พืชเมล็ดเปลือย (อังกฤษ: gymnosperms) หรือ Acrogymnospermae เป็นกลุ่มหนึ่งที่ประกอบด้วยสน ปรง แปะก๊วย และ คำ gymnosperm มาจากการรวมคำภาษากรีกโบราณ 2 คำคือ γυμνός (gumnós, “เปลือย”) และ σπέρμα (spérma, “เมล็ด”) สาเหตุที่เรียกพืชเมล็ดเปลือยเนื่องจากเมล็ดไม่ได้ถูกห่อหุ้มด้วยเพราะไม่มีดอก โดยเมล็ดเจริญบนแผ่นใบ โคน หรือเจริญอยู่เดี่ยว ๆ ดังที่พบในสกุล และ Ginkgo ต่างจากพืชดอกที่เมล็ดห่อหุ้มด้วยรังไข่ซึ่งต่อมาเจริญเป็นผล
พืชเมล็ดเปลือย ช่วงเวลาที่มีชีวิตอยู่: ยุคคาร์บอนิเฟอรัส–ปัจจุบัน | |
---|---|
พืชเมล็ดเปลือยหลากชนิด | |
การจำแนกชั้นทางวิทยาศาสตร์ | |
โดเมน: | ยูแคริโอต |
อาณาจักร: | พืช |
เคลด: | พืชมีท่อลำเลียง |
เคลด: | |
เคลด: | Gymnosperms |
ขยาย: Pinophyta (หรือ Coniferophyta) – สน สูญพันธุ์: - เฟิร์นเมล็ด |
พืชเมล็ดเปลือยและพืชดอกเป็นสองกลุ่มที่รวมกันเป็นพืชมีเมล็ด (spermatophytes) พืชเมล็ดเปลือยประกอบด้วย 6 ไฟลัม 4 ไฟลัมที่ยังหลงเหลือ ได้แก่ ไซแคโดไฟตา (Cycadophyta) กิงโกไฟตา (Ginkgophyta) เนโทไฟตา (Gnetophyta) และพิโนไฟตา (Pinophyta) ขณะที่อีก 2 ไฟลัมคือ (Pteridospermatophyta) และ (Cordaitales) นั้นสูญพันธุ์แล้ว ในบรรดา 4 ไฟลัมที่ยังหลงเหลือ สนเป็นไฟลัมที่มีจำนวนชนิดมากที่สุด รองลงมาคือปรง เนโทไฟต์ (สกุลมะเมื่อย เวลวิชเซีย) และแปะก๊วย
บางสกุล (Pinus) มีไมคอร์ไรซาอยู่ร่วมกับรากพืช บางสกุล (Cycas) มีรากพิเศษที่เรียกว่าคอรัลลอยด์ (coralloid) ที่มีแบคทีเรียตรึงไนโตรเจนมาอาศัยอยู่
พืชเมล็ดเปลือยมีช่วงเป็นช่วงเด่นในวงจรชีวิตเช่นเดียวกับพืชมีท่อลำเลียง สปอร์สองชนิดคือไมโครสปอร์และเมกะสปอร์จะถูกสร้างที่โคนเพศผู้และโคนเพศเมียตามลำดับ ในช่วง จะมีการสร้างละอองเรณูจากไมโครสปอร์ ขณะที่เมกะแกมีโตไฟต์หรือเซลล์ไข่จะถูกสร้างจากเมกะสปอร์และถูกเก็บไว้ในออวุล ระหว่างการถ่ายเรณู ละอองเรณูจะถูกลมหรือแมลงพาไปยังออวุลของอีกต้น ละอองเรณูจะผ่านเข้าช่องเล็ก ๆ ของเยื่อหุ้มออวุลไปพบกับเซลล์ไข่และเกิดการปฏิสนธิ หลังจากนั้นไซโกตจะพัฒนาเป็นเอ็มบริโอและเมล็ด
การจำแนกประเภท
การจำแนกประเภทอย่างเป็นทางการของพืชเมล็ดเปลือยที่ยังมีหลงเหลือเรียกว่า Acrogymnospermae ซึ่งเป็นกลุ่มโมโนไฟเลติกใน กลุ่ม Gymnospermae ที่กว้างกว่ารวมถึงพืชเมล็ดเปลือยที่สูญพันธุ์และเชื่อว่าเป็น ซึ่งฟอสซิลที่พบไม่เข้ากับพืช 4 กลุ่มที่ยังหลงเหลือ โดยมีลักษณะเป็นพืชมีเมล็ดคล้ายเฟิร์น (บางครั้งเรียก หรือเฟิร์นมีเมล็ด)
ปัจจุบันพืชเมล็ดเปลือยที่ยังหลงเหลืออยู่ประกอบด้วย 12 วงศ์หลัก 83 สกุล และมากกว่า 1,000 ชนิด
