ภาษาเลปชา(อักษรเลปชา: ; Róng ríng)เป็นภาษาที่พูดโดยชาวเลปชา ในรัฐสิกขิม อินเดีย รวมทั้งบางส่วนของเนปาลและภูฏาน เขียนด้วยอักษรเลปชา ต้นกำเนิดของอักษรนี้ยังคลุมเครือ เริ่มแรกเขียนในแนวตั้งแบบเดียวกับอักษรจีน จัดเป็นภาษาท้องถิ่นในบริเวณที่ใช้พูด มีผู้พูดราว 50,000 คน
ภาษาเลปชา | |
---|---|
ประเทศที่มีการพูด | รัฐสิกขิม อินเดีย บางส่วนของเนปาลและภูฏาน |
จำนวนผู้พูด | 50,000 คน (ไม่พบวันที่) |
ตระกูลภาษา | จีน-ทิเบต
|
ระบบการเขียน | อักษรเลปชา |
รหัสภาษา | |
ISO 639-3 | lep |
ประชากร
ภาษาเลปชาใช้พูดโดยชนกลุ่มน้อยในรัฐสิกขิม และรัฐเบงกอลตะวันตกรวมทั้งในเนปาลและภูฏาน ภาษานี้จัดเป็นภาษาดั้งเดิมก่อนการมาถึงของภาษาทิเบตและภาษาเนปาลี ผู้พูดภาษาเลปชามีหลายกลุ่ม โดยกลุ่มที่อยู่ในอินเดียมีมากกว่าเนปาลและภูฏาน โดยประมาณ คาดว่าผู้พูดภาษาเลปชามีประมาณ 53,000 คน โดยมีผู้พูดเป็นภาษาแม่ราว 30,000 คน
การจัดจำแนก
ภาษาเลปชาเป็นภาษาที่จัดจำแนกได้ยาก Van Driem (2001) เสนอว่าเป็นภาษาใกล้เคียงกับกลุ่มภาษามหากิรันตี ซึ่งเป็นกลุ่มย่อยของกลุ่มภาษาหิมาลัย ในอีกด้านหนึ่ง SILได้จัดให้ภาษาเลปชาอยู่ในกลุ่มภาษาหิมาลัย ซึ่งจัดเป็นกลุ่มพี่น้องกับภาษาทิเบต-กานุยรีภาษาเลปชาเป็นภาษาที่หลากหลาย มีรากศัพท์ที่ได้รับอิทธิพลจากภาษาอื่นๆหลายกลุ่ม โดยเฉพาะภาษาเนปาลและภาษาสิกขิม
ลักษณะ
ภาษาเลปชาเป็นภาษาในกลุ่มภาษาทิเบต-พม่าที่ไม่มีวรรณยุกต์ แม้จะมีเครื่องหมายกำกับเสียงในอักษรเลปชา รากศัพท์เป็นคำพยางค์เดียว
อักษรและการถอดเป็นอักษรโรมัน
อักษรเลปชาเป็นการเขียนแบบพยางค์ ที่มีเครื่องหมายและการเชื่อมต่อ ในช่วงแรก อักษรเลปชาเขียนในแนวตั้ง ซึ่งแสดงอิทธิพลจากภาษาจีน ก่อนที่จะมีอักษรเลปชา เคยเขียนด้วยอักษรทิเบต มีการนำอักษรโรมันมาใช้กับภาษานี้ซึ่งมีหลายระบบ ทั้งระบบที่อิงตามภาษาอังกฤษ ภาษาฝรั่งเศส หรือภาษาเยอรมัน ซึ่งใช้โดยนักวิชาการชาวตะวันตก
ไวยากรณ์
การเรียงคำเป็นแบบประธาน-กรรม-กริยา ลักษณะของภาษาเป็นแบบรูปคำติดต่อทำให้คำในภาษาเลปชามี 1-2 พยางค์ นอกจากนั้นยังมีลักษณะของการกเกี่ยวพันในการบรรยายเหตุการณ์ ภาษาเลปชามีการกสำหรับนาม 2 การก มีคำนำหน้านามชี้เฉพาะ –re และการกกรรม –m เครื่องหมายอื่นๆแสดงด้วยปรบท
อ้างอิง
- Coulmas, Florian. The Blackwell Encyclopedia of Writing Systems. Blackwell, 1996
- Plaisier, Heleen (2007). A grammar of Lepcha. Tibetan studies library: Languages of the greater Himalayan region. Vol. 5. . ISBN .
