จากการค้นพบดาวเนปจูนในปี พ.ศ. 2389 มีการคาดการณ์ว่าอาจมีดาวเคราะห์อีกดวงอยู่พ้นวงโคจรของดาวเนปจูนออกไป การสำรวจเริ่มขึ้นตอนกลางคริสต์ศตวรรษที่ 19 และได้รับความสนใจสูงสุดตอนต้นคริสต์ศตวรรษที่ 20 เมื่อเปอร์ซิวัล โลเวลล์ประกาศถึงภารกิจการหาดาวเคราะห์ X โลเวลล์เสนอสมมติฐานดาวเคราะห์ X เพื่ออธิบายถึงในวงโคจรดาวเคราะห์ยักษ์ โดยเฉพาะวงโคจรของดาวยูเรนัสและดาวเนปจูน ซึ่งคาดการณ์ว่าความโน้มถ่วงของดาวเคราะห์ดวงที่เก้าขนาดใหญ่อาจดาวยูเรนัสเพียงพอที่จะทำให้วงโคจรเกิดความคลาดเคลื่อนอย่างชัดเจน
การค้นพบดาวพลูโตของไคลด์ ทอมบอ ในปี พ.ศ. 2473 ทำให้สมมติฐานของโลเวลล์ถูกต้องและดาวพลูโตได้รับสถานะเป็นดาวเคราะห์ดวงที่เก้าอย่างเป็นทางการ ในปี พ.ศ. 2521 นักดาราศาสตร์สรุปว่าดาวพลูโตมีความโน้มถ่วงน้อยเกินไปที่จะส่งผลกระทบต่อดาวเคราะห์ยักษ์ได้ ทำให้มีการค้นหาดาวเคราะห์ดวงที่สิบขึ้น แต่การค้นหาก็เว้นระยะไปในช่วงคริสต์ทศวรรษ 1990 เมื่อยานวอยเอจเจอร์ 2 พบว่าความคลาดเคลื่อนของวงโคจรดาวยูเรนัสนั้น เกิดจากการให้ค่ามวลของดาวเนปจูนสูงเกินไป หลังจากปี พ.ศ. 2535 การค้นพบวัตถุน้ำแข็งขนาดเล็กที่มีวงโคจรคล้ายหรือกว้างกว่าดาวพลูโตได้นำไปสู่ข้อสงสัยที่ว่าดาวพลูโตยังควรจะจัดให้เป็นดาวเคราะห์อยู่หรือควรจะจัดให้อยู่กับกลุ่มวัตถุน้ำแข็งเหล่านั้น เหมือนกับดาวเคราะห์น้อยที่จัดแยกเป็นประเภทต่างหาก ถึงแม้ว่าจะมีดาวเคราะห์น้อยขนาดใหญ่ซึ่งผ่านการสำรวจในขั้นต้นแล้วว่าควรจะจัดให้เป็นดาวเคราะห์ ในปี พ.ศ. 2549 สหพันธ์ดาราศาสตร์สากลได้จัดกลุ่มให้ดาวพลูโตและดาวอื่น ๆ ที่มีขนาดใหญ่เป็นดาวเคราะห์แคระ ทำให้ดาวเนปจูนกลายเป็นดาวเคราะห์ที่อยู่ไกลที่สุดในระบบสุริยะ
ทุกวันนี้สมาคมดาราศาสตร์ส่วนใหญ่ทั่วโลกยืนยันว่า ดาวเคราะห์ X ไม่มีอยู่จริง แต่บางส่วนก็ยังคงยืนยันว่าดาวเคราะห์ X นี้มีอยู่จริงเพื่ออธิบายความผิดปกติที่สังเกตได้ในบริเวณรอบนอกของระบบสุริยะ ในวัฒนธรรมสมัยนิยม หรือกระทั่งนักดาราศาสตร์บางคน ดาวเคราะห์ X ยังคงเป็นตัวแทนสำหรับดาวเคราะห์ที่ยังไม่ถูกค้นพบในระบบสุริยะชั้นนอก โดยไม่คำนึงถึงสมมติฐานของโลเวลล์ วัตถุพ้นดาวเนปจูนอื่นๆ ก็ยังเคยได้รับการขนานนามว่าเป็นดาวเคราะห์ X บนพื้นฐานของหลักฐานที่แตกต่างกัน จนถึงวันที่ 24 มีนาคม พ.ศ. 2557 การสังเกตโดยผ่านกล้องโทรทรรศน์ไวซ์ ได้ให้ข้อมูลว่าอาจมีความเป็นไปได้ที่วัตถุขนาดเท่าดาวเสาร์จะอยู่ในบริเวณ 10,000 หน่วยดาราศาสตร์ และวัตถุขนาดเท่าดาวพฤหัสบดีหรือใหญ่กว่า จะอยู่ในบริเวณ 26,000 หน่วยดาราศาสตร์ออกไป
