ลัทธิขงจื่อใหม่แบบเอโดะ เป็นที่รู้จักกันในชื่อภาษาญี่ปุ่นว่า "ชูชิ-งะคุ" (朱子学 - Shushigaku) เป็นสำนักปรัชญาที่พัฒนาขึ้นในญี่ปุ่นสมัยเอโดะ ลัทธิขงจื่อใหม่เริ่มเข้ามาในญี่ปุ่นช่วงยุคคามาคุระ หลักปรัชญานี้มีลักษณะที่เน้นความเมตตาและความมีเหตุผลซึ่งเชื่อว่าเราสามารถเข้าใจจักรวาลได้ด้วยเหตุผลของมนุษย์และขึ้นอยู่กับมนุษย์ที่จะสร้างความสัมพันธ์อันประสานกลมกลืนกันระหว่างจักรวาลกับปัจเจกบุคคล ในสมัยศตวรรษที่ 17 โชกุนตระกูลโทคุงาวะ ได้นำปรัชญาของลัทธิขงจื่อใหม่มาใช้เป็นหลักการในการปกครองประชาชน นักปราชญ์ขงจื่อใหม่ ได้แก่ และ ซึ่งมีบทบาทสำคัญในการสร้างนำลัทธิขงจื่อใหม่มาใช้เป็นเครื่องมือในปรัชญาการเมืองสมัยใหม่ตอนต้นอันโดดเด่นของญี่ปุ่น
ประวัติศาสตร์
ลัทธิขงจื่อใหม่มีต้นกำเนิดในสมัยราชวงศ์ถังของจีน นักปรัชญาขงจื่ออย่างและหลี่อ้าวมีอิทธิพลต่อนักปรัชญาขงจื่อใหม่สมัยราชวงศ์ซ่ง นักปรัชญาขงจื่อแห่งราชวงศ์ซ่งขึ้นชื่อว่าเป็น "ผู้บุกเบิกลัทธิขงจื่อใหม่" ที่แท้จริงคนแรก โดยใช้แนวคิดอภิปรัชญาของเต๋าเป็นกรอบสำหรับปรัชญาทางจริยธรรม ลัทธิขงจื่อใหม่พัฒนาขึ้นเพื่อฟื้นฟูแนวคิดลัทธิขงจื่อดั้งเดิมและเป็นปฏิกิริยาโต้ตอบกับความคิดของพุทธศาสนาและลัทธิเต๋า แม้ว่านักปรัชญาขงจื่อใหม่จะปฏิเสธอภิปรัชญาของพุทธ แต่ลัทธิขงจื่อใหม่ก็ได้หยิบยืมคำศัพท์และแนวคิดของลัทธิเต๋าและพุทธศาสนามาใช้
ลัทธิขงจื่อได้เข้ามาในญี่ปุ่นในช่วงปลายสมัยคามาคุระ มีการเผยแผ่อันเป็นการศึกษาขั้นพื้นฐานสำหรับพระภิกษุในการฝึกปฏิบัติของสมาคมวัดเซนอย่าง (Gozan) ในขณะที่ทฤษฎีของลัทธิขงจื่อใหม่ ได้รับการถ่ายทอดผ่านคำอธิบายโดยพระ ซึ่งเดินทางมาเยือนญี่ปุ่นในปี 1299 จากราชวงศ์หยวน ยิ่งไปกว่านั้นความคิดแบบขงจื่อใหม่ ได้มาจากผลงานของ, และ จูซี และอุดมการณ์ดั้งเดิมของจีนและเกาหลีในเวลานั้น การเฟิ่องฟูของลัทธิขงจื่อใหม่ในญี่ปุ่นได้รับการสนับสนุนจากรัฐบาลโทกุงาวะ ซึ่งสนับสนุนให้มีการจัดตั้งอุดมการณ์ทางโลกแห่งชาติเพื่อเป็นวิธีการเสริมสร้างกฎหมายที่ใช้ปกครองทางการเมืองในประเทศ ปรัชญาขงจื่อได้เข้ามาถึงญี่ปุ่นก่อนหน้านี้ในศตวรรษที่ 14 แต่ความรู้เกี่ยวกับลัทธิขงจื่อถูกจำกัดเฉพาะพระเซน ที่เห็นว่าลัทธิขงจื่อมีความน่าสนใจทางสติปัญญา แต่เป็นรองจากนิกายเซน และบางสำนัก เช่น
