การสัมพันธ์ (อังกฤษ: association) หมายถึงการสร้างความสัมพันธ์ทางจิตระหว่าง (concept), (event) หรือ (mental state) ซึ่งเกิดขึ้นจากประสบการณ์เฉพาะ เราสามารถพบแนวคิดเรื่องการสัมพันธ์ได้ในหลาย (schools of thought) ในสาขาวิชาจิตวิทยาเช่น พฤติกรรมนิยม, (associationism) , จิตวิเคราะห์, จิตวิทยาสังคม, และ โครงสร้างนิยม (structuralism) นอกจากนี้ยังสามารถพบได้ในวิชาจิตวิทยาร่วมสมัยในหลายสาขา เช่น ความจำ, การเรียน และในการศึกษาวิถีประสาท (idea) นี้เริ่มมาจากเพลโตกับแอริสตอเติล โดยเฉพาะเรื่องการสืบทอดความจำ และถูกนำไปต่อยอดโดยนักปรัชญาเช่น จอห์น ล็อก, เดวิด ฮูม, (David Hartley) และ (James Mill)
การสัมพันธ์ที่เกิดจากการเรียน
(การเรียนเชิงสัมพันธ์)คือ เมื่อมนุษย์หรือสัตว์สร้างความสัมพันธ์ระหว่างสิ่งเร้า (ทางเสียง หรือภาพ) หรือพฤติกรรม (ทางเสียง หรือภาพ) อย่างใดอย่างหนึ่ง กับสิ่งเร้าเดิม (ทางเสียง หรือภาพ) ยิ่งสิ่งเร้ามีความเป็นรูปธรรมมากเท่าไหร่ ยิ่งมีโอกาสปลุกภาพความรู้สึกที่สามารถทำหน้าที่เป็นตัวกลางของการเรียนเชิงสัมพันธ์และการจำได้ ความสามารถในการสัมพันธ์เป็นรากฐานของการเรียนรู้ ความสามารถในการเรียนรู้ข้อมูลใหม่มีความจำเป็นต่อชีวิตประจำวัน และจึงเป็นปัจจัยสำคัญต่อการสูงวัยอย่างมีสุขภาพดี มีงานวิจัยเพียงพอที่แสดงถึงความสามารถในการสร้างหรือนึกถึงความจำอาศัยเหตุการณ์ที่ลดลงอันเนื่องมาจากชราภาพ การเรียนรู้ในรูปแบบนี้สามารถพบเจอได้ในทั้งการวางเงื่อนไขแบบดั้งเดิมและ (operant conditioning)
กฎแห่งผล
(Edward Thorndike) ได้พัฒนา (อังกฤษ: law of effect) ขึ้นมา โดยผลพวงของการตอบสนองจะส่งผลต่อการสัมพันธ์ระหว่างสิ่งเร้าหนึ่งกับการตอบสนองนั้น ๆ เช่น พฤติกรรมจะเกิดบ่อยและ/หรือแรงขึ้นหากผลที่ตามมาคือรางวัล สิ่งนี้เกิดขึ้นเพราะการสัมพันธ์ระหว่างพฤติกรรมกับ ( mental representation) ของรางวัล (เช่น อาหาร) ในทางกลับกันการได้รับผลพวงที่เป็นลบก็จะลดอัตราการเกิดของพฤติกรรม เนื่องจากการสัมพันธ์ที่เป็นลบ
การวางเงื่อนไขแบบดั้งเดิม
การวางเงื่อนไขแบบดั้งเดิมเป็นตัวอย่างของการสัมพันธ์ที่เกิดจากการเรียนรู้ กระบวนการการวางเงื่อนไขแบบดั้งเดิมประกอบไปด้วยสี่องค์ประกอบ: สิ่งเร้าไม่มีเงื่อนไข (unconditioned stimulus (UCS)), การตอบสนองไม่มีเงื่อนไข (unconditioned response (UCR)), สิ่งเร้ามีเงื่อนไข (conditioned stimulus (CS)), และการตอบสนองมีเงื่อนไข (conditioned response (CS))
แม้ไม่มีการวางเงื่อนไขแต่ความสัมพันธ์ระหว่างสิ่งเร้าไม่มีเงื่อนไขกับการตอบสนองไม่มีเงื่อนไขมีอยู่แล้ว เมื่อจับคู่สิ่งเร้าไม่มีเงื่อนไขกับสิ่งเร้าสิ่งอีกอันหนึ่ง การตอบสนองไม่มีเงื่อนไขก็จะสัมพันธ์กับสิ่งเร้าทั้งสองนั้น สิ่งเร้าอันที่สองเรียกว่าสิ่งเร้ามีเงื่อนไข และมันจะกระตุ้นการตอบสนองแบบมีเงื่อนไข