ชั้นย่อย
- อันดับ Cycadales
- วงศ์ Cycadaceae: Cycas
- วงศ์ Zamiaceae: Dioon, Bowenia, Macrozamia, Lepidozamia, Encephalartos, Stangeria, Ceratozamia, Microcycas, Zamia
ชั้นย่อย
- อันดับ Ginkgoales
- วงศ์ Ginkgoaceae: Ginkgo
ชั้นย่อย
- อันดับ Welwitschiales
- วงศ์ Welwitschiaceae: Welwitschia
- อันดับ Gnetales
- วงศ์ Gnetaceae: Gnetum
- อันดับ
- วงศ์ : Ephedra
ชั้นย่อย
- อันดับ
- วงศ์ Pinaceae: Cedrus, Pinus, Cathaya, Picea, Pseudotsuga, Larix, Pseudolarix, Tsuga, Nothotsuga, Keteleeria, Abies
- อันดับ Araucariales
- วงศ์ Araucariaceae: Araucaria, Wollemia, Agathis
- วงศ์ : Phyllocladus, Lepidothamnus, Prumnopitys, Sundacarpus, Halocarpus, Parasitaxus, Lagarostrobos, Manoao, Saxegothaea, Microcachrys, Pherosphaera, Acmopyle, Dacrycarpus, Dacrydium, Falcatifolium, Retrophyllum, Nageia, Afrocarpus, Podocarpus
- อันดับ Cupressales
- วงศ์ Sciadopityaceae: Sciadopitys
- วงศ์ : Cunninghamia, Taiwania, Athrotaxis, Metasequoia, Sequoia, Sequoiadendron, Cryptomeria, Glyptostrobus, Taxodium, Papuacedrus, Austrocedrus, Libocedrus, Pilgerodendron, Widdringtonia, Diselma, Fitzroya, Callitris, Actinostrobus, Neocallitropsis, Thujopsis, Thuja, Fokienia, Chamaecyparis, Cupressus, Juniperus, Calocedrus, Tetraclinis, Platycladus, Microbiota
- วงศ์ : Austrotaxus, Pseudotaxus, Taxus, Cephalotaxus, Amentotaxus, Torreya
สูญพันธุ์แล้ว
- อันดับ
- วงศ์
- วงศ์
- อันดับ
- อันดับ
- อันดับ
ความหลากหลายและต้นกำเนิด
ปัจจุบันมีพืชเมล็ดเปลือยอยู่มากกว่า 1,000 สปีชีส์ เป็นที่ยอมรับในวงกว้างว่าพืชเมล็ดเปลือยมีกำเนิดในตอนปลายของยุคคาร์บอนิเฟอรัส และเข้าแทนที่ป่าฝนไลโคไฟต์ในเขตร้อน เชื่อว่ามีกำเนิดจากการทำสำเนาของยีนทั้งชุดเมื่อประมาณ 319 ล้านปีที่แล้ว ลักษณะเฉพาะของพืชมีเมล็ดในช่วงแรก ๆ เป็นที่ประจักษ์ในซากดึกดำบรรพ์ของพืชกลุ่ม (progymnosperm) จากยุคดีโวเนียนตอนปลายเมื่อประมาณ 383 ล้านปีที่แล้ว ยังมีข้อเสนออีกว่า ในตอนกลางของมหายุคมีโซโซอิก สปีชีส์ที่สูญพันธ์แล้วช่วยถ่ายเรณูของพืชเมล็ดเปลือยที่สูญพันธ์ไปแล้วบางกลุ่ม โดยแมลงนี้มีการพัฒนา (proboscis) ขึ้นมาเพื่อดูดกินน้ำต้อย และเป็นไปได้ว่ามีความสัมพันธ์แบบพึ่งพาจากการถ่ายเรณูกับพืชเมล็ดเปลือย โดยเกิดขึ้นมาก่อนที่จะมีวิวัฒนาการร่วมอีกแบบที่ใกล้เคียงกันจากแมลงที่กินน้ำหวานของพืชดอก นอกจากนี้มีการค้นพบหลักฐานที่ว่าผีเสื้อในวงศ์ ซึ่งสูญพันธุ์แล้วช่วยผสมเรณูของพืชเมล็ดเปลือยในตอนกลางของมหายุคมีโซโซอิก สมาชิกผีเสื้อในวงศ์นี้มีความคล้ายคลึงกับผีเสื้อยุคใหม่ที่เกิดขึ้นหลังจากนั้นนานมาก
