเหมาะกับวัยและขนาดของกุ้ง เนื่องจากอาหารเป็นต้นทุนที่สูงที่สุดในการเลี้ยงกุ้งแบบพัฒนาดังนั้นผู้เลี้ยงควรให้ความสนใจในการควบคุมปริมาณอาหารเพื่อลดการสูญเสียอาหารไปโดยเปล่าประโยชน์ให้น้อยที่สุด
ปัจจัยที่ทำให้อาหารสูญเสีย มีดังนี้
1. อุณหภูมิ อุณหภูมิที่เปลี่ยนแปลงโดยฉับพลันทำให้กุ้งกินอาหารได้น้อยลง อุณหภูมิที่เหมาะสมต่อการเจริญเติบโตคือ 25-30 องศาเซลเซียสถ้าอุณหภูมิต่ำลงกุ้งจะไม่ค่อยกระปรี้กระเปร่า กินอาหารได้น้อย เจริญเติบโตช้า ถ้าอุณหภูมิต่ำกว่า 18 องศาเซลเซียส กุ้งจะไม่กินอาหาร ดังนั้นเมื่ออุณหภูมิลดต่ำก็ควรลดปริมาณอาหารที่ให้ลงหรืองดอาหารในมื้อเช้า
2. กุ้งที่เป็นโรคหรือสุขภาพไม่ดี ทำให้การใช้อาหารไม่เต็มประสิทธิภาพ
3. มีการให้อาหารมากเกินไป
4. ถูกสัตว์อื่น ๆ แย่งกินไป
5. อาหารเสื่อมคุณภาพ เนื่องจากเก็บไว้นานเกินไป
6. อาหารมีคุณค่าสูงเกินความจำเป็น
7. อาหารตกหล่นระหว่างตักและลำเลียง
ข้อควรปฏิบัติในการให้อาหารกุ้ง 1.ผู้เลี้ยงควรบันทึกจำนวนและราคาอาหารเพื่อทำให้รู้ปริมาณอาหารและต้นทุนที่ใช้ในการผลิตกุ้งแต่ละรุ่น
2.การให้อาหารควรจำกัดปริมาณ พึงระลึกไว้เสมอว่าเมื่อกุ้งมีขนาดโตขึ้นอัตราการกินอาหารจะลดน้อยลง (หลังจาก 6 สัปดาห์ไม่ควรเกิน 3-5 ของน้ำหนักตัวต่อวันหรือไม่ควรเกินความจุของกระเพาะลำไส้ต่อมื้อ) ควรแบ่งให้ในอัตราส่วนที่เหมาะสมครั้งละน้อย ๆ แต่บ่อยครั้งอย่างน้อย 4-6 มื้อต่อวันเพื่อให้กุ้งมีอาหารกินอย่างต่อเนื่องในกรณีที่มีอาหารเหลือควรชะลอการให้อาหารในมื้อถัดไปไว้ก่อนจนกว่าอาหารที่เหลือจะหมด
3.การเลี้ยงกุ้งกุลาดำบริษัทผู้ผลิตอาหารมักจะกำหนดปริมาณอาหารที่ใช้เลี้ยงกุ้งแต่ละวัยให้เกษตรกรผู้เลี้ยงถือปฏิบัติ เกษตรกรพึงระลึกไว้เสมอว่า ในทางปฏิบัตินั้น ควรให้อาหารน้อยกว่าปริมาณที่กำหนดไว้แต่จะมากน้อยเพียงใดจึงจะเหมาะสมนั้น ขึ้นอยู่กับสภาพของกุ้งและอาหารธรรมชาติที่มีอยู่ในบ่อเลี้ยงนั้นด้วยและต้องคำนึงถึงเสมอว่า เมื่อสภาวะแวดล้อมเปลี่ยนแปลงไปการกินอาหารของกุ้งย่อมเพิ่มหรือลดตามไปด้วย
4.การเปลี่ยนแปลงอาหารแต่ละชนิดแต่ละเบอร์ ในการเลี้ยงกุ้งกุลาดำแต่ละระยะต้องปรับอย่างค่อยเป็นค่อยไปอย่างน้อย 5-7 วัน
5.ควรให้อาหารที่พอดีกับความต้องการของกุ้งและต้องมีการตรวจสอบประสิทธิภาพการให้อาหารของกุ้งเสมอ ก่อนที่จะให้อาหารมื้อต่อไป
6.นอกจากจะทำการหว่านอาหารให้ทั่วบ่อแล้ว ต้องทำยอใส่อาหารอย่างน้อยไร่ละ 1 ยอเพื่อตรวจสอบว่ากุ้งกินอาหารหมดหรือไม่ ถ้ากินอาหารหมดแสดงว่าอาหารไม่พอ ต้องเพิ่มอาหารที่หว่านอีกหน่อย หากอาหารเหลือในยอก็ให้ลดปริมาณ ควรทำการตรวจสอบทุกมื้อหลังจากการให้อาหารแล้ว 2 ชั่วโมง
7.ถ้าพบกุ้งในยอสีดำ ผิวหยาบ ก็ควรมีการตรวจสอบคุณภาพน้ำ ดิน และอาหาร
8.ถ้าพบกุ้งลอกคราบ ก็ลดอาหารลงประมาณ 2-3 วัน หลังจากนั้นก็เพิ่มอาหารมากขึ้นเพราะช่วงนี้กุ้งกินอาหารมาก