การสังเกตช่วงแรก
ในคริสต์ศตวรรษ 1840 อูร์แบ็ง เลอ แวรีเย นักคณิตศาสตร์ชาวฝรั่งเศส ใช้กลศาสตร์แบบฉบับเพื่อคำนวณถึงความคลาดเคลื่อนของวงโคจรดาวยูเรนัส และสันนิษฐานว่ามันเกิดจากแรงโน้มถ่วงของดาวเคราะห์ที่ยังไม่ค้นพบ เขาได้คำนวณตำแหน่งของดาวเคราะห์นั้น แล้วส่งผลการคำนวณไปให้ โยฮันน์ กอทท์ฟรีด กัลเลอ นักดาราศาสตร์ชาวเยอรมัน ในวันที่ 23 กันยายน พ.ศ. 2389 คืนต่อมาหลังจากที่กัลเลอได้รับจดหมาย เขาและ นักเรียนของเขา ค้นพบดาวเนปจูนในตำแหน่งที่เลอ แวรีเยได้คำนวณไว้ แต่ก็ยังพบว่า วงโคจรของดาวเคราะห์แก๊สยักษ์ยังคงคลาดเคลื่อน และได้นำไปสู่การค้นหาดาวเคราะห์ที่อยู่พ้นดาวเนปจูนออกไป
ก่อนการค้นพบดาวเนปจูน นักดาราศาสตร์เชื่อกันว่าดาวเคราะห์ดวงเดียวไม่เพียงพอที่จะอธิบายถึงความคลาดเคลื่อนได้ วันที่ 18 พฤศจิกายน พ.ศ. 2377 นักดาราศาสตร์ชาวบริติช ได้รายงานถึงการถกเถียงระหว่างเขาและ นักดาราศาสตร์ชาวฝรั่งเศส กับ นักดาราศาสตร์ชาวบริติช ฮัสซีรายงานว่าเมื่อเขาได้เสนอว่าการที่ดาวยูเรนัสมีวงโคจรที่ไม่ตรงกับการคำนวณนั้น เกิดจากแรงโน้มถ่วงของดาวเคราะห์อีกดวงหนึ่งที่ยังไม่ค้นพบต่อบูวาร์ด บูวาร์ดตอบกลับมาว่าเขาก็มีความคิดแบบเดียวกัน และได้ปรึกษากับ ผู้อำนวยการใน เกี่ยวกับประเด็นนี้แล้ว ฮันเซินได้แสดงความคิดเห็นว่า วัตถุเดียวไม่อาจอธิบายได้ถึงความคลาดเคลื่อนในการเคลื่อนที่ของดาวยูเรนัสได้ และคาดว่าจะต้องมีดาวเคราะห์ที่อยู่พ้นจากดาวยูเรนัสออกไปอีกสองดวง
ในปี พ.ศ. 2391 คัดค้านต่อการคำนวณของเลอ แวรีเย ที่ได้คำนวณออกมาว่ามวลของดาวเนปจูนน้อยกว่าและวงโคจรของมันใหญ่กว่าที่ตัวเขาเองได้ทำนายไว้ บาบีแนตั้งสมมติฐานไว้ว่าจะต้องมีดาวเคราะห์อีกดวงนึง ซึ่งมีมวลอย่างน้อย 12 เท่าของโลกอยู่พ้นวงโคจรของดาวเนปจูนออกไป เขาได้ให้ชื่อดาวเคราะห์นั้นว่า "ไฮพีเรียน" เลอ แวรีเย ประณามต่อสมมติฐานของบาบีแนว่า มันเปล่าประโยชน์ที่จะต้องมาคำนวณหาตำแหน่งของดาวเคราะห์อีกดวง เพียงเพราะสมมติฐานที่เกินจริง
ในปี พ.ศ. 2393 ผู้ช่วยนักดาราศาสตร์ของ ได้บันทึกไว้ว่าเขา "สูญเสีย" การติดตามดาวฤกษ์ดวงหนึ่งที่ชื่อว่า GR1719k ซึ่งร้อยโทแมธิว เมารี ผู้กำกับการของหอดูดาวกองทัพเรือสหรัฐอเมริกา เชื่อว่ามันเป็นหลักฐานของดาวเคราะห์ดวงใหม่ การค้นหาต่อๆมา ไม่สามารถที่จะหา "ดาวเคราะห์" ดวงนั้น ในตำแหน่งที่แตกต่างกันได้ และในปี พ.ศ. 2421 ซีเอชเอฟ ปีเตอส์ ผู้อำนวยการหอดูดาแฮมิลตันคอลเลจในนิวยอร์ก ได้แสดงให้เห็นว่าดาวฤกษ์ดวงนั้นมิได้หายไป แต่เกิดจากความผิดพลาดของตัวมนุษย์เอง