พืขกลุ่มสนเป็นพืชเมล็ดเปลือยที่หลงเหลืออยู่ที่มีความหลากหลายมากที่สุด โดยมีอยู่เจ็ดถึงแปดวงศ์ รวม 65–70 สกุล และ 600–630 สปีชีส์ (มีอยู่ 696 ชื่อที่ยอมรับกัน) สนเป็นไม้เนื้อเแข็ง ส่วนมากไม่ผลัดใบ ใบมีลักษณะยาว เรียวแหลมเหมือนเข็ม สมาชิกส่วนใหญ่ในวงศ์ Cupressaceae และบางส่วนใน Podocarpaceae มีใบแบนรูปสามเหลี่ยม คล้ายเกล็ดปลา สำหรับสกุล ในวงศ์ Araucariaceae และสกุล ในวงศ์ Podocarpaceae มีใบแบนกว้าง ลักษณะคล้ายสายรัด
กลุ่มปรงเป็นกลุ่มที่มีความหลากหลายรองลงมา โดยมีสองหรือสามวงศ์ 11 สกุล ประมาณ 338 สปีชีส์ ส่วนใหญ่มีถิ่นกำเนิดอยู่ในภูมิอากาศเขตร้อน และพบได้มากที่สุดในบริเวณใกล้เส้นศูนย์สูตร พืชเมล็ดเปลือยอีกพวกที่ยังคงเหลืออยู่ได้แก่กลุ่มมะเมื่อยและแปะก๊วย ที่รวมกันได้ประมาณ 95–100 สปีชีส์
| Gymnospermae |
วงจรชีวิต
เช่นเดียวกับพืชมีท่อลำเลียงอื่น ๆ จิมโนสเปิร์มมีช่วงชีวิตที่สปอร์โรไฟต์เด่น ซึ่งหมายความว่าพืชเมล็ดเปลือยใช้เวลาเกือบทั้งหมดในวงจรชีวิตเป็นเซลล์ดิพลอยด์ (diploid cell) ในขณะที่ (gametophyte; ระยะสร้างเซลล์สืบพันธุ์) ดำรงอยู่ในระยะเวลาที่ค่อนข้างสั้น สปอร์ที่มีอยู่สองชนิด คือ ไมโครสปอร์และเมกะสปอร์ ถูกสร้างขึ้นในโคนตัวผู้และโคนตัวเมีย ตามลำดับ แกมีโทไฟต์เจริญอยู่ภายในผนังสปอร์ ละอองเรณู (ไมโครแกมีโทไฟต์) พัฒนามาจากไมโครสปอร์ และทัยที่สุดจะกลายเป็นสเปิร์ม เมกะแกมีโทไฟต์พัฒนามาจากเมกะสปอร์ และถูกเก็บไว้ภายในรังไข่ พืชเมล็ดเปลือยมีการสร้างขึ้นมาหลายอันเพื่อสร้างเซลล์สืบพันธุ์เพศเมีย ระหว่างการถ่ายละอองเรณู เรณูจะถูกเคลื่อนย้ายข้ามต้น จากโคนสร้างเรณูมายังรังไข่ ด้วยวิธีการทางกายภาพ โดยมักเป็นกระแสลมหรือแมลง ทั้งเรณูจะเข้าไปในรังไข่ผ่านช่องเปิดขนาดเล็ก ๆ ที่อยู่บน (integument) เรียกว่าไมโครไพล์ (micropyle) จากนั้นเรณูจะเจริญเติบโตเต็มที่อยู่ภายในรังไข่ กลายเป็นสเปิร์ม ในพืชเมล็ดเปลือยพบว่ามีวิธีการเข้าปฏิสนธิอยู่สองแบบ คือ สเปิร์มเคลื่อนที่เข้าผสมกับไข่โดยตรงภายในรังไข่ พบในปรงและแปะก๊วย และแบบที่สองคือ สเปิร์มที่ไม่มีแฟลเจลลาเคลื่อนผ่าน (pollen tube) ไปยังไข่ พบในสนและมะเมื่อย หลังจากการหลอมรวมเซลล์ (syngamy) ไซโกตจะพัฒนาไปเป็นเอมบริโอ (young sporophyte) ในหนึ่งเมล็ดอาจพบเอมบริโอได้มากกว่าหนึ่ง เมล็ดที่พัฒนาเต็มที่ประกอบด้วยเอมบริโอ และส่วนที่ยังเหลืออยู่ของแกมีโทไฟต์เพศเมีย ซึ่งส่วนนี้ทำหน้าที่เป็นแหล่งสะสมอาหาร และเปลือกหุ้มเมล็ด