การคำนวณอาหารและหว่านอาหาร ปริมาณอาหารที่จะให้กุ้งกิน ถ้าให้อาหารมากเกินควรอาหารที่เหลือสะสมเพิ่มความสกปรกของพื้นบ่อ เมื่อนาน ๆ ก็จะเป็นสาเหตุของการเกิดโรคบางชนิดได้ เช่นโรคหางไหม้ โรคเหงือกดำ เป็นต้น แต่การอาหารน้อยเกินไปก็จะมีผลให้กุ้งกินกันเองและกุ้งได้รับอาหารไม่เพียงพอก็จะผอมอ่อนแอ ทำให้ติดเชื้อโรคได้ง่าย ดังนั้น หากผู้เลี้ยงเข้าใจถึงหลักเกณฑ์ในการคำนวณอาหารที่ถูกต้องก็จะทำให้ลดปัญหาในการเลี้ยงได้มากทีเดียว เมื่อกุ้งอายุได้ 1 เดือน จะสามารถใช้ยอเช็คการกินอาหารได้แล้วคือ หลังจากหว่านอาหารเสร็จจึงใส่อาหารในยอและเช็คอาหารตามเวลาที่กำหนด การปรับปริมาณอาหารให้ดูจากการกินอาหารในยอ คือ หากกุ้งกินอาหารในยอหมดให้เพิ่มอาหาร แต่หากบางยอหมดบางยอยังเหลืออยู่ให้คงปริมาณอาหารไว้เท่าเดิม และถ้าปริมาณอาหารในยอเหลือทุกยอก็ให้ลดปริมาณอาหารลง เมื่อกุ้งอายุประมาณ 45 วัน (มีน้ำหนัก 4-5 กรัม) กุ้งจะมีขนาดโตพอที่จะทอดแห (ใช้แหเอ็นตาเล็กสุดคือ 0.5 ซม.) เพื่อสุ่มหาปริมาณกุ้งที่เหลือในบ่อ และดูการเจริญเติบโตของกุ้งไปพร้อม ๆ กันโดยมีการชั่งน้ำหนักและวัดความยาวของกุ้ง หลังจากนั้นนำมาคำนวณหาผลผลิตกุ้งทั้งหมดในบ่อ ปริมาณกุ้งที่เหลือในบ่อหาได้โดยการใช้แหสุ่มทอดในหลาย ๆ จุด จดบันทึกจำนวนและชั่งน้ำหนักของกุ้งแต่ละแห แล้วนำจำนวนกุ้งที่ทอดแหได้แต่ละครั้งมารวมกันจะได้จำนวนกุ้งที่ทอดแหได้ทั้งหมด ส่วนน้ำหนักที่ชั่งได้ แต่ละแหเมื่อนำรวมกัน ก็จะได้น้ำหนักกุ้งที่ทอดแหได้ทั้งหมด เมื่อทราบพื้นที่แหโดยการคำนวณจากสูตรพื้นที่วงกลม ซึ่งเท่ากับ 3.14 x รัศมียกกำลังสอง (3.14 x รัศมี x รัศมี) ข้อมูลที่ได้นำมาคำนวณหาปริมาณกุ้งที่เหลือในบ่อได้ เมื่อนำน้ำหนักเฉลี่ยมาคูณปริมาณกุ้งที่เหลือในบ่อก็จะได้น้ำหนักที่มีอยู่ทั้งหมด จากนั้นจึงไปคำนวณหาปริมาณอาหารที่กุ้งควรจะกินในช่วงนั้นโดยเทียบจากตารางเปอร์เซ็นต์การกินอาหารของกุ้งในช่วงอายุนั้น ๆ
การจับกุ้ง
ระยะเวลาการเลี้ยงกุ้งจนจับจำหน่ายได้ ถ้าเลี้ยงจากลูกกุ้ง p 15 ใช้เวลาการเลี้ยงประมาณ 4 เดือน ถ้าเลี้ยงจากลูกกุ้ง p 30 ใช้ระยะเวลาเพียง 3 เดือนครึ่ง โดยทั่วไปจะได้ขนาด 25-35 ตัวต่อกิโลกรัม ต้องจับกุ้งหลังลอกคราบแล้ว 2-3 วัน กุ้งเปลือกจะแข็ง ขณะจับกุ้งควรให้อาหาร กุ้งจะได้ไม่เพลีย และจะว่ายน้ำเล่น สามารถจับได้ง่าย
1. จับกุ้งโดยใช้อวนเปลหรือถุงรองรับที่หน้าประตูบ่อกุ้ง โดยเปิดลิ้นชักด้านบน น้ำลึกประมาณ 15-20 ซม. ค่อยทยอยลงไปควรแง้มลิ้นประตูชั้นบนให้น้ำไหลออกก่อนประมาณ 30 นาที แต่ก่อนการจับจะจับด้วยวิธีนี้
2. จับโดยใช้อวนลากไฟฟ้า โดยปล่อยกระแสไฟฟ้าลงไปกับโซ่ตีนอวน เมื่อลากพื้นบ่อกุ้งจะได้รับกระแสไฟฟ้าจึงกระโดดเข้าถุงอวนเอง
3. จับโดยใช้อวนลากกุ้งธรรมดา เหมาะสำหรับบ่อที่เป็นสี่เหลี่ยม
4. จับโดยใช้แหเหวี่ยง เหมาะสำหรับจับกุ้งขายเป็นครั้ง ๆ ละไม่มาก
5. จับโดยใช้คนเดินเก็บ เพราะจะมีกุ้งบางส่วนเหลือตกค้างอยู่ในบ่อเมื่อน้ำแห้ง
6. กุ้งที่จับมาได้ควรรีบนำมาแช่ในถังน้ำที่มีน้ำแข็งอยู่ที่อุณหภูมิ 10-15 องศาเพื่อน็อคกุ้งและทำความสะอาดกุ้ง เพื่อจะได้กุ้งที่สดและสะอาด
อ้างอิง
- . FAO Species Identification and Data Programme (SIDP). FAO. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2005-01-03. สืบค้นเมื่อ January 10, 2010.