ในปี พ.ศ. 2422 ได้บันทึกว่าดาวหาง และ มีค่าความเยื้องโคจร 47 และ 49 หน่วยดาราศาสตร์ตามลำดับ เขาเสนอว่าพ้นดาวเนปจูนออกไป ยังมีดาวเคราะห์ที่ดึงดาวหางพวกนี้ให้มีวงโคจรเป็นวงรี จากหลักฐานนี้ทำให้ นักดาราศาสตร์ จอร์จ ฟอร์เบส สรุปได้ว่าจะต้องมีดาวเคราะห์ 2 ดวงที่พ้นดาวเนปจูนออกไป เขาคำนวณบนพื้นฐานของข้อเท็จจริงของดาวหางสี่ดวงที่มีค่าความเยื้องประมาณ 100 หน่วยดาราศาสตร์ และอีกหกดวงที่ความเยื้องประมาณ 300 หน่วยดาราศาสตร์ สมบัติของวงงโคจรของดาวเคราะห์พ้นดาวเนปจูนคู่ สมบัติเหล่านี้ถูกทำให้อิสระมากขึ้นโดยนักดาราศาสตร์อีกคนหนึ่งที่ชื่อว่า เขายังเสนอต่อคนอื่นๆว่า สมบัตินี้อาจไม่เป็นจริง ถึงอย่างนั้น ข้อถกเถียงเกี่ยวกับวงโคจรดาวหางก็ยังคงคลุมเครือเกินกว่าที่จะสรุปออกมาเป็นคำตอบที่ชัดเจนได้
ในปี พ.ศ. 2443 และ พ.ศ. 2444 ผู้อำนวยการหอดูดาวฮาร์วาร์ดคอลเลจได้เริ่มการสำรวจหาดาวเคราะห์พ้นดาวเนปจูนสองครั้ง โดยครั้งแรก เริ่มโดย นักดาราศาสตร์ชาวเดนมาร์ก ผู้ซึ่งเคยศึกษาการโคจรของดาวยูเรนัสตั้งแต่ พ.ศ. 2233 ถึง พ.ศ. 2438 เขาสรุปว่าดาวเคราะห์ดวงเดียวยังไม่เพียงพอต่อการอธิบายถึงความคลาดเคลื่อนของวงโคจรของมัน และตั้งสมมติฐานว่าตำแหน่งของดาวเคราะห์อีกสองดวงจะต้องมีอยู่อย่างแน่นอน การสำรวจครั้งที่สอง เริ่มโดย เสนอว่ามีดาวเคราะห์ดวงหนึ่งอยู่เลยออกไปที่ 47 หน่วยดาราศาสตร์ และมันเพียงพอที่จะอธิบายถึงความคลาดเคลื่อนได้แล้ว พิกเกอร์ริงเห็นด้วยที่จะเริ่มการค้นหาดาวเคราะห์ที่ว่านี้ แต่ว่าก็ไม่มีดวงใดถูกค้นพบ
ในปี พ.ศ. 2452 มีความเห็นว่า "จะต้องมีดาวเคราะห์ประมาณหนึ่ง สอง หรือาจจะสามดวงที่อยู่พ้นดาวเนปจูน" เขาได้ให้ชื่อดาวเคราะห์ดวงแรกว่า โอเชียนัส และเขายังให้ระยะทางของพวกมันที่ 42 56 และ72 หน่วยดาราศาสตร์จากดวงอาทิตย์ แต่เขาก็ไม่ได้กล่าวอะไรเกี่ยวกับที่มาของระยะทางเหล่านี้ และไม่มีการสำรวจใดๆ เพื่อระบุตำแหน่งพวกมัน