ในขณะที่สิ่งเร้ามีเงื่อนไขกำลังถูกสัมพันธ์กับสิ่งเร้าไม่มีเงื่อนไข ความแรงของการตอบสนองต่อสิ่งเร้ามีเงื่อนไขจะเพิ่มขึ้นตามเวลาของการเรียนรู้ ความแรงของการตอบสนองอาจลดลงได้หากสิ่งเร้ามีเงื่อนไขถูกนำเสนอโดยไม่มีสิ่งเร้าไม่มีเงื่อนไข ในการทดลองอันโด่งดังของปัฟลอฟ เขาใช้การตอบสนองแบบไม่มีเงื่อนไขของสุนัขที่จะน้ำลายไหลเมื่อเห็นอาหารและจับคู่มันกับเสียงกระดิ่งซึ่งเป็นสิ่งเร้าที่มีเงื่อนไขเมื่อให้อาหาร หลังจากนั้นเมื่อสั่นกระดิ่งสุนัขจะน้ำลายไหลเป็นการตอบสนองแบบมีเงื่อนไข แม้จะไม่มีอาหารอยู่ก็ตาม แสดงให้เห็นถึงการสัมพันธ์ที่ถูกสร้างขึ้นมาระหว่างกระดิ่งและอาหาร
การวางเงื่อนไขด้วยการกระทำ
ใน (อังกฤษ: operant conditioning) พฤติกรรมจะเปลี่ยนไปเนื่องจากผลของการกระทำที่ได้ประสบในภายหลัง สิ่งเร้าไม่ได้ทำให้เกิดพฤติกรรมแบบในการวางเงื่อนไขแบบดั้งเดิม แต่เกิดการสัมพันธ์ระหว่างสิ่งเร้ากับผลที่ตามมา เป็นการขยายความโดยธอร์นไดค์ในกฎของผลของเขา
(B.F. Skinner) โด่งดังจากการศึกษาเรื่องตัวเสริม (reinforcer) พฤติกรรม งานของเขารวมถึงลักษณะของเงื่อนไข (contingency) ซึ่งหมายถึงการเชื่อมโยงความระหว่างการกระทำกับผลที่ตามมาหรือการเสริม (reinforcement) สกินเนอร์บรรยายถึงเงื่อนไขสามรูปแบบ: การเสริมบวก การเสริมลบ และการลงโทษ การเสริมสร้างการสัมพันธ์ด้านบวกระหว่างการกระทำและผลที่ตามมาเพื่อสนับสนุนการกระทำนั้นต่อไป นี่สามารถทำได้สองรูปแบบคือการเสริมบวกจะนำเข้าสิ่งเร้าที่เป็นรางวัลและในทางตรงกันข้ามการเสริมลบจะเอาสิ่งเร้าซึ่งรังเกียจออกไปเพื่อให้สิ่งแวดล้อมน่ารังเกียจน้อยลง การลงโทษจะสร้างการสัมพันธ์ลบระหว่างการกระทำและผลที่ตามมาซึ่งจะทำให้ไม่มีการกระทำนั้นต่อไปอีก
พื้นอารมณ์
เนื้อหาโดยรวมของ (อังกฤษ: mood) เมื่อเทียบกับความรู้สึก, อารมณ์, และ (affect) จะมีความเฉพาะเจาะจงน้อยกว่าและมีโอกาสถูกกระตุ้นโดยสิ่งเร้าและเหตุการณ์มากกว่า การศึกษาในปัจจุบันสืบหาส่วนประกอบของประสบการณ์โดยตรงของพื้นอารมณ์อย่างหนึ่งเช่น สภาวะเศร้า หรือโกรธ พื้นอารมณ์ปกติถูกนิยามด้วยการเปรียบเทียบกับอารมณ์ มีหลายเกณฑ์เพื่อแยกแยะพื้นอารมณ์ออกจากอารมณ์แต่มีการตกลงกันอย่างกว้างขวางว่าคุณสมบัติแยกแยะที่สำคัญคือพื้นอารมณ์นั้นกระจัดกระจายและสากลกว่าเมื่อเปรียบเทียบกับอารมณ์วอตสันได้แนะนำกระต่ายขนปุยสีขาวต่อเด็กทารกและสร้างความสัมพันธ์ระหว่างกระต่ายและเสียงดัง การทดลองนี้ทำให้หนูน้อยอัลเบิร์ตซึ่งเป็นเด็กทารกคนนั้นสัมพันธ์กระต่ายกับความกลัว
ความจำ