- "Giant Tiger Prawn". Sea Grant Extension Project. . สืบค้นเมื่อ 2013-09-24.
- (1980). "Penaeus (Penaeus) monodon". Shrimps and Prawns of the World. An Annotated Catalogue of Species of Interest to Fisheries. FAO Species Catalogue. Vol. 1. Food and Agriculture Organization. p. 50. ISBN .
แหล่งข้อมูลอื่น
ข้อมูลที่เกี่ยวข้องกับ Penaeus monodon ที่วิกิสปีชีส์
wikipedia, แบบไทย, วิกิพีเดีย, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด, บทความ, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม, มือถือ, โทรศัพท์, Android, iOS, Apple, โทรศัพท์โมบิล, Samsung, iPhone, Xiomi, Xiaomi, Redmi, Honor, Oppo, Nokia, Sonya, MI, PC, พีซี, web, เว็บ, คอมพิวเตอร์
kungkuladakarcaaenkchnthangwithyasastrxanackr Animaliaiflm Arthropodaiflmyxy Crustaceachn xndb Decapodaxndbyxy Dendrobranchiatawngs Penaeidaeskul spichis P monodonchuxthwinamPenaeus monodon 1798chuxphxng Penaeus carinatus Dana 1852 Penaeus tahitensis Heller 1862 Penaeus coeruleus Stebbing 1905 Penaeus bubulus Kubo 1949 kungkulada hrux kungmalay xngkvs Tiger prawn chuxwithyasastr Penaeus monodon epnkungthael khnadpraman 18 25 esntiemtr mikhnadihythisudinwngs Penaeidae xasyxyuinekhtrxn michuxthangwithyasastraetktangknhlaychuxtamnkwithyasastrthikhnphb aetthiepnthiyxmrbknthwip khux Penaeus monodon Frabricius aelamichuxphasaxngkvsthixngkhkarxaharaelaekstraehngshprachachati FAO ichxyukhux Giant Tiger Prawn chxbxasyxyuinbriewnnaluk hangxxkcakfngaelachxbphunthaelthiepndinthray samarthecriyetibotidxyangrwderw thnxyuinnathimixunhphumisungaelakhwamekhmta echn briewnpachayelniddi aelahaxaharcaphwkaephlngktxn lksnathwipkungkuladamihnwdlaycangmakimednchd aekmxyuinaenwranab aelasnthixyusxngkhangokhnkri yawekuxbthungfnkrixnhlngsud sungmisnaenwkhangechiyngchiipthangnynta nxkcaknimilksnaxun thiednchdkhux latwsiaedngxmnatalthungnatalekhm epnepluxkekliyngimmikhn milayphadkhwangdanhlngpraman 9 lay aelasixxknatalekhmkhangaethbsikhaw danbnkhxngkrimifn 6 8 si danlangmi 2 4 si khxbplayhangaelakhawaynamikhnsiaedng aelamikhnadtwpraman 18 25 esntiemtr snkriyawekuxbthungkharaepsmisntb Hepatic Crest yawtrngkhnanipkblatw hnwdyawsidaimmilaychdecn khaedinmisiaedngpnda khawaynamisinatalpnnaengin okhnsikhaw khaedinkhuthihaimmi exopod mi lksnasakhyinkarcaaenkchnid dngni 1 latw miaethbsiphadkhwang aebngepnkhxplxngchdecn snthiswnhlngkhxngkri Postrostral Ridge immirxngklang snthiehphphatidyawokhng 2 si khnathimichiwit kungkuladaotetmwy latwsiekhm natalekhm swnkhxngepluxkkhlumhwaelalatwdanbn miaethbsixxnphadkhwangslbkbaethbsinatalekhmekuxbdatlxdtw swnthiehluxsinatalxxnslbkn inwyrunhruxyngimotetmthixacepnsifaxmnaengin hruxmilaykhwangtlxdlatw 3 karaephrkracay kungkuladaphbaephrkracaythwipinekht Indo west Pacific tawnxxkaelatawnxxkechiyngitkhxngthwipaexfrika praethsxinediy praethspakisthanthungpraethsyipun hmuekaamaelesiy praethsxinodniesiy niwkinithungtxnehnuxkhxngxxsetreliy xxsetreliythungtxnehnuxkhxngxawmxritn praeths khwinsaelnd aelapraethsithy 4 thixyuxasy Habitat kungkuladaotetmwychxbxasyphundinokhln okhlnpnthrayinthaelluk wyxxnepnaephlngktxnwaynaidxyangxisra wyrunekhluxnyayekhasuchayfngephuxeliyngtw aelaedinthangklbsuthaelemuxotetmwy ephuxphsmphnthu 5 khnad kungkulada epnkungthimikhnadotmakthisudyawthung 36 3 esntiemtr 363 milliemtr cungidsmyanam cmob hrux ithekxr tamprktikungephsemiycamikhnadihykwaephsphuthinxasykungkuladaxasyxyuthwipinthwipexechiy inpraethsithyphbaephrkracaythwipinxawithy aetcaphbmakbriewnekaachang briewnnxkfngcnghwdchumphrthungcnghwdnkhrsrithrrmrachaelathangfngmhasmuthrxinediy thaelxndamn briewnnxkfngkhxngcnghwdphuekt aelacnghwdranxng chxbxasyxyuinbriewnthimiphundinepnthraypnokhln