ในปี พ.ศ. 2454 เวนตาเทช พี. เคตาคาร์ นักดาราศาสตร์ชาวอินเดียได้เสนอถึงการมีอยู่ของดาวเคราะห์พ้นดาวเนปจูนสองดวง เขาให้ชื่อว่าพรหมและวิษณุ เขาได้ศึกษาเกี่ยวกับงานที่ปีแยร์-ซีมง ลาปลัสได้สำรวจไว้เกี่ยวกับดาวพฤหัสบดีและดาวเคราะห์ดวงอื่นๆไกลออกไปดวงจันทร์ของกาลิเลโอสามดวง ได้แก่ ไอโอ ยูโรปา และแกนีมีด โคจรอยู่ในอัตราส่วน 1:2:4 ซึ่งเรียกกันว่า เคตาคาร์เสนอว่าดาวยูเรนัส ดาวเนปจูน และดาวเคราะห์พ้นดาวเนปจูนสมมติของเขานั้น โคจรในอัตราส่วนที่คล้ายกับของลาปลัส ผลการคำนวณของเขาได้ทำนายระยะทางเฉลี่ยของพรหมไว้ว่า 38.95 หน่วยดาราศาสตร์ และมีคาบโคจรอยู่ที่ 242.28 ปีโลก (อัตราส่วน 3:4 กับดาวเนปจูน) เมื่อดาวพลูโตถูกค้นพบในอีก 19 ปีต่อมา มันมีระยะทางเฉลี่ยอยู่ที่ 39.48 หน่วยดาราศาสตร์ และคาบโคจร 248 ปีโลก ซึ่งใกล้เคียงกับที่เคตาคาร์ทำนายไว้มาก (แต่ดาวพลูโตโคจรด้วยอัตราส่วน 2:3 กับดาวเนปจูน) เคตาคาร์ไม่ได้ทำนายสมบัติอะไรอย่างอื่นนอกจากระยะทางเฉลี่ยและคาบโคจรเลย และดาวเคราะห์ดวงที่สองก็ไม่ได้ถูกทำนายอะไรเช่นกัน
อ้างอิง
- Ernest Clare Bower (1930). "On the Orbit and Mass of Pluto with an Ephemeris for 1931–1932". Lick Observatory Bulletin. 15 (437): 171–178. Bibcode:1931LicOB..15..171B. doi:10.5479/ADS/bib/1931LicOB.15.171B.
- Tombaugh (1946), p. 73.
- Tom Standage (2000). The Neptune File: A Story of Astronomical Rivalry and the Pioneers of Planet Hunting. New York: Walker. p. 188. ISBN .
- "IAU 2006 General Assembly: Resolutions 5 and 6" (PDF). International Astronomical Union. 2006-08-24.
- S. C. Tegler & W. Romanishin (2001). "Almost Planet X". Nature. 411 (6836): 423–424. doi:10.1038/35078164. PMID 11373654.
- Luhman, K. L. (2014). "A Search for a Distant Companion to the Sun with the Wide-field Infrared Survey Explorer". . 781 (1): 4. Bibcode:2014ApJ...781....4L. doi:10.1088/0004-637X/781/1/4.
- Croswell (1997), p. 43
- Morton Grosser (1964). "The Search For A Planet Beyond Neptune". Isis. 55 (2): 163–183. doi:10.1086/349825. JSTOR 228182.
- TJ Sherrill (1999). "A Career of Controversy: The Anomaly of T. J. J. See". Journal for the History of Astronomy. 30: 25–50. Bibcode:1999JHA....30...25S. doi:10.1177/002182869903000102.
- JG Chhabra; SD Sharma; M Khanna (1984). (PDF). Indian Journal of the History of Science. 19 (1): 18–26. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิม (PDF)เมื่อ 2009-02-25. สืบค้นเมื่อ 2008-09-04.