คุณค่า
พืชเมล็ดเปลือยมีคุณค่าทางเศรษฐกิจ สนเขา สปรูซ และเป็นตัวอย่างพืชกลุ่มสนที่นำมาทำเป็นไม้แปรรูป ผลิตกระดาษ และเรซิน ประโยชน์อื่น ๆ ของพืชเมล็ดเปลือย ได้แก่ สบู่ ยาทาเล็บ น้ำหอม และอาหาร
อ้างอิง
- "Definition of gymnosperm". Merriam-Webster. สืบค้นเมื่อ February 18, 2021.
- Grant, Bonnie (July 21, 2017). "Do Gymnosperms Produce Flowers & Fruit?". Sciencing. สืบค้นเมื่อ February 18, 2021.
- . Theplantlist.org. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2013-08-24. สืบค้นเมื่อ 2013-07-24.
- Bailey, Regina (May 2, 2018). "What Are Gymnosperms?". ThoughtCo. สืบค้นเมื่อ February 18, 2021.
- Delevoryas, Theodore. "Gymnosperm plants". Britannica. สืบค้นเมื่อ February 18, 2021.
- Raven, P.H. (2013). Biology of Plants. New York: W.H. Freeman and Co.
- Cantino 2007.
- Christenhusz, M.J.M.; Reveal, J.L.; Farjon, A.; Gardner, M.F.; Mill, R.R.; Chase, M.W. (2011). "A new classification and linear sequence of extant gymnosperms" (PDF). Phytotaxa. 19: 55–70. doi:10.11646/phytotaxa.19.1.3.
- Hilton, Jason, and Richard M. Bateman. 2006. Pteridosperms are the backbone of seed-plant phylogeny. Journal of the Torrey Botanical Society 133: 119–168 (abstract)
- Christenhusz, M. J. M.; Byng, J. W. (2016). "The number of known plants species in the world and its annual increase". Phytotaxa. 261 (3): 201–217. doi:10.11646/phytotaxa.261.3.1.
- Sahney, S.; Benton, M.J. & Falcon-Lang, H.J. (2010). "Rainforest collapse triggered Pennsylvanian tetrapod diversification in Euramerica". Geology. 38 (12): 1079–1082. Bibcode:2010Geo....38.1079S. doi:10.1130/G31182.1.
- Campbell and Reece; Biology, Eighth edition
- Jiao Y, Wickett NJ, Ayyampalayam S, Chanderbali AS, Landherr L, Ralph PE, Tomsho LP, Hu Y, Liang H, , , Clifton SW, Schlarbaum SE, Schuster SC, Ma H, Leebens-Mack J, Depamphilis CW (2011) Ancestral polyploidy in seed plants and angiosperms. Nature
- Ollerton, J.; Coulthard, E. (2009). "Evolution of Animal Pollination". Science. 326 (5954): 808–809. Bibcode:2009Sci...326..808O. doi:10.1126/science.1181154. PMID 19892970. S2CID 856038.