ผู้บุกเบิกลัทธิขงจื่อของญี่ปุ่น คือ อดีตผู้ปฏิบัติงานปรัชญาเซนที่สนใจในความคิดของขงจื่อ ซึ่งในที่สุดก็ปฏิเสธแนวคิดเซนให้กลายเป็นหนึ่งในผู้สนับสนุนหลักของลัทธิขงจื๊อนีโอในญี่ปุ่น ฮายาชิราซัน นักเรียนของฟูจิวาระรับใช้โชกุนโทคุงาวะและโดยการอุปถัมภ์ของรัฐก็สามารถก่อตั้ง สถาบันโชเฮอิโกะ ได้ หลังจากที่ Kansei Edict ได้ กำหนดให้ Neo-Confucianism เป็นอุดมการณ์อย่างเป็นทางการของญี่ปุ่นสถาบัน Shoheiko ก็ได้กลายเป็นผู้มีอำนาจในการปกครองแบบลัทธิขงจื้อ แม้ว่าโรงเรียนที่แตกต่างกันของลัทธินีโอ - ขงจื๊อจะถูกห้ามอย่างเป็นทางการ แต่โรงเรียนยังคงอยู่ในญี่ปุ่น นักปรัชญาชาวญี่ปุ่น Toju Nakae เป็นหนึ่งในกรณีเช่นนี้ซึ่งได้รับอิทธิพลจาก heterodox Wang Yangming มากกว่าที่เขาเป็นดั้งเดิมของ Zhu Xi
ในศตวรรษที่ 17 และ 18 มีการเฟื่องฟูของสำนักปรัชญาซึ่งท้าทายลัทธิขงจื่อใหม่ในญี่ปุ่น ผู้สนับสนุนสำนักโคคุงาคุ Kokugaku โต้แย้งว่าชาวญี่ปุ่นโบราณเป็นตัวแทนของคุณธรรมของขงจื่อได้ดีกว่าชาวจีนโบราณ และควรให้ความสำคัญกับปัญญามากกว่าตำนานคลาสสิกของญี่ปุ่นโบราณและศาสนาชินโตซึ่งเป็นศาสนาพื้นเมืองของญี่ปุ่น แม้ว่าคู่แข่งทางปรัชญาระหว่างสำนักโคคุงาคุ (Kokugaku) และ ลัทธิขงจื่อใหม่ (Neo-Confucianism) จะดำรงอยู่ร่วมกันในฐานะแนวคิดทางปรัชญาที่โดดเด่นของญี่ปุ่นจนกระทั่งการได้รับอิทธิพลจากปรัชญาตะวันตกในยุคเมจิ
ปรัชญา
เช่นเดียวกับลัทธิขงจื่อแบบจีนและเกาหลี ลัทธิขงจื่อใหม่แบบเอโดะ (Edo Neo-Confucianism) เป็นปรัชญาสังคมและจริยศาสตร์ที่อยุ่บนฐานของแนวคิดอภิปรัชญา ปรัชญามีลักษณะแนวคิดแบบมนุษยนิยมและเหตุผลนิยมโดยมีความเชื่อว่าเราสามารถเข้าใจจักรวาลได้ด้วยเหตุผลของมนุษย์ และขึ้นอยู่กับตัวมนุษย์ที่จะสร้างความสัมพันธ์ที่ประสานกลมกลืนกันระหว่างจักรวาลและปัจเจกบุคคล
สำนักเหตุผลนิยม (หลี่เสว) ของลัทธิขงจื่อใหม่ตรงกันข้ามกับลัทธิรหัสยนัยของศาสนาพุทธนิกายเซนที่มีอิทธิพลก่อนหน้านี้ในญี่ปุ่น นักปรัชญาขงจื่อใหม่เชื่อว่ามนุษย์มีตัวตนอยู่จริง และมนุษยชาติสามารถเข้าใจการดำรงอยู่ของมนุษย์ได้ แม้ว่าการตีความของความเป็นจริงขึ้นอยู่กับปรัชญาขงจือใหม่ ซึ่งมีความแตกต่างจากศาสนาพุทธ