- Musotto, Susanna; Varadi, Ferenc; Moore, William; Schubert, Gerald (2002). "Numerical Simulations of the Orbits of the Galilean Satellites". Icarus. 159 (2): 500–504. Bibcode:2002Icar..159..500M. doi:10.1006/icar.2002.6939.
wikipedia, แบบไทย, วิกิพีเดีย, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด, บทความ, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม, มือถือ, โทรศัพท์, Android, iOS, Apple, โทรศัพท์โมบิล, Samsung, iPhone, Xiomi, Xiaomi, Redmi, Honor, Oppo, Nokia, Sonya, MI, PC, พีซี, web, เว็บ, คอมพิวเตอร์
cakkarkhnphbdawenpcuninpi ph s 2389 mikarkhadkarnwaxacmidawekhraahxikdwngxyuphnwngokhcrkhxngdawenpcunxxkip karsarwcerimkhuntxnklangkhriststwrrsthi 19 aelaidrbkhwamsnicsungsudtxntnkhriststwrrsthi 20 emuxepxrsiwl olewllprakasthungpharkickarhadawekhraah X olewllesnxsmmtithandawekhraah X ephuxxthibaythunginwngokhcrdawekhraahyks odyechphaawngokhcrkhxngdawyuernsaeladawenpcun sungkhadkarnwakhwamonmthwngkhxngdawekhraahdwngthiekakhnadihyxacdawyuernsephiyngphxthicathaihwngokhcrekidkhwamkhladekhluxnxyangchdecnepxrsiwl olewll phurierimsmmtithandawekhraah X karkhnphbdawphluotkhxngikhld thxmbx inpi ph s 2473 thaihsmmtithankhxngolewllthuktxngaeladawphluotidrbsthanaepndawekhraahdwngthiekaxyangepnthangkar inpi ph s 2521 nkdarasastrsrupwadawphluotmikhwamonmthwngnxyekinipthicasngphlkrathbtxdawekhraahyksid thaihmikarkhnhadawekhraahdwngthisibkhun aetkarkhnhakewnrayaipinchwngkhristthswrrs 1990 emuxyanwxyexcecxr 2 phbwakhwamkhladekhluxnkhxngwngokhcrdawyuernsnn ekidcakkarihkhamwlkhxngdawenpcunsungekinip hlngcakpi ph s 2535 karkhnphbwtthunaaekhngkhnadelkthimiwngokhcrkhlayhruxkwangkwadawphluotidnaipsukhxsngsythiwadawphluotyngkhwrcacdihepndawekhraahxyuhruxkhwrcacdihxyukbklumwtthunaaekhngehlann ehmuxnkbdawekhraahnxythicdaeykepnpraephthtanghak thungaemwacamidawekhraahnxykhnadihysungphankarsarwcinkhntnaelwwakhwrcacdihepndawekhraah inpi ph s 2549 shphnthdarasastrsaklidcdklumihdawphluotaeladawxun thimikhnadihyepndawekhraahaekhra thaihdawenpcunklayepndawekhraahthixyuiklthisudinrabbsuriya thukwnnismakhmdarasastrswnihythwolkyunynwa dawekhraah X immixyucring aetbangswnkyngkhngyunynwadawekhraah X nimixyucringephuxxthibaykhwamphidpktithisngektidinbriewnrxbnxkkhxngrabbsuriya inwthnthrrmsmyniym hruxkrathngnkdarasastrbangkhn dawekhraah X yngkhngepntwaethnsahrbdawekhraahthiyngimthukkhnphbinrabbsuriyachnnxk odyimkhanungthungsmmtithankhxngolewll wtthuphndawenpcunxun kyngekhyidrbkarkhnannamwaepndawekhraah X bnphunthankhxnghlkthanthiaetktangkn cnthungwnthi 24 minakhm ph s 2557 karsngektodyphanklxngothrthrrsniws idihkhxmulwaxacmikhwamepnipidthiwtthukhnadethadawesarcaxyuinbriewn 10 000 hnwydarasastr aelawtthukhnadethadawphvhsbdihruxihykwa caxyuinbriewn 26 000 hnwydarasastrxxkipkarsngektchwngaerkphusnbsnunthungkarmixyukhxngdawekhraahphndawenpcun inkhriststwrrs 1840 xuraebng elx aewriey nkkhnitsastrchawfrngess ichklsastraebbchbbephuxkhanwnthungkhwamkhladekhluxnkhxngwngokhcrdawyuerns aelasnnisthanwamnekidcakaerngonmthwngkhxngdawekhraahthiyngimkhnphb