ในศาสนาอิสลาม ชิริก (อาหรับ: شرك) เป็นบาปจากการบูชาเทวรูปหรือพหุเทวนิยม (เช่น สักการะใครหรืออะไรก็ตามเป็นพระเจ้านอกจากอัลลอฮ์) ตามหลัก เตาฮีด (เอกเทวนิยม)มุชริกูน (مشركون พหุพจน์ของ มุชริก مشرك) คือผู้ที่ทำ ชิริก ซึ่งหมายถึง "มีความสัมพันธ์" และอิงถึงการยอมรับพระเจ้าและความศักดิ์สิทธิ์คู่กับอัลลอฮ์ (ในฐานะ "ผู้มีหุ้นส่วน" กับพระเจ้า)
ในกฎหมายชะรีอะฮ์ ชิริกเป็น เพราะเป็นบาปขั้นร้ายแรง: อัลลอฮ์ทรงอภัยบาปทุกชนิด ยกเว้น ชิริก โดยผู้ที่ได้รับการยกเว้นคือ ผู้ศรัทธาที่สำนึกผิดจากชิรก์ก่อนตาย
ศัพทมูลวิทยา
คำว่า ชิริก มาจากรากสามอักษรว่า ช-ร-ก (ش ر ك) มีความหมายทั่วไปว่า "เพื่อแบ่งปัน" ในอัลกุรอาน มักหมายถึง "แบ่งปันในฐานะหุ้นส่วน" ดังนั้น พหุเทวนิยม จึงหมายถึง "อ้างเป็นหุ้นส่วนกับอัลลอฮ์" ในอัลกุรอาน ชิริก กับคำว่า มุชริกูน (مشركون)—ผู้ทำชิริกและเป็นปฏิปักษ์ต่อศาสนาอิสลาม—มักกล่าวเป็นศัตรูของศาสนาอิสลาม (ในซูเราะฮ์ อายะฮ์ 9:1–15): 9:1-15
กุรอาน
นักวิจารณ์ศาสนาอิสลามกล่าวถึงอัลกุรอานว่าได้เน้นไปถึงก่อนการมาของอิสลาม โดยเฉพาเทพีหลักทั้งสาม มะนาต, อัลลาต และอัลอุซซา คู่กับอัลลอฮ์ (ในอัลกุรอาน) และคำว่า มุชริกูน (เอกพจน์: มุชริก) มักแปลเป็นภาษาไทยว่า "พวกบูชาเจว็ด; มุชริก; ผู้ปฏิเสธศรัทธา"
อัลกุรอานกล่าวถึงสังคมในสมัยว่า พวกบูชารูปปั้นปฏิเสธและล้อเลียนนูฮ์ว่า "และพวกเขาได้กล่าวว่า "พวกท่านอย่าได้ทอดทิ้งพระเจ้าทั้งหลายของพวกท่านเป็นอันขาด พวกท่านอย่าได้ทอดทิ้ง และ และ และ และ เป็นอันขาด" (กุรอานซูเราะฮ์ 71:23): 71:23
อีกรูปหนึ่งของ ชิริก คือการสักการะทรัพยสืนหรือวัสดุอื่น ๆ เช่นในอัลกุรอาน ซูเราะฮ์ ในเรื่องราวของที่บูชา และมูซา สั่งให้พวกเขาขออภัยโทษ
อีกรูปแบบหนึ่งของชิรก์ในอัลกุรอาน ซูเราะฮ์ คือ การนำนักวิชาการศาสนา, พระ, สิ่งศักดิ์สิทธิ์ หรือนักกฎหมายทางศาสนาเป็นพระเจ้าในทางปฏิบัติ
การตีความทางเทววิทยา
มุสลิมยุคกลางและนักปรัชญาชาวยิวเชื่อว่าหลักตรีเอกภาพเป็น ชิริก ในภาษาอาหรับ (หรือ ในภาษาฮีบรู) หมายถึง "การเชื่อมโยง" ในการการจำกัดความเป็นอนันต์ของพระเจ้าโดยการเชื่อมโยงพระผู้เป็นเจ้ากับการดำรงอยู่ทางกายภาพ