ความจำ (อังกฤษ: memory) ดูแล้วปฏิบัติการเป็นลำดับของการสัมพันธ์: แนวคิด, คำ, และ (opinion) ถูกนำมาพัวพันกัน จนสิ่งเร้าเช่นใบหน้าคนจะทำให้จำชื่อคนนั้นที่สัมพันธ์ไว้ได้ การเข้าใจผลกระทบของพื้นอารมณ์ต่อความจำเป็นเรื่องหลัก ๆ ในหลายปัญหาของวิชาจิตวิทยา มันเป็นหัวข้อหลักในหลายทฤษฎีเรื่องความสัมพันธ์ระหว่างสภาวะอารมณ์กับการรับรู้ ผลกระทบของพื้นอารมณ์ต่อความจำอาจเป็นตัวกลางให้อิทธิพลของพื้นอารมณ์ต่อพฤติกรรมและ (judgement) อันหลากหลายที่เกี่ยวข้องกับการตัดสินใจ, การช่วยเหลือ, และ (Social perception) การเข้าใจความสัมพันธ์ระหว่างวัตถุต่าง ๆ เป็นพื้นฐานของความจำแบบอาศัยเหตุการณ์ และความเสียหายต่อสมองส่วนฮิปโปแคมปัสถูกพบว่าทำให้การเรียนการสัมพันธ์ระหว่างวัตถุถดถอย
การทดสอบการสัมพันธ์
การสัมพันธ์ในมนุษย์สามารถวัดได้ด้วย (อังกฤษ: implicit association test) การทดสอบทางจิตวิทยาที่วัดความสัมพันธ์โดยนัย (ใต้สำนึก) ระหว่างแนวคิดสองอย่าง ถูกสร้างขึ้นโดย แอนโธนี จี. กรีนวอลด์ ในปีค.ศ. 1995 (พ.ศ. 2538). มันถูกใช้ในการสืบค้นความลำเอียงต่อเชื้อชาติ, เพศหรือรสนิยมทางเพศใต้สำนึก, (Preference (economics)) , ความพึงใจทางการเมือง, ลักษณะบุคลิกภาพ, การดื่มสุราและการเสพยา, สุขภาพจิต และ (interpersonal relationship)การทดสอบนี้วัดการสัมพันธ์ระหว่างมโนภาพต่าง ๆ เช่นเชื้อชาติกับอาชญากรรม ใช้ (mental chronometry) ในการแยกแยะการสัมพันธ์ เวลาตอบสนองที่เร็วเป็นตัวบ่งบอกถึงการสัมพันธ์ที่เข้มแข็งกว่า
โดยในการทดลองนี้ใช้คะแนน (effect size) เพื่อแทนเวลาตอบสนองเฉลี่ยของผู้เข้าร่วม ถ้าคะแนนเฉลี่ยของผู้เข้าร่วมเป็นลบ บุคคลนั้นจะถือว่ามี (implicit stereotype) น้อย ถ้าเวลาตอบสนองเฉลี่ยเป็นบวก จะถือว่ามีความเอนเอียงโดยนัยมากกว่า คะแนน D นี้คำนวณโดยการลบผลการทดลองที่มากกว่า 10,000 มิลลิวินาทีทิ้ง และลบผู้เข้าร่วมที่ตอบเร็วกว่า 300 มิลลิวินาทีเกินหนึ่งในสิบผลการทดลองทิ้ง เพื่อกำหนดค่าเบี่ยงเบนมาตรฐานโดยรวมของการทดลองทั้งหมดในส่วนที่ 3 กับ 4 และส่วนที่ 6 กับ 7 เวลาตอบสนองเฉลี่ยถูกกำหนดสำหรับส่วนที่ 3, 4, 6 และ 7 ค่าเฉลี่ยของผลต่างระหว่างส่วนที่ 6 และ 3 (ค่าเฉลี่ยส่วนที่ 6 - ค่าเฉลี่ยส่วนที่ 3) กับ ค่าเฉลี่ยของผลต่างระหว่างส่วนที่ 7 และ 4 (ค่าเฉลี่ยส่วนที่ 7 - ค่าเฉลี่ยส่วนที่ 4) จะถูกคำนวณโดยนำค่าเบี่ยงเบนมาตรฐานโดยรวมของแต่ละอัน จะเท่ากับค่าเฉลี่ยของอัตราส่วนทั้งสองที่คิดมาได้
ดูเพิ่ม
- (Pair by association)
- กระบวนการคิดเชิงเทิดทูน
- (Association of ideas)
- (Associative memory (psychology))
อ้างอิง
- Klein, Stephen (2012). Learning: Principles and Applications (6 ed.). SAGE Publications. ISBN .