ekhaidkhanwntaaehnngkhxngdawekhraahnn aelwsngphlkarkhanwnipih oyhnn kxththfrid klelx nkdarasastrchaweyxrmn inwnthi 23 knyayn ph s 2389 khuntxmahlngcakthiklelxidrbcdhmay ekhaaela nkeriynkhxngekha khnphbdawenpcunintaaehnngthielx aewrieyidkhanwniw aetkyngphbwa wngokhcrkhxngdawekhraahaeksyksyngkhngkhladekhluxn aelaidnaipsukarkhnhadawekhraahthixyuphndawenpcunxxkip kxnkarkhnphbdawenpcun nkdarasastrechuxknwadawekhraahdwngediywimephiyngphxthicaxthibaythungkhwamkhladekhluxnid wnthi 18 phvscikayn ph s 2377 nkdarasastrchawbritich idraynganthungkarthkethiyngrahwangekhaaela nkdarasastrchawfrngess kb nkdarasastrchawbritich hssiraynganwaemuxekhaidesnxwakarthidawyuernsmiwngokhcrthiimtrngkbkarkhanwnnn ekidcakaerngonmthwngkhxngdawekhraahxikdwnghnungthiyngimkhnphbtxbuward buwardtxbklbmawaekhakmikhwamkhidaebbediywkn aelaidpruksakb phuxanwykarin ekiywkbpraednniaelw hnesinidaesdngkhwamkhidehnwa wtthuediywimxacxthibayidthungkhwamkhladekhluxninkarekhluxnthikhxngdawyuernsid aelakhadwacatxngmidawekhraahthixyuphncakdawyuernsxxkipxiksxngdwng inpi ph s 2391 khdkhantxkarkhanwnkhxngelx aewriey thiidkhanwnxxkmawamwlkhxngdawenpcunnxykwaaelawngokhcrkhxngmnihykwathitwekhaexngidthanayiw babiaentngsmmtithaniwwacatxngmidawekhraahxikdwngnung sungmimwlxyangnxy 12 ethakhxngolkxyuphnwngokhcrkhxngdawenpcunxxkip ekhaidihchuxdawekhraahnnwa ihphieriyn elx aewriey pranamtxsmmtithankhxngbabiaenwa mneplapraoychnthicatxngmakhanwnhataaehnngkhxngdawekhraahxikdwng ephiyngephraasmmtithanthiekincring inpi ph s 2393 phuchwynkdarasastrkhxng idbnthukiwwaekha suyesiy kartidtamdawvksdwnghnungthichuxwa GR1719k sungrxyothaemthiw emari phukakbkarkhxnghxdudawkxngthpheruxshrthxemrika echuxwamnepnhlkthankhxngdawekhraahdwngihm karkhnhatxma imsamarththicaha dawekhraah dwngnn intaaehnngthiaetktangknid aelainpi ph s 2421 siexchexf pietxs phuxanwykarhxdudaaehmiltnkhxlelcinniwyxrk idaesdngihehnwadawvksdwngnnmiidhayip aetekidcakkhwamphidphladkhxngtwmnusyexng inpi ph s 2422 idbnthukwadawhang aela mikhakhwameyuxngokhcr 47 aela 49 hnwydarasastrtamladb ekhaesnxwaphndawenpcunxxkip yngmidawekhraahthidungdawhangphwkniihmiwngokhcrepnwngri cakhlkthannithaih nkdarasastr cxrc fxrebs srupidwacatxngmidawekhraah 2 dwngthiphndawenpcunxxkip ekhakhanwnbnphunthankhxngkhxethccringkhxngdawhangsidwngthimikhakhwameyuxngpraman 100 hnwydarasastr aelaxikhkdwngthikhwameyuxngpraman 300 hnwydarasastr smbtikhxngwngngokhcrkhxngdawekhraahphndawenpcunkhu smbtiehlanithukthaihxisramakkhunodynkdarasastrxikkhnhnungthichuxwa ekhayngesnxtxkhnxunwa smbtinixacimepncring thungxyangnn khxthkethiyngekiywkbwngokhcrdawhangkyngkhngkhlumekhruxekinkwathicasrupxxkmaepnkhatxbthichdecnid inpi ph s 2443 aela ph s 2444 phuxanwykarhxdudawharwardkhxlelciderimkarsarwchadawekhraahphndawenpcunsxngkhrng odykhrngaerk erimody nkdarasastrchawednmark phusungekhysuksakarokhcrkhxngdawyuernstngaet ph s 2233 thung ph s 2438 ekhasrupwadawekhraahdwngediywyngimephiyngphxtxkarxthibaythungkhwamkhladekhluxnkhxngwngokhcrkhxngmn