ในบริบททางเทววิทยา ผู้ที่ทำ ชิริก คือผู้ที่ตั้งสิ่งที่ถูกสร้างกับอัลลอฮ์ โดยจะเป็นบาปนี้ในตอนที่คนหนึ่งจินตนาการว่ามีหุ้นส่วนที่เหมาะกับคู่กับ อัลลอฮ์ ตามที่อัลกุรอานกล่าวว่า: "แท้จริงอัลลอฮฺ จะไม่ทรงอภัยโทษให้แก่การที่สิ่งหนึ่งจะถูกให้มีภาคี ขึ้นแก่พระองค์และพระองค์ทรงอภัยให้แก่สิ่งอื่นจากนั้นสำหรับผู้ที่พระองค์ทรงประสงค์ และผู้ใดให้มีภาคีขึ้นแก่อัลลอฮฺแล้วแน่นอนเขาก็ได้อุปโลกน์บาปกรรมอันใหญ่หลวงขึ้น" (กุรอาน ซูเราะฮ์ 4:48): 4:48
ผู้ติดตามลัทธิศูฟีบางส่วน มีแนวโน้มที่จะเชื่อในสิ่งอื่นคู่กับพระเจ้าว่าเป็นหนึ่งในพหุเทวนิยม (ชิริก) นั่นไม่รวมถึงพระเทียมเท็จ แต่รวมความเชื่อในการมีตัวตนของสิ่งอื่น ซึ่งเป็นที่ยอมรับโดยเอกเทวนิยม เช่น มารเป็นต้นกำเนิดของความชั่ว หรือเจตจำนงเสรีเป็นต้นกำเนิดของหน้าที่ของสิ่งถูกสร้างของพระเจ้า เท่ากับการเชื่อว่ามีอำนาจอื่นนอกจากพระเจ้า
สถานะของ (อะฮ์ลุลกิตาบ) โดยเฉพาะชาวยิวและคริสต์ แนวคิดของการไม่เชื่อในมุมมองของศาสนาอิสลามยังไม่เป็นที่กระจ่าง ชาลส์ อดัมส์ (Charles Adams) เขียนว่า กุรอานตำหนิชาวคัมภีร์ด้วยคำว่า กุฟร์ เพราะปฏิเสธโองการของมุฮัมมัด เมื่อพวกเขาควรเป็นกลุ่มแรกที่ยอมรับมันในฐานะผู้สืบทอดวจนะในยุคก่อน และเลือกเฉพาะชาวคริสต์ที่ปฏิเสธหลักฐานความเป็นเอกภาพของพระเจ้า โองการจากซูเราะฮ์ 5:73: 5:73 ("แท้จริงบรรดาผู้ที่กล่าวว่าอัลลอฮฺเป็นผู้ที่สามของสามองค์ นั้นได้ตกเป็นผู้ปฏิเสธศรัทธาแล้ว...") คู่กับอายะฮ์อื่น เป็นที่เข้าใจว่าศาสนาอิสลาม อีกอะยะฮ์หนึ่งปฏิเสธ (พระเยซู บุตรของพระแม่มารีย์) อย่างเด็ดขาดและกล่าวถึงผู้คนที่ให้พระเยซูเท่ากับพระเจ้าเป็นผู้ปฏิเสธ ซึ่งจะถูกลงโทษในนรกตลอดกาล อัลกุรอานไม่ได้กล่าวถึงพระเยซูในฐานะบุตรของพระเจ้าหรือเป็นพระเจ้า แต่ได้กล่าวเป็นศาสดาและศาสนทูตของพระเจ้าที่ส่งมายังลูกหลานอิสราเอล นักคิดมุสลิมบางคน เช่น มีมุมมองแบบรุนแรงในโองการที่เกี่ยวกับความเชื่อในหลักตรีเอกภาพและการเป็นพระเจ้าของพระเยซู ( 5:19, 5:75-76, 5:119) ว่าเป็นหลักการที่ไม่ใช่คริสเตียนซึ่งถูกปฏิเสธโดยคริสตจักร
Cyril Glasse วิจารณ์การใช้คำว่า [พหุพจน์ของ กาฟิร] เพื่อกล่าวถึงชาวคริสต์ว่าเป็น "การใช้งานอย่างหละหลวม" รายงานจาก ในหลักนิติศาสตร์อิสลาม อะฮ์ลุลกิตาบ นั้น "มักใจกว้างกว่าพวก กุฟฟาร [พหุพจน์ของ กาฟิร] อื่น ๆ..." และ "ในทางทฤษฎี" มุสลิมจะถูกลงโทษ ถ้าเขาพูดกับชาวยิวหรือคริสต์ว่า: "เจ้าผู้ปฏิเสธศรัทธา"
ในทางประวัติศาสตร์ ชาวคัมภีร์ที่อยู่ภายใต้การปกครองของอิสลาม จะได้สถานะใหม่ว่า ซิมมี ในขณะที่ผู้มาเยียมชมดินแดนมุสลิมจะได้สถานะเป็น