- Ren, D; Labandeira, CC; Santiago-Blay, JA; Rasnitsyn, A; และคณะ (2009). "A Probable Pollination Mode Before Angiosperms: Eurasian, Long-Proboscid Scorpionflies". Science. 326 (5954): 840–847. Bibcode:2009Sci...326..840R. doi:10.1126/science.1178338. PMC 2944650. PMID 19892981.
- Labandeira, Conrad C.; Yang, Qiang; Santiago-Blay, Jorge A.; Hotton, Carol L.; Monteiro, Antónia; Wang, Yong-Jie; Goreva, Yulia; Shih, ChungKun; Siljeström, Sandra; Rose, Tim R.; Dilcher, David L.; Ren, Dong (2016). "The evolutionary convergence of mid-Mesozoic lacewings and Cenozoic butterflies". Proceedings of the Royal Society B: Biological Sciences. 283 (1824): 20152893. doi:10.1098/rspb.2015.2893. PMC 4760178. PMID 26842570.
- Catalogue of Life: 2007 Annual checklist – Conifer database มกราคม 15, 2009 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน
- Campbell, Reece, "Phylum Coniferophyta."Biology. 7th. 2005. Print. P.595
- Walters, Dirk R Walters Bonnie By (1996). Vascular plant taxonomy. Dubuque, Iowa: Kendall/Hunt Pub. Co. p. 124. ISBN .
Gymnosperm seeds.
บรรณานุกรม
แหล่งข้อมูลอื่น
- Gymnosperm Database
- Albert Seward (1911). . สารานุกรมบริตานิกา ค.ศ. 1911 (11 ed.).
wikipedia, แบบไทย, วิกิพีเดีย, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด, บทความ, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม, มือถือ, โทรศัพท์, Android, iOS, Apple, โทรศัพท์โมบิล, Samsung, iPhone, Xiomi, Xiaomi, Redmi, Honor, Oppo, Nokia, Sonya, MI, PC, พีซี, web, เว็บ, คอมพิวเตอร์
phuchemldepluxy xngkvs gymnosperms hrux Acrogymnospermae epnklumhnungthiprakxbdwysn prng aepakwy aela kha gymnosperm macakkarrwmkhaphasakrikobran 2 khakhux gymnos gumnos epluxy aela sperma sperma emld saehtuthieriykphuchemldepluxyenuxngcakemldimidthukhxhumdwyephraaimmidxk odyemldecriybnaephnib okhn hruxecriyxyuediyw dngthiphbinskul aela Ginkgo tangcakphuchdxkthiemldhxhumdwyrngikhsungtxmaecriyepnphlphuchemldepluxy chwngewlathimichiwitxyu yukhkharbxniefxrs pccubn PreꞒ Ꞓ O S D C P T J K Pg Nphuchemldepluxyhlakchnidkarcaaenkchnthangwithyasastrodemn yuaekhrioxtxanackr phuchekhld phuchmithxlaeliyngekhld ekhld Gymnospermskhyay Pinophyta hrux Coniferophyta sn Ginkgophyta aepakwy Cycadophyta prng Gnetum Ephedra Welwitschia suyphnthu efirnemldokhnkhxng thimikhwamyawkwa 30 sm phuchemldepluxyaelaphuchdxkepnsxngklumthirwmknepnphuchmiemld spermatophytes phuchemldepluxyprakxbdwy 6 iflm 4 iflmthiynghlngehlux idaek isaekhodifta Cycadophyta kingokifta Ginkgophyta enothifta Gnetophyta aelaphionifta Pinophyta khnathixik 2 iflmkhux Pteridospermatophyta aela Cordaitales nnsuyphnthuaelw inbrrda 4 iflmthiynghlngehlux snepniflmthimicanwnchnidmakthisud rxnglngmakhuxprng enothift skulmaemuxy ewlwichesiy aelaaepakwy bangskul Pinus miimkhxrirsaxyurwmkbrakphuch bangskul Cycas mirakphiessthieriykwakhxrllxyd coralloid thimiaebkhthieriytrunginotrecnmaxasyxyu