swnaehlngkaeniddngedimxyuinthaelaethbxinodaepsikfiktawntk xfrikatawnxxkaelatawntkechiyngit aelakhabsmuthrxinediy lksnakhxngkungkuladawyrunxasytampakaemna aelaemuxetmwychxbxasyinthaelthimiphunthimiokhlnpnthray radbkhwamlukimekin 110 emtr kungkuladachxbfngtwinewlaklangwnaelahakininewlakhun wangikhidtlxdthngpi aetwangikhchukchumrahwangeduxnphvsphakhmthungeduxnthnwakhm inaethbnakrxykinxaharidthngphuchaelastwmikhwamaekhngaerngaelathnthanpraoychnephaaeliyngknaephrhlayinpraethskhxngexechiytawnxxkechiyngit ichbriophkhinpraeths aelasngipcahnaytangpraethskarsubphnthu karkhdphnthu aelaphnthusastrkhxngkungkungmixwywaephsphaynxkmxngehnidchdecn aelasamarthichlksnakhwamaetktangkhxngxwywaephsinkarcaaenkchnidid xwywaephsphu eriyk phiaetsma Ptasma ekidcakkarepliynaekhnngxninkhxngkhawaynakhuaerk thng 2 khangechuxmtidkn ephuxthahnathiepnxwywaephsphu xwywaephsemiyeriykthiilkhm Phelycum ekidcakkarepliynphnngdanthxng Sternal Plate khxngrayangkhswnxkplxngthi 7 aela 8 hruxtrngkbkhaedinkhuthi 4 thung 5 phthnaepnthungsahrbrbnaechux wyecriyphnthu Maturation hmaythung rngikhhruxxwywathiichinkarphsmphnthuphthnaetmthiinkarphlitikh Egg hruxnaechux Sperm phrxmthicaphsmphnthu odyichxwywaphaynxkinphwk Penaeids ephsphu Petasma aelaephsemiy Thelycum emuxlxkkhrabephuxekhasuwyecriyphnthuxwywaephsthng 2 ephs ecriydiaelwkarphsmphnthucaekidkhunphayhlngcaktwemiylxkkhrabihm inkarkhdphnthukung aemwakartha Individual Selection hrux Mass Selection cathaidngay tnthunta thdsxbaelabnthukphlidngay aetkarkhdphnthuaebbniimsamarthha Interval rahwang Generation id cungkhwrichwithikarkhdphnthuaebb Family Selection khwbkhuipkbkarthdsxb Progeny xyangtxenuxngthngaebb Full Sib aela Half Sib inkarsuksaphnthusastrprachakrkung krathaodymiwtthuprasngkhephuxcaaenkklumprachakartamkhwamthikhxngyin Gene Frequency aelamikarepliyn aeplngkhwamthienuxngcaksaehtutang khxmulthiidehlanisamarthnaipichpraoychnxyangkwangkhwang echn karcdkarephuxkarxnurks karprbprungphnthu karsuksaxnukrmwithanaelawiwthnakar epntn enuxngcakkungkulada idmikarephaaeliyngknxyangaephrhlay odyphnthukungthiichinkareliyngthnghmdidcakkarcbphxaemphnthucakthrrmchati khunmaephaaphnthu sungmikarcbphxaemphnthpilapraman 5 thung 6 aesntw thaihprachakrkungkuladainthrrmchatildlng khwamhlakhlaythangphnthukrrminthrrmchatikldlngdwy nxkcaknikarhludrxdkhxngphnthukungthiekidcakkarephaaeliynglngipinthrrmchati papnkbprachakrdngedim miphlthaihkhwamhlakhlaythangphnthukrrmldlngechnkn karsuksaphnthusastrprachakrkungkuladacathaihthrabwakungkuladainthrrmchati aetlaaehlngprakxbdwyprachakrthiklumephuxnakhxmulthiidipichinkarcdkar phsmphnthupxngknkarphsmeluxdchid aelaichepnkhxmulphunthaninkarkhdeluxkphxaemphnthusahrbkarsrang Domesticated Broodstock txiptladkungtladkungkuladainpccubnepntladthinbwadimak enuxngcakkhwamtxngkarkhxngthngtladphayinpraethsaelaphaynxkpraethsmimak prakxbkbphlphlitthinxylng thaihrakhakungkuladamirakhakhxnkhangsung tladkungthisakhyidaek 1 hxngeyn epntladthitxngkarkungthaelthimikhnadihyepncanwnmak ephuxsngxxkipyngtangpraeths echn shrthxemrika yipunaelaklumpraethsinyuorp 2 saphanpla epntladkungphayinpraeths odyichwithipramulrakhasungrakhakungcakhunxyukbprimankungthiekhamainaetlawn nxkcaktladthng 2 aehngaelwyngmiphttakharhruxhxngxaharthitxngkarkungepn odycaxxkrbsuxtampakbx sungcaihrakhasungaetprimankhwamtxngkarimmaknkaelaimaennxninaetlawnkareliyngkungkuladakareluxksthanthi kareluxksthanthinbwaepnpccythisakhyepnxndbhnungthicachwysngesrimkhwamsaerc prakxbdwypccyhlayprakarsungepnxngkhprakxbinkartdsinwaphunthiidehmaasmtxkareliyngkungkulada thngyngepnswnchwyinkarephimmatrkarpxngknkhwamesiyhayinkareliyngkungkulada