หลังจากศตวรรษที่ 18 ด้วยความรุ่งเรืองของวะฮาบีย์ ชิริก ถูกขยายกรอบให้กว้างกว่าเดิม เช่นการมีส่วนร่วมทางการเมืองที่ดูแผลกในศาสนาอิสลาม หรือยึดมั่นประเพณีทางศาสนา เชื่อว่าไม่ได้อยู่ในหลักการอิสลาม
ดูเพิ่ม
อ้างอิง
- Nonbelief: An Islamic Perspective
- Kamoonpuri, S: "Basic Beliefs of Islam" pages 42–58. Tanzania Printers Limited, 2001.
- Gimaret, D. (2012). "S̲h̲irk". ใน P. Bearman; Th. Bianquis; C.E. Bosworth; E. van Donzel; W.P. Heinrichs (บ.ก.). Encyclopaedia of Islam (2nd ed.). Brill. doi:10.1163/1573-3912_islam_SIM_6965.
- Glassé, Cyril; Smith, Huston (2003-01-01). The New Encyclopedia of Islam (ภาษาอังกฤษ). Rowman Altamira. p. 429. ISBN .
- Cenap Çakmak Islam: A Worldwide Encyclopedia [4 volumes] ABC-CLIO 2017 ISBN page 1450
- , "Vocabulary of the Quran"
- Ibn Kathir. "Tafsir Ibn Kathir (English): Surah Al Tawbah". Quran 4 U. . สืบค้นเมื่อ 11 March 2020.
- Ibn Kathir. "Tafsir Ibn Kathir (English): Surah Nuh". Quran 4 U. สืบค้นเมื่อ 11 March 2020.
- "Quran 7:148–150".
- . คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2020-02-04. สืบค้นเมื่อ 2020-10-10.
- . คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2020-10-14. สืบค้นเมื่อ 2020-10-10.
- Learning from other faiths Hermann Häring, Janet Martin Soskice, Felix Wilfred - 2003 - 141 "Medieval Jewish (as well as Muslim) philosophers identified belief in the Trinity with the heresy of shituf (Hebrew) or shirk (Arabic): 'associationism', or limiting the infinity of Allah by associating his divinity with creaturely being"
- Ibn Kathir. "Tafsir Ibn Kathir (English): Surah Al Nisa". Quran 4 U. . สืบค้นเมื่อ 11 March 2020.
- Awn, Peter J. (1983). Satan's Tragedy and Redemption: Iblīs in Sufi Psychology. Leiden: Brill Publishers. p. 104. ISBN
- Charles Adams; Kevin Reinhart (2009). "Kufr". ใน John L. Esposito (บ.ก.). The Oxford Encyclopedia of the Islamic World. Oxford: Oxford University Press. ISBN .
- Ibn Kathir. "Surah Al Ma'ida". Quran 4 U. สืบค้นเมื่อ 11 March 2020.
- Thomas, David (2006). "Trinity". ใน Jane Dammen McAuliffe (บ.ก.). Encyclopaedia of the Qurʾān. Brill.