- Smith, E. E. & Kosslyn, S. M. (2007)
- Boring, E. G. (1950)
- Paivio, Allan (1969). "Mental Imagery in Associative Learning and Memory". Psychological Review. 76 (3): 241–263. doi:10.1037/h0027272.
- Eich, Eric; Forgas, Joseph (2003). "Mood, Cognition, and Memory". ใน Healy, Alice; Proctor, Robert (บ.ก.). Handbook of Psychology. Vol. 4. New Jersey: John Wiley & Sons, Inc.
- Clark, Rachel; Hazeltine, Eliot; Freedberg, Michael; Voss, Michelle (2018). "Age Differences in Episodic Associative Learning". Psychology and Aging. 1 (33): 144–157. doi:10.1037/pag0000234. PMID 29494185.
- Miller, Ralph; Grace, Randolph (2003). "Conditioning and Learning". ใน Healy, Alice (บ.ก.). Handbook of Psychology. Vol. 4. New Jersey: John Wiley & Sons, Inc.
- Klein, Stephen (2012). Learning: Principles and Applications (6 ed.). SAGE Publications. ISBN .
- Timberlake, 1994
- Shettleworth, S. J. (2010)
- Siemer, Matthias (1954). "Mood-congruent cognitions constitute mood experience". Emotion. 5 (3): 296–308. doi:10.1037/1528-3542.5.3.296. JSTOR 2005. PMID 16187865.
- Watier & Collin 2012
- Gazzaniga, Ivry & Mangun, 2009
- Parrot, Gerrod; Sabini, John (1990). "Moody and Memory Under Natural Conditions: Evidence for Mood Incongruent Recall" (PDF). Journal of Personality and Social Psychology. 59 (2): 321. doi:10.1037/0022-3514.59.2.321.
- Stark, Bayley & Squire, 2002
- Greenwald, Anthony G.; Banaji, Mahzarin R. (1995). "Implicit social cognition: Attitudes, self-esteem, and stereotypes". Psychological Review. 102 (1): 4–27. doi:10.1037/0033-295x.102.1.4. ISSN 1939-1471. PMID 7878162.
- Uhlmann, Eric Luis Greenwald, Anthony Poehlmann, Andrew Banaji, Mahzarin. Understanding and Using the Implicit Association Test: III. Meta-Analysis of Predictive Validity. OCLC 802355222.
{{}}
: CS1 maint: multiple names: authors list () - Greenwald, McGhee & Schwartz, 1998
- Lane, K.A.; Banaji, M.R.; Nosek, B.A.; Greenwald, A.G. (2007). Understanding and Using the Implicit Association Test:IV. What we know (So Far). Implicit measures of attitudes: Procedures and controversies. New York: Guilford Press. pp. 58–102.
บรรณานุกรม
- Boring, E. G. (1950) A History of Experimental Psychology. New York: Appleton-Century-Crofts.
- Crisp, R. J; Turner, R. N. (2007). "Attitude formation". Essential Social Psychology. London, Thousand Oaks, CA: SAGE. ISBN .