aelatngsmmtithanwataaehnngkhxngdawekhraahxiksxngdwngcatxngmixyuxyangaennxn karsarwckhrngthisxng erimody esnxwamidawekhraahdwnghnungxyuelyxxkipthi 47 hnwydarasastr aelamnephiyngphxthicaxthibaythungkhwamkhladekhluxnidaelw phikekxrringehndwythicaerimkarkhnhadawekhraahthiwani aetwakimmidwngidthukkhnphb inpi ph s 2452 mikhwamehnwa catxngmidawekhraahpramanhnung sxng hruxaccasamdwngthixyuphndawenpcun ekhaidihchuxdawekhraahdwngaerkwa oxechiyns aelaekhayngihrayathangkhxngphwkmnthi 42 56 aela72 hnwydarasastrcakdwngxathity aetekhakimidklawxairekiywkbthimakhxngrayathangehlani aelaimmikarsarwcid ephuxrabutaaehnngphwkmn inpi ph s 2454 ewntaethch phi ekhtakhar nkdarasastrchawxinediyidesnxthungkarmixyukhxngdawekhraahphndawenpcunsxngdwng ekhaihchuxwaphrhmaelawisnu ekhaidsuksaekiywkbnganthipiaeyr simng laplsidsarwciwekiywkbdawphvhsbdiaeladawekhraahdwngxuniklxxkipdwngcnthrkhxngkalieloxsamdwng idaek ixox yuorpa aelaaeknimid okhcrxyuinxtraswn 1 2 4 sungeriykknwa ekhtakharesnxwadawyuerns dawenpcun aeladawekhraahphndawenpcunsmmtikhxngekhann okhcrinxtraswnthikhlaykbkhxnglapls phlkarkhanwnkhxngekhaidthanayrayathangechliykhxngphrhmiwwa 38 95 hnwydarasastr aelamikhabokhcrxyuthi 242 28 piolk xtraswn 3 4 kbdawenpcun emuxdawphluotthukkhnphbinxik 19 pitxma mnmirayathangechliyxyuthi 39 48 hnwydarasastr aelakhabokhcr 248 piolk sungiklekhiyngkbthiekhtakharthanayiwmak aetdawphluotokhcrdwyxtraswn 2 3 kbdawenpcun ekhtakharimidthanaysmbtixairxyangxunnxkcakrayathangechliyaelakhabokhcrely aeladawekhraahdwngthisxngkimidthukthanayxairechnknxangxingErnest Clare Bower 1930 On the Orbit and Mass of Pluto with an Ephemeris for 1931 1932 Lick Observatory Bulletin 15 437 171 178 Bibcode 1931LicOB 15 171B doi 10 5479 ADS bib 1931LicOB 15 171B Tombaugh 1946 p 73 Tom Standage 2000 The Neptune File A Story of Astronomical Rivalry and the Pioneers of Planet Hunting New York Walker p 188 ISBN 978 0 8027 1363 6 IAU 2006 General Assembly Resolutions 5 and 6 PDF International Astronomical Union 2006 08 24 S C Tegler amp W Romanishin 2001 Almost Planet X Nature 411 6836 423 424 doi 10 1038 35078164 PMID 11373654 Luhman K L 2014 A Search for a Distant Companion to the Sun with the Wide field Infrared Survey Explorer 781 1 4 Bibcode 2014ApJ 781 4L doi 10 1088 0004 637X 781 1 4 Croswell 1997 p 43 Morton Grosser 1964 The Search For A Planet Beyond Neptune Isis 55 2 163 183 doi 10 1086 349825 JSTOR 228182 TJ Sherrill 1999 A Career of Controversy The Anomaly of T J J See Journal for the History of Astronomy 30 25 50 Bibcode 1999JHA 30 25S doi 10 1177 002182869903000102 JG Chhabra SD Sharma M Khanna 1984 PDF Indian Journal of the History of Science 19 1 18 26 khlngkhxmulekaekbcakaehlngedim PDF emux 2009 02 25 subkhnemux 2008 09 04 Musotto Susanna Varadi Ferenc Moore William Schubert Gerald 2002 Numerical Simulations of the Orbits of the Galilean Satellites Icarus 159 2 500 504 Bibcode 2002Icar 159 500M doi 10 1006 icar 2002 6939