- Joseph, Jojo, Qur’an-Gospel Convergence: The Qur’an’s Message To Christians 2022-02-17 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน, Journal of Dharma, 1 (January–March 2010), pp. 55-76
- Mazuz, Haggai (2012) Christians in the Qurʾān: Some Insights Derived from the Classical Exegetic Approach, Journal of Dharma 35, 1 (January–March 2010), 55-76
- Schirrmacher, Christine, The Islamic view of Christians: Qur’an and Hadith, http://www.worldevangelicals.org
- Carré, Olivier (2003). Mysticism and Politics: A Critical Reading of Fī Ẓilāl Al-Qurʼān by Sayyid Quṭb. Boston: Brill. pp. 63–64. ISBN .
- Glasse, Cyril (1989). The New Encyclopedia of Islam (Revised 2001 ed.). NY: Altamira Press. p. 247. ISBN .
- Björkman, W. (2012). "Kāfir". ใน P. Bearman; Th. Bianquis; C.E. Bosworth; E. van Donzel; W.P. Heinrichs (บ.ก.). Encyclopaedia of Islam (2nd ed.). Brill. doi:10.1163/1573-3912_islam_SIM_3775.
- Fletcher, Charles . "Shirk." In The Oxford Encyclopedia of the Islamic World. Oxford Islamic Studies Online, http://www.oxfordislamicstudies.com/article/opr/t236/e1080 (accessed Apr 21, 2020)
แหล่งข้อมูลอื่น
- Zebiri, Kate (1995). "Relations Between Muslims and Non-Muslims in the Thought of Western-Educated Muslim Intellectuals – Islam and Christian-Muslim Relations". Islam and Christian–Muslim Relations. 6 (2): 255–277. doi:10.1080/09596419508721055.
- Shirk in legislation 2015-05-29 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน
wikipedia, แบบไทย, วิกิพีเดีย, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด, บทความ, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม, มือถือ, โทรศัพท์, Android, iOS, Apple, โทรศัพท์โมบิล, Samsung, iPhone, Xiomi, Xiaomi, Redmi, Honor, Oppo, Nokia, Sonya, MI, PC, พีซี, web, เว็บ, คอมพิวเตอร์
insasnaxislam chirik xahrb شرك epnbapcakkarbuchaethwruphruxphhuethwniym echn skkaraikhrhruxxairktamepnphraecanxkcakxllxh tamhlk etahid exkethwniym muchrikun مشركون phhuphcnkhxng muchrik مشرك khuxphuthitha chirik sunghmaythung mikhwamsmphnth aelaxingthungkaryxmrbphraecaaelakhwamskdisiththikhukbxllxh inthana phumihunswn kbphraeca inkdhmaycharixah chirikepn ephraaepnbapkhnrayaerng xllxhthrngxphybapthukchnid ykewn chirik odyphuthiidrbkarykewnkhux phusrththathisanukphidcakchirkkxntaysphthmulwithyakhawa chirik macakraksamxksrwa ch r k ش ر ك mikhwamhmaythwipwa ephuxaebngpn inxlkurxan mkhmaythung aebngpninthanahunswn dngnn phhuethwniym cunghmaythung xangepnhunswnkbxllxh inxlkurxan chirik kbkhawa muchrikun مشركون phuthachirikaelaepnptipkstxsasnaxislam mkklawepnstrukhxngsasnaxislam insueraah xayah 9 1 15 9 1 15 kurxannkwicarnsasnaxislamklawthungxlkurxanwaidennipthungkxnkarmakhxngxislam odyechphaethphihlkthngsam manat xllat aelaxlxussa khukbxllxh inxlkurxan aelakhawa muchrikun exkphcn muchrik mkaeplepnphasaithywa phwkbuchaecwd muchrik phuptiesthsrththa xlkurxanklawthungsngkhminsmywa phwkbucharuppnptiesthaelalxeliynnuhwa aelaphwkekhaidklawwa phwkthanxyaidthxdthingphraecathnghlaykhxngphwkthanepnxnkhad phwkthanxyaidthxdthing aela aela aela