แต่จิตวิญญาณของนักปรัชญาขงจื่อใหม่ สำนักเหตุผลนิยม ได้คัดค้านแนวคิดรหัสยนัยของพุทธศาสนา ในขณะที่ศาสนาพุทธยังยืนยันในเรื่องของความเป็นสูญญตาของสรรพสิ่ง ลัทธิขงจื่อใหม่ได้เน้นย้ำในความเป็นจริง ศาสนาพุทธและลัทธิเต๋ามุ่งเน้นให้มนุษย์ละตัวตน และหันกลับไปหาสู่ความไม่มีตัวตน ลัทธิขงจื่อใหม่เห็นว่าความเป็นจริงเป็นการทำให้เป็นจริงของขั้นสูงสุดอย่างค่อยเป็นค่อยไป... ศาสนาพุทธและลัทธิเต๋าเน้นการทำสมาธิ เพื่อเห็นแจ้งและบรรลุในเหตุผลสูงสุด นักปรัชญาขงจื่อใหม่จึงเลือกที่จะนำแนวคิดเหตุผลของศาสนาพุทธและลัทธิเต๋ามาสร้างคำอธิบายอภิปรัชญาในลัทธิขงจื่อ
ปรัชญาในแง่มุมทางสังคมมีการจัดลำดับชั้นโดยเน้นที่ความกตัญญู สิ่งนี้ก่อให้เกิดการจัดลำดับชั้นทางสังคมแบบขงจื่อในสังคมเอโดะที่ก่อนหน้านี้ไม่เคยมีมาก่อน โดยในสังคมญี่ปุ่นได้แบ่งออกเป็น 4 ชนชั้นหลัก ได้แก่ ซามูไร ซึ่งถืิอว่าเทียบเท่ากับของจีนที่อยู่ด้านบนสุดของลำดับชั้นทางสังคม จากนั้นก็คือ ชาวนา และพ่อค้า ซามูไรเป็นนักอ่านตัวยงและเป็นครูสอนแนวคิดของลัทธิขงจื่อในญี่ปุ่น โดยได้ก่อตั้งสถาบันการศึกษาขงจื่อขึ้นเป็นจำนวนมาก
ลัทธิขงจื่อใหม่ได้นำองค์ประกอบของแนวคิดชาติพันธุ์นิยมเข้ามาในญี่ปุ่น ในขณะที่ลัทธิขงจื่อใหม่ของจีนถือว่าวัฒนธรรมของตนเองเป็นศูนย์กลางของโลก นักปรัชญาขงจื่อใหม่ชาวญี่ปุ่นได้พัฒนามาเป็นความภาคภูมิใจในชาติของตนเองที่คล้ายคลึงกับจีน ความภาคภูมิใจของชาตินี้จะพัฒนาไปสู่สำนักปรัชญาซึ่งในเวลาต่อมาได้เป็นปฏิกิริยากับลัทธิขงจื่อใหม่และได้รับรู้ว่าแนวคิดที่มีต้นกำเนิดมาจากจีนเป็นปรัชญาที่โดดเด่นของญี่ปุ่น
นักปรัชญาขงจื่อใหม่ชาวญี่ปุ่น
- Fujiwara Seika (1561–1619)
- Hayashi Razan (1583–1657)
- Nakai Tōju (1608–1648)
- Yamazaki Ansai (1619–1682)
- Kumazawa Banzan (1619–1691)
- Kinoshita Jun'an (1621–1698)
- Yamaga Sokō (1622–1685)
- Itō Jinsai (1627–1705)
- Kaibara Ekken (aka Ekiken) (1630–1714)
- Satō Naokata (1650?–1719)
- Asami Keisai (1652–1712)
- Arai Hakuseki (1657–1725)
- Muro Kyūsō (1658–1734)
- Miyake Sekian (1665–1730)
- Ogyū Sorai (1666–1728)
- Amenomori Hōshū (1668–1755)
- Itō Tōgai (1670–1736)
- Matsumiya Kanzan (1686–1780)
- Goi Ranshū (1697–1762)
- Nakai Chikuzan (1730–1804)
- Hosoi Heishu (1728–1801)
- Ōshio Heihachirō (1793–1837)
- Yamada Hōkoku (1805–1877)
ดูเพิ่มเติม
อ้างอิง
อ้างอิง
- Chan, Wing-tsit (1963), A Sourcebook of Chinese Philosophy, Princeton: Princeton University Press, ISBN
- Chang, Wing-tsit (1946), China. Berkeley and Los Angeles: University of California Press.