- Gallistel, C. R. & Gibbon, J. (2002). The Symbolic Foundations of Conditioned Behavior. Mahwah, NJ: L. Erlbaum Associates. ISBN
- Gazzaniga, M. S.; Ivry, R. B. & Mangun, G. R. (2009). "Learning and memory". Cognitive neuroscience: The biology of the mind. New York: W.W. Norton. ISBN .
- Greenwald, A. G; McGhee, D. E.; Schwartz, J. L. K. (1998). "Measuring individual differences in implicit cognition: The implicit association test". Journal of Personality and Social Psychology. 74 (6): 1464–1480. 10.1.1.489.4611. doi:10.1037/0022-3514.74.6.1464. PMID 9654756.
- Klein, Stephen (2012). Learning: Principles and Applications (6 ed.). Thousand Oaks, CA, London: SAGE. ISBN .
- Shettleworth, S. J. (2010) Cognition, Evolution and Behavior. Oxford, New York: Oxford University Press. ISBN .
- Smith, E. E. & Kosslyn, S. M. (2007) "Cognitive Psychology: Mind and Brain", Upper Saddle River, NJ: Pearson / Prentice Hall. ISBN .
- Stark, C. E. L; Bayley, P. J.; Squire, L. R. (2002). "Recognition memory for single items and for associations is similarly impaired following damage to the hippocampal region". Learning & Memory. 5 (9): 238–242. doi:10.1101/lm.51802. PMC 187132. PMID 12359833.
- Timberlake, W. (1994). "Behavior systems, associationism, and pavlovian conditioning". Psychonomic Bulletin & Review. 4 (1): 405–420. doi:10.3758/bf03210945. PMID 24203549.
- Watier, N.; Collin, C. (2012). "The effects of distinctiveness on memory and metamemory for face–name associations". Memory. 1 (20): 73–88. doi:10.1080/09658211.2011.637935. PMID 22171812.
แหล่งข้อมูลอื่น
- Word Associations Network: The Word Association Dictionary
wikipedia, แบบไทย, วิกิพีเดีย, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด, บทความ, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม, มือถือ, โทรศัพท์, Android, iOS, Apple, โทรศัพท์โมบิล, Samsung, iPhone, Xiomi, Xiaomi, Redmi, Honor, Oppo, Nokia, Sonya, MI, PC, พีซี, web, เว็บ, คอมพิวเตอร์
karsmphnth xngkvs association hmaythungkarsrangkhwamsmphnththangcitrahwang concept event hrux mental state sungekidkhuncakprasbkarnechphaa erasamarthphbaenwkhideruxngkarsmphnthidinhlay schools of thought insakhawichacitwithyaechn phvtikrrmniym associationism citwiekhraah citwithyasngkhm aela okhrngsrangniym structuralism nxkcakniyngsamarthphbidinwichacitwithyarwmsmyinhlaysakha echn khwamca kareriyn aelainkarsuksawithiprasath idea nierimmacakephlotkbaexristxetil odyechphaaeruxngkarsubthxdkhwamca aelathuknaiptxyxdodynkprchyaechn cxhn lxk edwid hum David Hartley aela James Mill kartunlxeliyninnitysar chbbwnthi 17 mkrakhm kh s 1834 smphnthphraecahluys filipthi 1 aehngfrngesskb wadodykarsmphnththiekidcakkareriynkareriynechingsmphnthkhux emuxmnusyhruxstwsrangkhwamsmphnthrahwangsingera thangesiyng hruxphaph hruxphvtikrrm thangesiyng hruxphaph xyangidxyanghnung kbsingeraedim thangesiyng hruxphaph yingsingeramikhwamepnrupthrrmmakethaihr yingmioxkasplukphaphkhwamrusukthisamarththahnathiepntwklangkhxngkareriynechingsmphnthaelakarcaid khwamsamarthinkarsmphnthepnrakthankhxngkareriynru khwamsamarthinkareriynrukhxmulihmmikhwamcaepntxchiwitpracawn aelacungepnpccysakhytxkarsungwyxyangmisukhphaphdi