aela epnxnkhad kurxansueraah 71 23 71 23 xikruphnungkhxng chirik khuxkarskkarathrphysunhruxwsduxun echninxlkurxan sueraah ineruxngrawkhxngthibucha aelamusa sngihphwkekhakhxxphyoths xikrupaebbhnungkhxngchirkinxlkurxan sueraah khux karnankwichakarsasna phra singskdisiththi hruxnkkdhmaythangsasnaepnphraecainthangptibtikartikhwamthangethwwithyamuslimyukhklangaelankprchyachawyiwechuxwahlktriexkphaphepn chirik inphasaxahrb hrux inphasahibru hmaythung karechuxmoyng inkarkarcakdkhwamepnxnntkhxngphraecaodykarechuxmoyngphraphuepnecakbkardarngxyuthangkayphaph inbribththangethwwithya phuthitha chirik khuxphuthitngsingthithuksrangkbxllxh odycaepnbapniintxnthikhnhnungcintnakarwamihunswnthiehmaakbkhukb xllxh tamthixlkurxanklawwa aethcringxllxh caimthrngxphyothsihaekkarthisinghnungcathukihmiphakhi khunaekphraxngkhaelaphraxngkhthrngxphyihaeksingxuncaknnsahrbphuthiphraxngkhthrngprasngkh aelaphuidihmiphakhikhunaekxllxh aelwaennxnekhakidxupolknbapkrrmxnihyhlwngkhun kurxan sueraah 4 48 4 48 phutidtamlththisufibangswn miaenwonmthicaechuxinsingxunkhukbphraecawaepnhnunginphhuethwniym chirik nnimrwmthungphraethiymethc aetrwmkhwamechuxinkarmitwtnkhxngsingxun sungepnthiyxmrbodyexkethwniym echn marepntnkaenidkhxngkhwamchw hruxectcanngesriepntnkaenidkhxnghnathikhxngsingthuksrangkhxngphraeca ethakbkarechuxwamixanacxunnxkcakphraeca sthanakhxng xahlulkitab odyechphaachawyiwaelakhrist aenwkhidkhxngkarimechuxinmummxngkhxngsasnaxislamyngimepnthikracang chals xdms Charles Adams ekhiynwa kurxantahnichawkhmphirdwykhawa kufr ephraaptiesthoxngkarkhxngmuhmmd emuxphwkekhakhwrepnklumaerkthiyxmrbmninthanaphusubthxdwcnainyukhkxn aelaeluxkechphaachawkhristthiptiesthhlkthankhwamepnexkphaphkhxngphraeca oxngkarcaksueraah 5 73 5 73 aethcringbrrdaphuthiklawwaxllxh epnphuthisamkhxngsamxngkh nnidtkepnphuptiesthsrththaaelw khukbxayahxun epnthiekhaicwasasnaxislam xikxayahhnungptiesth phraeysu butrkhxngphraaemmariy xyangeddkhadaelaklawthungphukhnthiihphraeysuethakbphraecaepnphuptiesth sungcathuklngothsinnrktlxdkal xlkurxanimidklawthungphraeysuinthanabutrkhxngphraecahruxepnphraeca aetidklawepnsasdaaelasasnthutkhxngphraecathisngmaynglukhlanxisraexl nkkhidmuslimbangkhn echn mimummxngaebbrunaernginoxngkarthiekiywkbkhwamechuxinhlktriexkphaphaelakarepnphraecakhxngphraeysu 5 19 5 75 76 5 119 waepnhlkkarthiimichkhrisetiynsungthukptiesthodykhristckr Cyril Glasse wicarnkarichkhawa phhuphcnkhxng kafir ephuxklawthungchawkhristwaepn karichnganxyanghlahlwm rayngancak inhlknitisastrxislam xahlulkitab nn mkickwangkwaphwk kuffar phhuphcnkhxng kafir xun aela inthangthvsdi muslimcathuklngoths thaekhaphudkbchawyiwhruxkhristwa ecaphuptiesthsrththa inthangprawtisastr chawkhmphirthixyuphayitkarpkkhrxngkhxngxislam caidsthanaihmwa simmi inkhnathiphumaeyiymchmdinaednmuslimcaidsthanaepn hlngcakstwrrsthi 18 dwykhwamrungeruxngkhxngwahabiy chirik thukkhyaykrxbihkwangkwaedim echnkarmiswnrwmthangkaremuxngthiduaephlkinsasnaxislam hruxyudmnpraephnithangsasna echuxwaimidxyuinhlkkarxislamduephimsthaniyxysasnaxtiethwniym nikayinsasnaxislam