phuchemldepluxymichwngepnchwngedninwngcrchiwitechnediywkbphuchmithxlaeliyng spxrsxngchnidkhuximokhrspxraelaemkaspxrcathuksrangthiokhnephsphuaelaokhnephsemiytamladb inchwng camikarsranglaxxngernucakimokhrspxr khnathiemkaaekmiotifthruxesllikhcathuksrangcakemkaspxraelathukekbiwinxxwul rahwangkarthayernu laxxngernucathuklmhruxaemlngphaipyngxxwulkhxngxiktn laxxngernucaphanekhachxngelk khxngeyuxhumxxwulipphbkbesllikhaelaekidkarptisnthi hlngcaknnisoktcaphthnaepnexmbrioxaelaemldkarcaaenkpraephthkarcaaenkpraephthxyangepnthangkarkhxngphuchemldepluxythiyngmihlngehluxeriykwa Acrogymnospermae sungepnklumomonifeltikin klum Gymnospermae thikwangkwarwmthungphuchemldepluxythisuyphnthuaelaechuxwaepn sungfxssilthiphbimekhakbphuch 4 klumthiynghlngehlux odymilksnaepnphuchmiemldkhlayefirn bangkhrngeriyk hruxefirnmiemld pccubnphuchemldepluxythiynghlngehluxxyuprakxbdwy 12 wngshlk 83 skul aelamakkwa 1 000 chnid chnyxy xndb Cycadales wngs Cycadaceae Cycas wngs Zamiaceae Dioon Bowenia Macrozamia Lepidozamia Encephalartos Stangeria Ceratozamia Microcycas Zamia chnyxy xndb Ginkgoales wngs Ginkgoaceae Ginkgo chnyxy xndb Welwitschiales wngs Welwitschiaceae Welwitschia xndb Gnetales wngs Gnetaceae Gnetum xndb wngs Ephedra chnyxy xndb wngs Pinaceae Cedrus Pinus Cathaya Picea Pseudotsuga Larix Pseudolarix Tsuga Nothotsuga Keteleeria Abies xndb Araucariales wngs Araucariaceae Araucaria Wollemia Agathis wngs Phyllocladus Lepidothamnus Prumnopitys Sundacarpus Halocarpus Parasitaxus Lagarostrobos Manoao Saxegothaea Microcachrys Pherosphaera Acmopyle Dacrycarpus Dacrydium Falcatifolium Retrophyllum Nageia Afrocarpus Podocarpus xndb Cupressales wngs Sciadopityaceae Sciadopitys wngs Cunninghamia Taiwania Athrotaxis Metasequoia Sequoia Sequoiadendron Cryptomeria Glyptostrobus Taxodium Papuacedrus Austrocedrus Libocedrus Pilgerodendron Widdringtonia Diselma Fitzroya Callitris Actinostrobus Neocallitropsis Thujopsis Thuja Fokienia Chamaecyparis Cupressus Juniperus Calocedrus Tetraclinis Platycladus Microbiota wngs Austrotaxus Pseudotaxus Taxus Cephalotaxus Amentotaxus Torreyasuyphnthuaelw xndb wngs wngs xndb xndb xndbkhwamhlakhlayaelatnkaenidpccubnmiphuchemldepluxyxyumakkwa 1 000 spichis epnthiyxmrbinwngkwangwaphuchemldepluxymikaenidintxnplaykhxngyukhkharbxniefxrs aelaekhaaethnthipafnilokhiftinekhtrxn echuxwamikaenidcakkarthasaenakhxngyinthngchudemuxpraman 319 lanpithiaelw lksnaechphaakhxngphuchmiemldinchwngaerk epnthipracksinsakdukdabrrphkhxngphuchklum progymnosperm cakyukhdioweniyntxnplayemuxpraman 383 lanpithiaelw yngmikhxesnxxikwa intxnklangkhxngmhayukhmiososxik spichisthisuyphnthaelwchwythayernukhxngphuchemldepluxythisuyphnthipaelwbangklum odyaemlngnimikarphthna proboscis khunmaephuxdudkinnatxy aelaepnipidwamikhwamsmphnthaebbphungphacakkarthayernukbphuchemldepluxy odyekidkhunmakxnthicamiwiwthnakarrwmxikaebbthiiklekhiyngkncakaemlngthikinnahwankhxngphuchdxk