pccysungcachwyphicarnamidngni 1 khunphaphdin odybxkungkuladathidikhwrcaepndinpnthrayaelamisphaphkhwamepnkrdepndang pH xyurahwang 6 5 8 5 mikhunsmbtikkekbnaiddi aelakhndinimphngthlayngay 2 khunphaphna aehlngnathiichinkareliyngkhwrmikhunphaphdi saxad prascaksarekhmi sarphis khxngesiycakorngnganxutsahkrrm aelaaehlngchumchn yakhaaemlng aelakhxngesiycakorngeliyngstwxun sungmisarxinthriyenaepuxycakphuchaelastw sungcathaihxxksiecnsungcaepntxkarhayicinnaldtalng klayepnaehlngephaaechuxthiimtxngkarxikdwy aehlngnathiichkhwrmiprimanephiyngphxtxkarsubichtlxdthngpiaelamikhwamekhmthismaesmx odyechphaaphunthithimikarsngnaekhabxeliyngidodyimtxngsubnacachwyldkhaichcayidepnxyangdi 3 aehlngphnthukung phunthieliyngkhwrxyuiklhruximhangcakaehlngphnthukungkulada thaihsadwkinkarcdhalukphnthuaelakarlaeliyngkhnsngsungcasngphlditxsukhphaphkhxnglukkungdwy 4 satharnupophkh hrux singxanwykhwamsadwkhlayxyangthicaepnxyangmaktxkareliyngephuxihidphlphlitthidi echn thnn iffa ephuxsadwkinkarkhnsngxahar phlphlit karetriymxaharhruxkarephimxxksiecninbxeliyngodykarichekhruxngtina 5 tlad inpccubnmiphxkhamarbsuxkungkuladathungpakbxxyumakphxsmkhwr hruxthakartidtxhxngeynihmasuxkung karetriymbxeliyngkungkulada 1 bxeliyngthikhudihm singthikhwrkhanungthungkhux khwamladchnkhxngbx bxthimikhwamladchnmakcaekidpyhamakkwabxthimikhwamladchnnxyenuxngcakswnthimikhwamladchnmak miphunthibxthirbaesngmak cathaihekidkhiaeddaelataikhrnaxyangrwderwcungkxihekidpyhaphunbxesuxmothrmiderwkwabxthimikhwamladchnnxy trwckhwamepnkrd dangkhxngdin phunbxthimikhwamluk 30 50 sm thamikhakhwamepnkrd dangtakwa 8 0 ihorypunmarl 50 kiolkrmtxir takiwihaehngpraman 1 spdah hlngcaknncalangbxhruximlangkid aelwcungplxynacakbxphkekhamainbxeliyngthisxng bxekahruxbxthiphankareliyngmaaelw sahrbbxekasungmisphaphesuxmothrmxyubangthaphueliyngimphithiphithninkaretriymbxxacekidpyhaxyubang dngnnhlngcakkarcbkungaelwtxngprbsphaphphunbxihdiesiykxndwykardud hruxchidelnbriewnknbxthingaelwtakihaehng caknncungichrthithhnadinxxkxikkhrnghnungaelaorypunmarl 80 100 kiolkrmtxir takihaehngpraman 2 3 spdah kartakbxmikhwamcaepnsahrbbxthiichmaaelwhlaykhrng ephuxepnkarkacdaexmomeniyaelaihodrecnslifdthihmkhmmxyuindinaelwlangbxdwynacakbxphknaphanxwntathixikkhrnghnung aelwcungthakarkkekbnasahrbeliyngtxip karkacdstruinbxeliyng inkrnithibximsamarthtakihaehngidxacepnephraabxmikarrwsumcaichkakchaorybriewnthiminakhngxyuinpriman 20 kiolkrmtxir thingiw 24 chwomng cungichidrowhruxthxphyanakhdudnabriewnnnthing imcaepntxnglangbxxiktaaekrngthipratunakhwrichtathimak khnad 500 600 imkhrxn hruxxacichmunginlxnekhiywxyangdi 2 thung 3 chin thaichekhruxngsubnaaebbthxphyanakhcaichthungxwnthadwymungekhiywthiplayxikchnephuxpxngknstrukungthixacekhamakbna karetriymnainbxeliyng nainbxeliyngkhwrmikhwamlukpraman 1 1 5 emtr ephuxchwychalxkarepliynaeplngkhxngkhwamekhmaelaxunhphumi ephraainchwngthimikarepliynaeplngxunhphumimak hakxunhphumisungekinipinchwngthirxncd kungcaekidxakarngxtwaelakarekrngkhxngklamenuxthaihchxkhtayinthisud xikthngradbnatamak aesngaeddsamarthsxngipthungphunknbxcungekidkarblumkhxngaephlngktxnphuchxyangrwderw aephlngktxnehlanicaaeyngichxxksiecnipcakbxeliyngkunginchwngklangkhunekidepntaikhrnaaelakhiaeddinewlaklangwnaelainthisudemuxaephlngktxntaylngcaekidkarslaytwthaihphunbxenaesiyekidkasihodrecnslifd xnepnphlesiytxkung dngnnradbnathiehmaasmsahrbkareliyngkungaebbhnaaennkhwrihradbnasungxyangnxy 1 50 emtr aelakhwrmiekhruxngsubnaaebbthxphyanakhkhnadesnphasunyklang 16 24 niw inxtra 1 ekhruxngtx 2 bx sahrbchwyephimradbnainbxeliyngidrwderwthnkbkhwamtxngkarkarkhdeluxkphnthulukkungkuladakhxkhwrphicarnainkareluxksuxlukphnthukungkulada 1 eluxkcakorngephaafkthiechuxthuxid