lththinxksasna chahadah txkhut yaxalixangxingNonbelief An Islamic Perspective Kamoonpuri S Basic Beliefs of Islam pages 42 58 Tanzania Printers Limited 2001 Gimaret D 2012 S h irk in P Bearman Th Bianquis C E Bosworth E van Donzel W P Heinrichs b k Encyclopaedia of Islam 2nd ed Brill doi 10 1163 1573 3912 islam SIM 6965 Glasse Cyril Smith Huston 2003 01 01 The New Encyclopedia of Islam phasaxngkvs Rowman Altamira p 429 ISBN 9780759101906 Cenap Cakmak Islam A Worldwide Encyclopedia 4 volumes ABC CLIO 2017 ISBN 978 1 610 69217 5 page 1450 Vocabulary of the Quran Ibn Kathir Tafsir Ibn Kathir English Surah Al Tawbah Quran 4 U subkhnemux 11 March 2020 Ibn Kathir Tafsir Ibn Kathir English Surah Nuh Quran 4 U subkhnemux 11 March 2020 Quran 7 148 150 khlngkhxmulekaekbcakaehlngedimemux 2020 02 04 subkhnemux 2020 10 10 khlngkhxmulekaekbcakaehlngedimemux 2020 10 14 subkhnemux 2020 10 10 Learning from other faiths Hermann Haring Janet Martin Soskice Felix Wilfred 2003 141 Medieval Jewish as well as Muslim philosophers identified belief in the Trinity with the heresy of shituf Hebrew or shirk Arabic associationism or limiting the infinity of Allah by associating his divinity with creaturely being Ibn Kathir Tafsir Ibn Kathir English Surah Al Nisa Quran 4 U subkhnemux 11 March 2020 Awn Peter J 1983 Satan s Tragedy and Redemption Iblis in Sufi Psychology Leiden Brill Publishers p 104 ISBN 978 9004069060 Charles Adams Kevin Reinhart 2009 Kufr in John L Esposito b k The Oxford Encyclopedia of the Islamic World Oxford Oxford University Press ISBN 9780195305135 Ibn Kathir Surah Al Ma ida Quran 4 U subkhnemux 11 March 2020 Thomas David 2006 Trinity in Jane Dammen McAuliffe b k Encyclopaedia of the Qurʾan Brill Joseph Jojo Qur an Gospel Convergence The Qur an s Message To Christians 2022 02 17 thi ewyaebkaemchchin Journal of Dharma 1 January March 2010 pp 55 76 Mazuz Haggai 2012 Christians in the Qurʾan Some Insights Derived from the Classical Exegetic Approach Journal of Dharma 35 1 January March 2010 55 76 Schirrmacher Christine The Islamic view of Christians Qur an and Hadith http www worldevangelicals org Carre Olivier 2003 Mysticism and Politics A Critical Reading of Fi Ẓilal Al Qurʼan by Sayyid Quṭb Boston Brill pp 63 64 ISBN 978 9004125902 Glasse Cyril 1989 The New Encyclopedia of Islam Revised 2001 ed NY Altamira Press p 247 ISBN 978 0759101890 Bjorkman W 2012 Kafir in P Bearman Th Bianquis C E Bosworth E van Donzel W P Heinrichs b k Encyclopaedia of Islam 2nd ed Brill doi 10 1163 1573 3912 islam SIM 3775 Fletcher Charles Shirk In The Oxford Encyclopedia of the Islamic World Oxford Islamic Studies Online http www oxfordislamicstudies com article opr t236 e1080 accessed Apr 21 2020 aehlngkhxmulxunZebiri Kate 1995 Relations Between Muslims and Non Muslims in the Thought of Western Educated Muslim Intellectuals Islam and Christian Muslim Relations Islam and Christian Muslim Relations 6 2 255 277 doi 10 1080 09596419508721055 Shirk in legislation 2015 05 29 thi ewyaebkaemchchin