minganwicyephiyngphxthiaesdngthungkhwamsamarthinkarsranghruxnukthungkhwamcaxasyehtukarnthildlngxnenuxngmacakchraphaph kareriynruinrupaebbnisamarthphbecxidinthngkarwangenguxnikhaebbdngedimaela operant conditioning kdaehngphl Edward Thorndike idphthna xngkvs law of effect khunma odyphlphwngkhxngkartxbsnxngcasngphltxkarsmphnthrahwangsingerahnungkbkartxbsnxngnn echn phvtikrrmcaekidbxyaela hruxaerngkhunhakphlthitammakhuxrangwl singniekidkhunephraakarsmphnthrahwangphvtikrrmkb mental representation khxngrangwl echn xahar inthangklbknkaridrbphlphwngthiepnlbkcaldxtrakarekidkhxngphvtikrrm enuxngcakkarsmphnththiepnlb karwangenguxnikhaebbdngedim karwangenguxnikhaebbdngedimepntwxyangkhxngkarsmphnththiekidcakkareriynru krabwnkarkarwangenguxnikhaebbdngedimprakxbipdwysixngkhprakxb singeraimmienguxnikh unconditioned stimulus UCS kartxbsnxngimmienguxnikh unconditioned response UCR singeramienguxnikh conditioned stimulus CS aelakartxbsnxngmienguxnikh conditioned response CS aemimmikarwangenguxnikhaetkhwamsmphnthrahwangsingeraimmienguxnikhkbkartxbsnxngimmienguxnikhmixyuaelw emuxcbkhusingeraimmienguxnikhkbsingerasingxikxnhnung kartxbsnxngimmienguxnikhkcasmphnthkbsingerathngsxngnn singeraxnthisxngeriykwasingeramienguxnikh aelamncakratunkartxbsnxngaebbmienguxnikh inkhnathisingeramienguxnikhkalngthuksmphnthkbsingeraimmienguxnikh khwamaerngkhxngkartxbsnxngtxsingeramienguxnikhcaephimkhuntamewlakhxngkareriynru khwamaerngkhxngkartxbsnxngxacldlngidhaksingeramienguxnikhthuknaesnxodyimmisingeraimmienguxnikh inkarthdlxngxnodngdngkhxngpflxf ekhaichkartxbsnxngaebbimmienguxnikhkhxngsunkhthicanalayihlemuxehnxaharaelacbkhumnkbesiyngkradingsungepnsingerathimienguxnikhemuxihxahar hlngcaknnemuxsnkradingsunkhcanalayihlepnkartxbsnxngaebbmienguxnikh aemcaimmixaharxyuktam aesdngihehnthungkarsmphnththithuksrangkhunmarahwangkradingaelaxahar karwangenguxnikhdwykarkratha in xngkvs operant conditioning phvtikrrmcaepliynipenuxngcakphlkhxngkarkrathathiidprasbinphayhlng singeraimidthaihekidphvtikrrmaebbinkarwangenguxnikhaebbdngedim aetekidkarsmphnthrahwangsingerakbphlthitamma epnkarkhyaykhwamodythxrnidkhinkdkhxngphlkhxngekha B F Skinner odngdngcakkarsuksaeruxngtwesrim reinforcer phvtikrrm ngankhxngekharwmthunglksnakhxngenguxnikh contingency sunghmaythungkarechuxmoyngkhwamrahwangkarkrathakbphlthitammahruxkaresrim reinforcement skinenxrbrryaythungenguxnikhsamrupaebb karesrimbwk karesrimlb aelakarlngoths karesrimsrangkarsmphnthdanbwkrahwangkarkrathaaelaphlthitammaephuxsnbsnunkarkrathanntxip nisamarththaidsxngrupaebbkhuxkaresrimbwkcanaekhasingerathiepnrangwlaelainthangtrngknkhamkaresrimlbcaexasingerasungrngekiycxxkipephuxihsingaewdlxmnarngekiycnxylng karlngothscasrangkarsmphnthlbrahwangkarkrathaaelaphlthitammasungcathaihimmikarkrathanntxipxik phunxarmn enuxhaodyrwmkhxng xngkvs mood emuxethiybkbkhwamrusuk xarmn aela affect camikhwamechphaaecaacngnxykwaaelamioxkasthukkratunodysingeraaelaehtukarnmakkwa karsuksainpccubnsubhaswnprakxbkhxngprasbkarnodytrngkhxngphunxarmnxyanghnungechn sphawaesra hruxokrth phunxarmnpktithukniyamdwykarepriybethiybkbxarmn