thamioxkaskhwripduorngephaafkaehngnn dukarcdkar withikarmatrthaninkarphlit singehlanicachwyinkartdsinicephraathaaehlngphlitlukkungthathuktxngtamhlkwichakar mikarkhwbkhumkhunphaphthaihmatrthankarphlitsung cathaiheraaenicwalukkungthiidnnaekhngaerngaelaplxdorkh 2 phicarnasphaphkhxnglukkung pktiphueliyngthimiprasbkarncamarthbxkthungkhwamaekhngaernghruxsmburnkhxnglukkungid inkrnithiimkhunekhyxacichhlktxipniinkarphicarnasung lukkungthiaekhngaerngkhwrcamilksnadngni latwoprngis waythwnkraaesna lksnaphaynxktxngpktismburn karcdkarkhunphaphnainbxeliyngkung pyhathiekidkhuninkareliyngkungkuladainpccubnidaek pyhathiekiywkhxngkbkhunphaphnathiaeylng enuxngcakmlphawatang thimacakkareliyngxyanghnaaennaelakarplxykhxngesiytang lngsuaehlngnamakekinip thaihekidkarhmkhmminaemnalakhlxng aelabriewnpakaemnahruxtamaenwchayfngthaelcnthungradbthikareliynginhlay phunthitxngmikhwamesiyngtxkungepnorkhtaysungmak karcdkareruxngkhunphaphnainbxeliyngmikhwamsakhymak phueliyngtxngmikhwamrukhwamekhaicthungkarepliynaeplngtang tlxdcnaenwthangkarinkarpxngknaelaaekikh ephuxldpyhatang thixacmiphltxsukhphaphkhxngkung khunsmbtikhxngnathimikhwamsakhyinkareliyngkungkuladamidngni 1 khwamekhm kungkuladaepnkungthisamarththntxkarepliynaeplngkhxngkhwamekhmidinchwngkwang aelathakhwamekhmepliynaeplngxyangcha samarthprbtwxyuthikhwamekhmekuxbsunyepnewlananphxsmkhwrhruxkhwamekhmthiephimkhuncnthung 45 ppt aetkhwamekhmthiehmaasmxyurahwang 10 15 ppt 2 khwamepnkrdepndang pH pH khxngnamikhwamsakhytxkardarngchiwitkhxngkungkuladamak enuxngcak pH khxngnannmiphltxkhunsmbtikhxngnatwxun echnkhwamepnphiskhxngaexmomeniyaelaihodrecnslifd epntn pH thiehmaasmaekkareliyngkungkhwrxyurahwang 7 5 8 5 aetkarecriyetibotthidithisudinbxcaxyuthi pH khxngnarahwang 8 0 8 5 karepliynaeplng pH khxngnainbxkhunxyukbpccyhlay xyang echn khunsmbtikhxngdin khakhwamepndangkhxngna karphlitaelakarichkharbxnidxxkisdinnasungswnihycakhunxyukbprimanaephlngktxnphuch 3 primanxxksiecnthilalayinna primanxxksiecnthilalayinnamiphltxkarkinxahar karecriyetibotaelasukhphaphkhxngkung thaprimanxxksiecntaekinipxacmiphlthaihkungtayid primanxxksiecnthilalayinbxeliyngcaepliynaeplngkhlaykb pH khux mikhatasudintxnechamudenuxngcakkarichipinkaryxyslaysarxinthriyodyculinthriyinbx aelakarhayickhxngsingmichiwitinbx hlngcaknnaephlngktxnphucherimmikarsngekhraahaesngprimanxxksiecncaephimkhunaelasungsudintxnbay khwamsamarthinkarlalaykhxngxxksiecninnakhunxyukbxunhphumiaelakhwamekhmkhxngna odythinathimikhwamekhmaelaxunhphumiephimkhunxxksiecncalalaynaidnxylng primanxxksiecnthiehmaasmkhwrxyurahwang 4 ppm cnthungcudximtw 4 aexmomeniyaelainitrth inbxeliyngkungkuladaaebbphthnanncamiprimankhxngsarprakxbinotrecnthiknbxepncanwnmak sungxacekidcakkhbwnkaryxyslaysarxinthriyodyculinthriythiknbxaelwplxyaexmomeniyxxkma nxkcaknnstwnayngplxykhxngesiyxxkmainrupkhxngaexmdmeniysuaehlngnaodytrng insphawathimixxksiecnaebkhthieriycaphwk nitrifying bacteria caepliynaexmomeniyepninitrthaelainetrth tamladb aexmomeniy epnsarprakxbinotrecnthiepnphistxstwna aexmomeniythiphbxyuinnacaxyuin 2 rupaebb khux aexmomeniysungepnphistxstwna aelaaexmomeniymxixxnsungimepnphistxstwna inkarwdaexmomeniyodythwipcawdrwmthngsxngrupaebb aexmomeniythngsxngrupaebbnicaepliynklbipmatam pH aelaxunhphumikhxngna odyechphaatha pH sungkhinxtraswnkhxngaexmomeniythiepnphiscasungkhun thaihkhwamepnphistxstwnacamakkhundwy sunginbxeliyngkungkuladaprimanaexmomeniyinrupthiepnphisimkhwrekin 0 1 ppm 5 ihodrecnslifd karekidihodrecnslifd enuxngcakinsphaphknbxthikhadxxksiecncathaihaebkhthieriybangchnidthisamarthichkamathninkaryxyslaysarxinthriyid yxyslaysarxinthriybriewnphunbxidepnsarprakxbslifd