- Craig, Edward (1998), Routledge Encyclopedia of Philosophy, Volume 7, Taylor & Francis, ISBN
- Huang, Siu-chi (1999), Essentials of Neo-Confucianism: Eight Major Philosophers of the Song and Ming Periods, Westport: Greenwood Press, ISBN
- Tsutsui, William H. (2009), A Companion to Japanese History, John Wiley & Sons, ISBN
wikipedia, แบบไทย, วิกิพีเดีย, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด, บทความ, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม, มือถือ, โทรศัพท์, Android, iOS, Apple, โทรศัพท์โมบิล, Samsung, iPhone, Xiomi, Xiaomi, Redmi, Honor, Oppo, Nokia, Sonya, MI, PC, พีซี, web, เว็บ, คอมพิวเตอร์
lththikhngcuxihmaebbexoda epnthiruckkninchuxphasayipunwa chuchi ngakhu 朱子学 Shushigaku epnsankprchyathiphthnakhuninyipunsmyexoda lththikhngcuxihmerimekhamainyipunchwngyukhkhamakhura hlkprchyanimilksnathiennkhwamemttaaelakhwammiehtuphlsungechuxwaerasamarthekhaicckrwaliddwyehtuphlkhxngmnusyaelakhunxyukbmnusythicasrangkhwamsmphnthxnprasanklmklunknrahwangckrwalkbpceckbukhkhl insmystwrrsthi 17 ochkuntrakulothkhungawa idnaprchyakhxnglththikhngcuxihmmaichepnhlkkarinkarpkkhrxngprachachn nkprachykhngcuxihm idaek aela sungmibthbathsakhyinkarsrangnalththikhngcuxihmmaichepnekhruxngmuxinprchyakaremuxngsmyihmtxntnxnoddednkhxngyipunprawtisastrfuciwara eska cakhnngsuxphasayipun 先哲像伝 fuciwaraepnhnunginphubukebikthisakhykhxnglththikhngcuxihminyipun lththikhngcuxihmmitnkaenidinsmyrachwngsthngkhxngcin nkprchyakhngcuxxyangaelahlixawmixiththiphltxnkprchyakhngcuxihmsmyrachwngssng nkprchyakhngcuxaehngrachwngssngkhunchuxwaepn phubukebiklththikhngcuxihm thiaethcringkhnaerk odyichaenwkhidxphiprchyakhxngetaepnkrxbsahrbprchyathangcriythrrm lththikhngcuxihmphthnakhunephuxfunfuaenwkhidlththikhngcuxdngedimaelaepnptikiriyaottxbkbkhwamkhidkhxngphuththsasnaaelalththieta aemwankprchyakhngcuxihmcaptiesthxphiprchyakhxngphuthth aetlththikhngcuxihmkidhyibyumkhasphthaelaaenwkhidkhxnglththietaaelaphuththsasnamaich lththikhngcuxidekhamainyipuninchwngplaysmykhamakhura mikarephyaephxnepnkarsuksakhnphunthansahrbphraphiksuinkarfukptibtikhxngsmakhmwdesnxyang Gozan inkhnathithvsdikhxnglththikhngcuxihm idrbkarthaythxdphankhaxthibayodyphra sungedinthangmaeyuxnyipuninpi 1299 cakrachwngshywn yingipkwannkhwamkhidaebbkhngcuxihm idmacakphlngankhxng aela cusi aelaxudmkarndngedimkhxngcinaelaekahliinewlann karefixngfukhxnglththikhngcuxihminyipunidrbkarsnbsnuncakrthbalothkungawa