mihlayeknthephuxaeykaeyaphunxarmnxxkcakxarmnaetmikartklngknxyangkwangkhwangwakhunsmbtiaeykaeyathisakhykhuxphunxarmnnnkracdkracayaelasaklkwaemuxepriybethiybkbxarmnwxtsnidaenanakrataykhnpuysikhawtxedktharkaelasrangkhwamsmphnthrahwangkratayaelaesiyngdng karthdlxngnithaihhnunxyxlebirtsungepnedktharkkhnnnsmphnthkrataykbkhwamklwkhwamcakhwamca xngkvs memory duaelwptibtikarepnladbkhxngkarsmphnth aenwkhid kha aela opinion thuknamaphwphnkn cnsingeraechnibhnakhncathaihcachuxkhnnnthismphnthiwid karekhaicphlkrathbkhxngphunxarmntxkhwamcaepneruxnghlk inhlaypyhakhxngwichacitwithya mnepnhwkhxhlkinhlaythvsdieruxngkhwamsmphnthrahwangsphawaxarmnkbkarrbru phlkrathbkhxngphunxarmntxkhwamcaxacepntwklangihxiththiphlkhxngphunxarmntxphvtikrrmaela judgement xnhlakhlaythiekiywkhxngkbkartdsinic karchwyehlux aela Social perception karekhaickhwamsmphnthrahwangwtthutang epnphunthankhxngkhwamcaaebbxasyehtukarn aelakhwamesiyhaytxsmxngswnhipopaekhmpsthukphbwathaihkareriynkarsmphnthrahwangwtthuthdthxykarthdsxbkarsmphnthkarsmphnthinmnusysamarthwdiddwy xngkvs implicit association test karthdsxbthangcitwithyathiwdkhwamsmphnthodyny itsanuk rahwangaenwkhidsxngxyang thuksrangkhunody aexnothni ci krinwxld inpikh s 1995 ph s 2538 mnthukichinkarsubkhnkhwamlaexiyngtxechuxchati ephshruxrsniymthangephsitsanuk Preference economics khwamphungicthangkaremuxng lksnabukhlikphaph kardumsuraaelakaresphya sukhphaphcit aela interpersonal relationship karthdsxbniwdkarsmphnthrahwangmonphaphtang echnechuxchatikbxachyakrrm ich mental chronometry inkaraeykaeyakarsmphnth ewlatxbsnxngthierwepntwbngbxkthungkarsmphnththiekhmaekhngkwa odyinkarthdlxngniichkhaaenn effect size ephuxaethnewlatxbsnxngechliykhxngphuekharwm thakhaaennechliykhxngphuekharwmepnlb bukhkhlnncathuxwami implicit stereotype nxy thaewlatxbsnxngechliyepnbwk cathuxwamikhwamexnexiyngodynymakkwa khaaenn D nikhanwnodykarlbphlkarthdlxngthimakkwa 10 000 milliwinathithing aelalbphuekharwmthitxberwkwa 300 milliwinathiekinhnunginsibphlkarthdlxngthing ephuxkahndkhaebiyngebnmatrthanodyrwmkhxngkarthdlxngthnghmdinswnthi 3 kb 4 aelaswnthi 6 kb 7 ewlatxbsnxngechliythukkahndsahrbswnthi 3 4 6 aela 7 khaechliykhxngphltangrahwangswnthi 6 aela 3 khaechliyswnthi 6 khaechliyswnthi 3 kb khaechliykhxngphltangrahwangswnthi 7 aela 4 khaechliyswnthi 7 khaechliyswnthi 4 cathukkhanwnodynakhaebiyngebnmatrthanodyrwmkhxngaetlaxn caethakbkhaechliykhxngxtraswnthngsxngthikhidmaidduephim Pair by association krabwnkarkhidechingethidthun Association of ideas Associative memory psychology xangxingKlein Stephen 2012 Learning Principles and Applications 6 ed SAGE Publications ISBN 978 1 4129 8734 9 Smith E E amp Kosslyn S M 2007 Boring E G 1950 Paivio Allan 1969 Mental Imagery in Associative Learning and Memory Psychological Review 76 3 241 263 doi 10 1037 h0027272 Eich Eric Forgas Joseph 2003 Mood Cognition and Memory in Healy Alice Proctor Robert b k Handbook of Psychology Vol 4 New Jersey John Wiley amp Sons Inc Clark Rachel Hazeltine Eliot Freedberg Michael Voss Michelle 2018 Age Differences in Episodic Associative Learning Psychology and Aging 1 33 144 157 doi 10 1037 pag0000234 PMID 29494185 Miller Ralph Grace Randolph 2003 Conditioning and Learning in Healy Alice b k Handbook of Psychology Vol 4 New Jersey