nxkcaknimikarkhnphbhlkthanthiwaphiesuxinwngs sungsuyphnthuaelwchwyphsmernukhxngphuchemldepluxyintxnklangkhxngmhayukhmiososxik smachikphiesuxinwngsnimikhwamkhlaykhlungkbphiesuxyukhihmthiekidkhunhlngcaknnnanmak Zamia integrifolia phuchphunthinkhxngflxrida phukhklumsnepnphuchemldepluxythihlngehluxxyuthimikhwamhlakhlaymakthisud odymixyuecdthungaepdwngs rwm 65 70 skul aela 600 630 spichis mixyu 696 chuxthiyxmrbkn snepnimenuxeaekhng swnmakimphldib ibmilksnayaw eriywaehlmehmuxnekhm smachikswnihyinwngs Cupressaceae aelabangswnin Podocarpaceae miibaebnrupsamehliym khlayekldpla sahrbskul inwngs Araucariaceae aelaskul inwngs Podocarpaceae miibaebnkwang lksnakhlaysayrd klumprngepnklumthimikhwamhlakhlayrxnglngma odymisxnghruxsamwngs 11 skul praman 338 spichis swnihymithinkaenidxyuinphumixakasekhtrxn aelaphbidmakthisudinbriewniklesnsunysutr phuchemldepluxyxikphwkthiyngkhngehluxxyuidaekklummaemuxyaelaaepakwy thirwmknidpraman 95 100 spichis Acrogymnospermae Angiospermae Gymnospermaewngcrchiwittwxyangwngcrchiwitkhxngphuchemldepluxy echnediywkbphuchmithxlaeliyngxun cimonsepirmmichwngchiwitthispxroriftedn sunghmaykhwamwaphuchemldepluxyichewlaekuxbthnghmdinwngcrchiwitepneslldiphlxyd diploid cell inkhnathi gametophyte rayasrangesllsubphnthu darngxyuinrayaewlathikhxnkhangsn spxrthimixyusxngchnid khux imokhrspxraelaemkaspxr thuksrangkhuninokhntwphuaelaokhntwemiy tamladb aekmiothiftecriyxyuphayinphnngspxr laxxngernu imokhraekmiothift phthnamacakimokhrspxr aelathythisudcaklayepnsepirm emkaaekmiothiftphthnamacakemkaspxr aelathukekbiwphayinrngikh phuchemldepluxymikarsrangkhunmahlayxnephuxsrangesllsubphnthuephsemiy rahwangkarthaylaxxngernu ernucathukekhluxnyaykhamtn cakokhnsrangernumayngrngikh dwywithikarthangkayphaph odymkepnkraaeslmhruxaemlng thngernucaekhaipinrngikhphanchxngepidkhnadelk thixyubn integument eriykwaimokhriphl micropyle caknnernucaecriyetibotetmthixyuphayinrngikh klayepnsepirm inphuchemldepluxyphbwamiwithikarekhaptisnthixyusxngaebb khux sepirmekhluxnthiekhaphsmkbikhodytrngphayinrngikh phbinprngaelaaepakwy aelaaebbthisxngkhux sepirmthiimmiaeflecllaekhluxnphan pollen tube ipyngikh phbinsnaelamaemuxy hlngcakkarhlxmrwmesll syngamy isoktcaphthnaipepnexmbriox young sporophyte inhnungemldxacphbexmbrioxidmakkwahnung emldthiphthnaetmthiprakxbdwyexmbriox aelaswnthiyngehluxxyukhxngaekmiothiftephsemiy sungswnnithahnathiepnaehlngsasmxahar aelaepluxkhumemldkhunkhaphuchemldepluxymikhunkhathangesrsthkic snekha sprus aelaepntwxyangphuchklumsnthinamathaepnimaeprrup phlitkradas aelaersin praoychnxun khxngphuchemldepluxy idaek sbu yathaelb nahxm aelaxaharxangxing Definition of gymnosperm Merriam Webster subkhnemux February 18 2021 Grant Bonnie July 21 2017 Do Gymnosperms Produce Flowers amp Fruit Sciencing subkhnemux February 18 2021 Theplantlist org khlngkhxmulekaekbcakaehlngedimemux 2013 08 24 subkhnemux 2013 07 24 Bailey