sungsnbsnunihmikarcdtngxudmkarnthangolkaehngchatiephuxepnwithikaresrimsrangkdhmaythiichpkkhrxngthangkaremuxnginpraeths prchyakhngcuxidekhamathungyipunkxnhnaniinstwrrsthi 14 aetkhwamruekiywkblththikhngcuxthukcakdechphaaphraesn thiehnwalththikhngcuxmikhwamnasnicthangstipyya aetepnrxngcaknikayesn aelabangsank echn phubukebiklththikhngcuxkhxngyipun khux xditphuptibtinganprchyaesnthisnicinkhwamkhidkhxngkhngcux sunginthisudkptiesthaenwkhidesnihklayepnhnunginphusnbsnunhlkkhxnglththikhngcuxnioxinyipun hayachirasn nkeriynkhxngfuciwararbichochkunothkhungawaaelaodykarxupthmphkhxngrthksamarthkxtng sthabnochehxioka id hlngcakthi Kansei Edict id kahndih Neo Confucianism epnxudmkarnxyangepnthangkarkhxngyipunsthabn Shoheiko kidklayepnphumixanacinkarpkkhrxngaebblththikhngcux aemwaorngeriynthiaetktangknkhxnglththiniox khngcuxcathukhamxyangepnthangkar aetorngeriynyngkhngxyuinyipun nkprchyachawyipun Toju Nakae epnhnunginkrniechnnisungidrbxiththiphlcak heterodox Wang Yangming makkwathiekhaepndngedimkhxng Zhu Xi instwrrsthi 17 aela 18 mikarefuxngfukhxngsankprchyasungthathaylththikhngcuxihminyipun phusnbsnunsankokhkhungakhu Kokugaku otaeyngwachawyipunobranepntwaethnkhxngkhunthrrmkhxngkhngcuxiddikwachawcinobran aelakhwrihkhwamsakhykbpyyamakkwatanankhlassikkhxngyipunobranaelasasnachinotsungepnsasnaphunemuxngkhxngyipun aemwakhuaekhngthangprchyarahwangsankokhkhungakhu Kokugaku aela lththikhngcuxihm Neo Confucianism cadarngxyurwmkninthanaaenwkhidthangprchyathioddednkhxngyipuncnkrathngkaridrbxiththiphlcakprchyatawntkinyukhemciprchyaechnediywkblththikhngcuxaebbcinaelaekahli lththikhngcuxihmaebbexoda Edo Neo Confucianism epnprchyasngkhmaelacriysastrthixyubnthankhxngaenwkhidxphiprchya prchyamilksnaaenwkhidaebbmnusyniymaelaehtuphlniymodymikhwamechuxwaerasamarthekhaicckrwaliddwyehtuphlkhxngmnusy aelakhunxyukbtwmnusythicasrangkhwamsmphnththiprasanklmklunknrahwangckrwalaelapceckbukhkhl sankehtuphlniym hliesw khxnglththikhngcuxihmtrngknkhamkblththirhsynykhxngsasnaphuththnikayesnthimixiththiphlkxnhnaniinyipun nkprchyakhngcuxihmechuxwamnusymitwtnxyucring aelamnusychatisamarthekhaickardarngxyukhxngmnusyid aemwakartikhwamkhxngkhwamepncringkhunxyukbprchyakhngcuxihm sungmikhwamaetktangcaksasnaphuthth aetcitwiyyankhxngnkprchyakhngcuxihm sankehtuphlniym idkhdkhanaenwkhidrhsynykhxngphuththsasna inkhnathisasnaphuththyngyunynineruxngkhxngkhwamepnsuyytakhxngsrrphsing lththikhngcuxihmidennyainkhwamepncring sasnaphuththaelalththietamungennihmnusylatwtn aelahnklbiphasukhwamimmitwtn