John Wiley amp Sons Inc Klein Stephen 2012 Learning Principles and Applications 6 ed SAGE Publications ISBN 978 1 4129 8734 9 Timberlake 1994 Shettleworth S J 2010 Siemer Matthias 1954 Mood congruent cognitions constitute mood experience Emotion 5 3 296 308 doi 10 1037 1528 3542 5 3 296 JSTOR 2005 PMID 16187865 Watier amp Collin 2012 Gazzaniga Ivry amp Mangun 2009 Parrot Gerrod Sabini John 1990 Moody and Memory Under Natural Conditions Evidence for Mood Incongruent Recall PDF Journal of Personality and Social Psychology 59 2 321 doi 10 1037 0022 3514 59 2 321 Stark Bayley amp Squire 2002 Greenwald Anthony G Banaji Mahzarin R 1995 Implicit social cognition Attitudes self esteem and stereotypes Psychological Review 102 1 4 27 doi 10 1037 0033 295x 102 1 4 ISSN 1939 1471 PMID 7878162 Uhlmann Eric Luis Greenwald Anthony Poehlmann Andrew Banaji Mahzarin Understanding and Using the Implicit Association Test III Meta Analysis of Predictive Validity OCLC 802355222 a href wiki E0 B9 81 E0 B8 A1 E0 B9 88 E0 B9 81 E0 B8 9A E0 B8 9A Cite book title aemaebb Cite book cite book a CS1 maint multiple names authors list lingk Greenwald McGhee amp Schwartz 1998 Lane K A Banaji M R Nosek B A Greenwald A G 2007 Understanding and Using the Implicit Association Test IV What we know So Far Implicit measures of attitudes Procedures and controversies New York Guilford Press pp 58 102 brrnanukrmBoring E G 1950 A History of Experimental Psychology New York Appleton Century Crofts Crisp R J Turner R N 2007 Attitude formation Essential Social Psychology London Thousand Oaks CA SAGE ISBN 978 0 7619 4215 3 Gallistel C R amp Gibbon J 2002 The Symbolic Foundations of Conditioned Behavior Mahwah NJ L Erlbaum Associates ISBN 0 8058 2934 2 Gazzaniga M S Ivry R B amp Mangun G R 2009 Learning and memory Cognitive neuroscience The biology of the mind New York W W Norton ISBN 978 0 393 92795 5 Greenwald A G McGhee D E Schwartz J L K 1998 Measuring individual differences in implicit cognition The implicit association test Journal of Personality and Social Psychology 74 6 1464 1480 10 1 1 489 4611 doi 10 1037 0022 3514 74 6 1464 PMID 9654756 Klein Stephen 2012 Learning Principles and Applications 6 ed Thousand Oaks CA London SAGE ISBN 978 1 4129 8734 9 Shettleworth S J 2010 Cognition Evolution and Behavior Oxford New York Oxford University Press ISBN 978 0 19 531984 2 Smith E E amp Kosslyn S M 2007 Cognitive Psychology Mind and Brain Upper Saddle River NJ Pearson Prentice Hall ISBN 978 0 13 182508 6 Stark C E L Bayley P J Squire L R 2002 Recognition memory for single items and for associations is similarly impaired following damage to the hippocampal region Learning amp Memory 5 9 238 242 doi 10 1101 lm 51802 PMC 187132 PMID 12359833 Timberlake W 1994 Behavior systems associationism and pavlovian conditioning Psychonomic Bulletin amp Review 4 1 405 420 doi 10 3758 bf03210945 PMID 24203549 Watier N Collin C 2012 The effects of distinctiveness on memory and metamemory for face name associations Memory 1 20 73 88 doi 10 1080 09658211 2011 637935 PMID 22171812 aehlngkhxmulxunWord Associations Network The Word Association Dictionary