Regina May 2 2018 What Are Gymnosperms ThoughtCo subkhnemux February 18 2021 Delevoryas Theodore Gymnosperm plants Britannica subkhnemux February 18 2021 Raven P H 2013 Biology of Plants New York W H Freeman and Co Cantino 2007 Christenhusz M J M Reveal J L Farjon A Gardner M F Mill R R Chase M W 2011 A new classification and linear sequence of extant gymnosperms PDF Phytotaxa 19 55 70 doi 10 11646 phytotaxa 19 1 3 Hilton Jason and Richard M Bateman 2006 Pteridosperms are the backbone of seed plant phylogeny Journal of the Torrey Botanical Society 133 119 168 abstract Christenhusz M J M Byng J W 2016 The number of known plants species in the world and its annual increase Phytotaxa 261 3 201 217 doi 10 11646 phytotaxa 261 3 1 Sahney S Benton M J amp Falcon Lang H J 2010 Rainforest collapse triggered Pennsylvanian tetrapod diversification in Euramerica Geology 38 12 1079 1082 Bibcode 2010Geo 38 1079S doi 10 1130 G31182 1 Campbell and Reece Biology Eighth edition Jiao Y Wickett NJ Ayyampalayam S Chanderbali AS Landherr L Ralph PE Tomsho LP Hu Y Liang H Clifton SW Schlarbaum SE Schuster SC Ma H Leebens Mack J Depamphilis CW 2011 Ancestral polyploidy in seed plants and angiosperms Nature Ollerton J Coulthard E 2009 Evolution of Animal Pollination Science 326 5954 808 809 Bibcode 2009Sci 326 808O doi 10 1126 science 1181154 PMID 19892970 S2CID 856038 Ren D Labandeira CC Santiago Blay JA Rasnitsyn A aelakhna 2009 A Probable Pollination Mode Before Angiosperms Eurasian Long Proboscid Scorpionflies Science 326 5954 840 847 Bibcode 2009Sci 326 840R doi 10 1126 science 1178338 PMC 2944650 PMID 19892981 Labandeira Conrad C Yang Qiang Santiago Blay Jorge A Hotton Carol L Monteiro Antonia Wang Yong Jie Goreva Yulia Shih ChungKun Siljestrom Sandra Rose Tim R Dilcher David L Ren Dong 2016 The evolutionary convergence of mid Mesozoic lacewings and Cenozoic butterflies Proceedings of the Royal Society B Biological Sciences 283 1824 20152893 doi 10 1098 rspb 2015 2893 PMC 4760178 PMID 26842570 Catalogue of Life 2007 Annual checklist Conifer database mkrakhm 15 2009 thi ewyaebkaemchchin Campbell Reece Phylum Coniferophyta Biology 7th 2005 Print P 595 Walters Dirk R Walters Bonnie By 1996 Vascular plant taxonomy Dubuque Iowa Kendall Hunt Pub Co p 124 ISBN 978 0 7872 2108 9 Gymnosperm seeds brrnanukrmCantino Philip D Doyle James A Graham Sean W Judd Walter S Olmstead Richard G Soltis Douglas E Soltis Pamela S Donoghue Michael J August 2007 Towards a phylogenetic nomenclature of Tracheophyta 56 3 822 846 doi 10 2307 25065864 JSTOR 25065864 aehlngkhxmulxunwikimiediykhxmmxnsmisuxthiekiywkhxngkb phuchemldepluxy wikiphcnanukrm mikhwamhmaykhxngkhawa gymnosperm Gymnosperm Database Albert Seward 1911 Gymnosperms saranukrmbritanika kh s 1911 11 ed bthkhwamphichniyngepnokhrng khunsamarthchwywikiphiediyidodykarephimetimkhxmuldkhk