sungsarprakxbslifdthixyuinrupkhxng H2S camiprimanmakkhunemux pH khxngnatalng aelakcathaihmikhwamepnphissungkhundwy radbkhwamekhmkhnkhxngihodrecnslifdsungsudthiimepnxntraytxkungkulada khux 0 033 ppm karepliynthayna karepliynthaynaepnkarchwychalangthatuxaharaelaaephlngktxnphuchxxkcakbxchwykacdsarphisthiekidcaksingmichiwit echn aexmomeniy aelayngchwyprbradbkhwamekhmaelaxunhphumiimihsungmakekinip karrabaynathingkhwrrabaynainswnthiiklphunbx aelapraturabaynakhwrxyutrngkhamkbpratunaekha xtrakarepliynthaynapraman 10 20 epxresntkhxngprimatrnainbxtxwn thamifntkmaktxngrabaynachnbnxxkaelaemuxeliyngkungipaelw 2 eduxn khwrepliynxwnkrxngnathipraturabaynaxxkihmitathiotkhunephuxrabaynaidsadwk karrksaaelafunfusphaphphunbxrahwangeliyng sarxinthriytang echn essxaharthiehlux khikung khiaedd tlxdcnsaksingmichiwittang inbxeliyngkungcatkthbthmlngsuknbx dngnnkxnthinainbxcaenaesiymkphbwaphunbxenaesiykxnesmx sungkungepnstwthihakintamphun emuxsphaphphunbxerimesiyyxmepnsaehtuhnungthithaihkungepnorkhdngnnhlngcakplxykunglngeliyngaelwpraman 1 2 eduxn khwrtrwcsphaphphunbxxyangsmaesmxyangnxy 7 15 wntxkhrng emuxphbwakhxngesiytang thukkraaesnaphdphaiprwmthiidkkhwrcakacdxxkodyerwkxnthiphunbxcaenaesiy thngnikarrksaaelafunfusphaphphunodyrxbchanaelaphunbx nxkcakcachwyrksaaelafunfusphawaaewdlxmphayinihehmaasmaekkarxyuxasykhxngkungaelwyngepnkarpxngknimihkungekidorkhxikdwyxaharkung1 xaharthrrmchati hmaythung phuchna stwnaelk echnaephlngktxn stwhnadinthimixyuinbxhruxtidmakbnathaelthiichthayethnaekhasubx kungthieliyngcaidrbxaharniswnhnungephuxkarecriyetibotaelakardarngchiwitinsphaphpkti 2 xaharsd hmaythung xaharthiphueliyngnamaihkunginbxkinodyimphankrabwnkarid epnxahardib echn plasd hxy hmuk kakthw aepng witaminaelaaerthatuxaharchnidtang aelwphankhbwnkarxdepnemdihmikhnadphxehmaakbwyaelakhnadkhxngkung enuxngcakxaharepntnthunthisungthisudinkareliyngkungaebbphthnadngnnphueliyngkhwrihkhwamsnicinkarkhwbkhumprimanxaharephuxldkarsuyesiyxaharipodyeplapraoychnihnxythisud pccythithaihxaharsuyesiy midngni 1 xunhphumi xunhphumithiepliynaeplngodychbphlnthaihkungkinxaharidnxylng xunhphumithiehmaasmtxkarecriyetibotkhux 25 30 xngsaeslesiysthaxunhphumitalngkungcaimkhxykraprikraepra kinxaharidnxy ecriyetibotcha thaxunhphumitakwa 18 xngsaeslesiys kungcaimkinxahar dngnnemuxxunhphumildtakkhwrldprimanxaharthiihlnghruxngdxaharinmuxecha 2 kungthiepnorkhhruxsukhphaphimdi thaihkarichxaharimetmprasiththiphaph 3 mikarihxaharmakekinip 4 thukstwxun aeyngkinip 5 xaharesuxmkhunphaph enuxngcakekbiwnanekinip 6 xaharmikhunkhasungekinkhwamcaepn 7 xahartkhlnrahwangtkaelalaeliyng khxkhwrptibtiinkarihxaharkung 1 phueliyngkhwrbnthukcanwnaelarakhaxaharephuxthaihruprimanxaharaelatnthunthiichinkarphlitkungaetlarun 2 karihxaharkhwrcakdpriman phungralukiwesmxwaemuxkungmikhnadotkhunxtrakarkinxaharcaldnxylng hlngcak 6 spdahimkhwrekin 3 5 khxngnahnktwtxwnhruximkhwrekinkhwamcukhxngkraephaalaistxmux khwraebngihinxtraswnthiehmaasmkhrnglanxy aetbxykhrngxyangnxy 4 6 muxtxwnephuxihkungmixaharkinxyangtxenuxnginkrnithimixaharehluxkhwrchalxkarihxaharinmuxthdipiwkxncnkwaxaharthiehluxcahmd 3 kareliyngkungkuladabristhphuphlitxaharmkcakahndprimanxaharthiicheliyngkungaetlawyihekstrkrphueliyngthuxptibti ekstrkrphungralukiwesmxwa inthangptibtinn khwrihxaharnxykwaprimanthikahndiwaetcamaknxyephiyngidcungcaehmaasmnn khunxyukbsphaphkhxngkungaelaxaharthrrmchatithimixyuinbxeliyngnndwyaelatxngkhanungthungesmxwa emuxsphawaaewdlxmepliynaeplngipkarkinxaharkhxngkungyxmephimhruxldtamipdwy 4 karepliynaeplngxaharaetlachnidaetlaebxr inkareliyngkungkuladaaetlarayatxngprbxyangkhxyepnkhxyipxyangnxy 5 7 wn 5 