- van Driem, George (2001). Languages of the Himalayas: An Ethnolinguistic Handbook of the Greater Himalayan Region. Brill. ISBN .
- Lewis, M. Paul, บ.ก. (2009). "Lepcha". Ethnologue: Languages of the World (16 ed.). Dallas, Texas: SIL International. สืบค้นเมื่อ 2011-04-16.
- Coulmas, Florian (1996). The Blackwell Encyclopedia of Writing Systems. Blackwell. ISBN .
wikipedia, แบบไทย, วิกิพีเดีย, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด, บทความ, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม, มือถือ, โทรศัพท์, Android, iOS, Apple, โทรศัพท์โมบิล, Samsung, iPhone, Xiomi, Xiaomi, Redmi, Honor, Oppo, Nokia, Sonya, MI, PC, พีซี, web, เว็บ, คอมพิวเตอร์
phasaelpcha xksrelpcha Rong ring epnphasathiphudodychawelpcha inrthsikkhim xinediy rwmthngbangswnkhxngenpalaelaphutan ekhiyndwyxksrelpcha tnkaenidkhxngxksrniyngkhlumekhrux erimaerkekhiyninaenwtngaebbediywkbxksrcin cdepnphasathxngthininbriewnthiichphud miphuphudraw 50 000 khnphasaelpchapraethsthimikarphudrthsikkhim xinediy bangswnkhxngenpalaelaphutancanwnphuphud50 000 khn imphbwnthi trakulphasacin thiebt trakulphasayxythiebt phmaphasaelpcharabbkarekhiynxksrelpcharhsphasaISO 639 3lepprachakrphasaelpchaichphudodychnklumnxyinrthsikkhim aelarthebngkxltawntkrwmthnginenpalaelaphutan phasanicdepnphasadngedimkxnkarmathungkhxngphasathiebtaelaphasaenpali phuphudphasaelpchamihlayklum odyklumthixyuinxinediymimakkwaenpalaelaphutan odypraman khadwaphuphudphasaelpchamipraman 53 000 khn odymiphuphudepnphasaaemraw 30 000 khnkarcdcaaenkphasaelpchaepnphasathicdcaaenkidyak Van Driem 2001 esnxwaepnphasaiklekhiyngkbklumphasamhakirnti sungepnklumyxykhxngklumphasahimaly inxikdanhnung SILidcdihphasaelpchaxyuinklumphasahimaly sungcdepnklumphinxngkbphasathiebt kanuyriphasaelpchaepnphasathihlakhlay miraksphththiidrbxiththiphlcakphasaxunhlayklum odyechphaaphasaenpalaelaphasasikkhimlksnaphasaelpchaepnphasainklumphasathiebt phmathiimmiwrrnyukt aemcamiekhruxnghmaykakbesiynginxksrelpcha raksphthepnkhaphyangkhediywxksraelakarthxdepnxksrormnxksrelpchaepnkarekhiynaebbphyangkh thimiekhruxnghmayaelakarechuxmtx inchwngaerk xksrelpchaekhiyninaenwtng sungaesdngxiththiphlcakphasacin kxnthicamixksrelpcha ekhyekhiyndwyxksrthiebt mikarnaxksrormnmaichkbphasanisungmihlayrabb thngrabbthixingtamphasaxngkvs phasafrngess hruxphasaeyxrmn sungichodynkwichakarchawtawntkiwyakrnkareriyngkhaepnaebbprathan krrm kriya lksnakhxngphasaepnaebbrupkhatidtxthaihkhainphasaelpchami 1 2 phyangkh nxkcaknnyngmilksnakhxngkarkekiywphninkarbrryayehtukarn phasaelpchamikarksahrbnam 2 kark mikhanahnanamchiechphaa re aelakarkkrrm m ekhruxnghmayxunaesdngdwyprbthxangxingCoulmas Florian The Blackwell Encyclopedia of Writing Systems Blackwell 1996Plaisier Heleen 2007 A grammar of Lepcha Tibetan studies library Languages of the greater Himalayan region Vol 5 ISBN 90 04 15525 2 van Driem George 2001 Languages of the Himalayas An Ethnolinguistic Handbook of the Greater Himalayan Region Brill ISBN 90 04 12062 9 Lewis M Paul b k 2009 Lepcha Ethnologue Languages of the World 16 ed Dallas Texas SIL International subkhnemux 2011 04 16 Coulmas Florian 1996 The Blackwell Encyclopedia of Writing Systems Blackwell ISBN 0 631 21481 X