lththikhngcuxihmehnwakhwamepncringepnkarthaihepncringkhxngkhnsungsudxyangkhxyepnkhxyip sasnaphuththaelalththietaennkarthasmathi ephuxehnaecngaelabrrluinehtuphlsungsud nkprchyakhngcuxihmcungeluxkthicanaaenwkhidehtuphlkhxngsasnaphuththaelalththietamasrangkhaxthibayxphiprchyainlththikhngcux prchyainaengmumthangsngkhmmikarcdladbchnodyennthikhwamktyyu singnikxihekidkarcdladbchnthangsngkhmaebbkhngcuxinsngkhmexodathikxnhnaniimekhymimakxn odyinsngkhmyipunidaebngxxkepn 4 chnchnhlk idaek samuir sungthuixwaethiybethakbkhxngcinthixyudanbnsudkhxngladbchnthangsngkhm caknnkkhux chawna aelaphxkha samuirepnnkxantwyngaelaepnkhrusxnaenwkhidkhxnglththikhngcuxinyipun odyidkxtngsthabnkarsuksakhngcuxkhunepncanwnmak lththikhngcuxihmidnaxngkhprakxbkhxngaenwkhidchatiphnthuniymekhamainyipun inkhnathilththikhngcuxihmkhxngcinthuxwawthnthrrmkhxngtnexngepnsunyklangkhxngolk nkprchyakhngcuxihmchawyipunidphthnamaepnkhwamphakhphumiicinchatikhxngtnexngthikhlaykhlungkbcin khwamphakhphumiickhxngchatinicaphthnaipsusankprchyasunginewlatxmaidepnptikiriyakblththikhngcuxihmaelaidrbruwaaenwkhidthimitnkaenidmacakcinepnprchyathioddednkhxngyipunnkprchyakhngcuxihmchawyipunFujiwara Seika 1561 1619 Hayashi Razan 1583 1657 Nakai Tōju 1608 1648 Yamazaki Ansai 1619 1682 Kumazawa Banzan 1619 1691 Kinoshita Jun an 1621 1698 Yamaga Sokō 1622 1685 Itō Jinsai 1627 1705 Kaibara Ekken aka Ekiken 1630 1714 Satō Naokata 1650 1719 Asami Keisai 1652 1712 Arai Hakuseki 1657 1725 Muro Kyusō 1658 1734 Miyake Sekian 1665 1730 Ogyu Sorai 1666 1728 Amenomori Hōshu 1668 1755 Itō Tōgai 1670 1736 Matsumiya Kanzan 1686 1780 Goi Ranshu 1697 1762 Nakai Chikuzan 1730 1804 Hosoi Heishu 1728 1801 Ōshio Heihachirō 1793 1837 Yamada Hōkoku 1805 1877 duephimetimkarptiruppiekhiywohxangxingHuang 1999 Chan 2002harvnb error no target CITEREFChan2002 Craig 1998 Tsutsui 2009 Tsutsui 2009 Tsutsui 2009 Craig 1998 xangxingChan Wing tsit 1963 A Sourcebook of Chinese Philosophy Princeton Princeton University Press ISBN 978 0 691 07137 4 Chang Wing tsit 1946 China Berkeley and Los Angeles University of California Press Craig Edward 1998 Routledge Encyclopedia of Philosophy Volume 7 Taylor amp Francis ISBN 978 0 415 07310 3 Huang Siu chi 1999 Essentials of Neo Confucianism Eight Major Philosophers of the Song and Ming Periods Westport Greenwood Press ISBN 978 0 313 26449 8 Tsutsui William H 2009 A Companion to Japanese History John Wiley amp Sons ISBN 978 1 4051 9339 9