khwrihxaharthiphxdikbkhwamtxngkarkhxngkungaelatxngmikartrwcsxbprasiththiphaphkarihxaharkhxngkungesmx kxnthicaihxaharmuxtxip 6 nxkcakcathakarhwanxaharihthwbxaelw txngthayxisxaharxyangnxyirla 1 yxephuxtrwcsxbwakungkinxaharhmdhruxim thakinxaharhmdaesdngwaxaharimphx txngephimxaharthihwanxikhnxy hakxaharehluxinyxkihldpriman khwrthakartrwcsxbthukmuxhlngcakkarihxaharaelw 2 chwomng 7 thaphbkunginyxsida phiwhyab kkhwrmikartrwcsxbkhunphaphna din aelaxahar 8 thaphbkunglxkkhrab kldxaharlngpraman 2 3 wn hlngcaknnkephimxaharmakkhunephraachwngnikungkinxaharmak karkhanwnxaharaelahwanxahar primanxaharthicaihkungkin thaihxaharmakekinkhwrxaharthiehluxsasmephimkhwamskprkkhxngphunbx emuxnan kcaepnsaehtukhxngkarekidorkhbangchnidid echnorkhhangihm orkhehnguxkda epntn aetkarxaharnxyekinipkcamiphlihkungkinknexngaelakungidrbxaharimephiyngphxkcaphxmxxnaex thaihtidechuxorkhidngay dngnn hakphueliyngekhaicthunghlkeknthinkarkhanwnxaharthithuktxngkcathaihldpyhainkareliyngidmakthiediyw emuxkungxayuid 1 eduxn casamarthichyxechkhkarkinxaharidaelwkhux hlngcakhwanxaharesrccungisxaharinyxaelaechkhxahartamewlathikahnd karprbprimanxaharihducakkarkinxaharinyx khux hakkungkinxaharinyxhmdihephimxahar aethakbangyxhmdbangyxyngehluxxyuihkhngprimanxahariwethaedim aelathaprimanxaharinyxehluxthukyxkihldprimanxaharlng emuxkungxayupraman 45 wn minahnk 4 5 krm kungcamikhnadotphxthicathxdaeh ichaehexntaelksudkhux 0 5 sm ephuxsumhaprimankungthiehluxinbx aeladukarecriyetibotkhxngkungipphrxm knodymikarchngnahnkaelawdkhwamyawkhxngkung hlngcaknnnamakhanwnhaphlphlitkungthnghmdinbx primankungthiehluxinbxhaidodykarichaehsumthxdinhlay cud cdbnthukcanwnaelachngnahnkkhxngkungaetlaaeh aelwnacanwnkungthithxdaehidaetlakhrngmarwmkncaidcanwnkungthithxdaehidthnghmd swnnahnkthichngid aetlaaehemuxnarwmkn kcaidnahnkkungthithxdaehidthnghmd emuxthrabphunthiaehodykarkhanwncaksutrphunthiwngklm sungethakb 3 14 x rsmiykkalngsxng 3 14 x rsmi x rsmi khxmulthiidnamakhanwnhaprimankungthiehluxinbxid emuxnanahnkechliymakhunprimankungthiehluxinbxkcaidnahnkthimixyuthnghmd caknncungipkhanwnhaprimanxaharthikungkhwrcakininchwngnnodyethiybcaktarangepxresntkarkinxaharkhxngkunginchwngxayunn karcbkungrayaewlakareliyngkungcncbcahnayid thaeliyngcaklukkung p 15 ichewlakareliyngpraman 4 eduxn thaeliyngcaklukkung p 30 ichrayaewlaephiyng 3 eduxnkhrung odythwipcaidkhnad 25 35 twtxkiolkrm txngcbkunghlnglxkkhrabaelw 2 3 wn kungepluxkcaaekhng khnacbkungkhwrihxahar kungcaidimephliy aelacawaynaeln samarthcbidngay 1 cbkungodyichxwneplhruxthungrxngrbthihnapratubxkung odyepidlinchkdanbn nalukpraman 15 20 sm khxythyxylngipkhwraengmlinpratuchnbnihnaihlxxkkxnpraman 30 nathi aetkxnkarcbcacbdwywithini 2 cbodyichxwnlakiffa odyplxykraaesiffalngipkbostinxwn emuxlakphunbxkungcaidrbkraaesiffacungkraoddekhathungxwnexng 3 cbodyichxwnlakkungthrrmda ehmaasahrbbxthiepnsiehliym 4 cbodyichaehehwiyng ehmaasahrbcbkungkhayepnkhrng laimmak 5 cbodyichkhnedinekb ephraacamikungbangswnehluxtkkhangxyuinbxemuxnaaehng 6 kungthicbmaidkhwrribnamaaechinthngnathiminaaekhngxyuthixunhphumi 10 15 xngsaephuxnxkhkungaelathakhwamsaxadkung ephuxcaidkungthisdaelasaxadxangxing FAO Species Identification and Data Programme SIDP FAO khlngkhxmulekaekbcakaehlngedimemux 2005 01 03 subkhnemux January 10 2010 Giant Tiger Prawn Sea Grant Extension Project subkhnemux 2013 09 24 1980 Penaeus Penaeus monodon Shrimps and Prawns of the World An Annotated Catalogue of Species of Interest to Fisheries FAO Species Catalogue Vol 1 Food and Agriculture Organization p 50 ISBN 92 5 100896 5 aehlngkhxmulxunwikimiediykhxmmxnsmisuxthiekiywkhxngkb kungkulada khxmulthiekiywkhxngkb Penaeus monodon thiwikispichis