บทความนี้ไม่มีจาก(ธันวาคม 2564) |
พฤติกรรมนิยม (อังกฤษ: behaviorism/behaviourism) เป็นแนวทางสู่จิตวิทยาซึ่งรวมปรัชญา วิธีวิทยาและทฤษฎีบางส่วน กำเนิดขึ้นในต้นคริสต์ศตวรรษที่ 20 เป็นปฏิกิริยาต่อจิตวิทยา "มโนนิยม" ซึ่งมักลำบากในการพยากรณ์ที่สามารถทดสอบได้โดยใช้วิธีทดลองอย่างเคร่งครัด หลักพื้นฐานของพฤติกรรมนิยมดังที่แสดงในงานเขียนของจอห์น บี. วัตสัน, และอื่น ๆ คือ จิตวิทยาควรเกี่ยวข้องกับพฤติกรรมของบุคคลและสัตว์ที่สังเกตได้ มิใช่เหตุการณ์สังเกตไม่ได้ที่เกิดในจิต สำนักคิดพฤติกรรมนิยมถือว่าพฤติกรรมดังกล่าวสามารถอธิบายทางวิทยาศาสตร์ได้โดยไม่ต้องอาศัยทั้งเหตุการณ์จิตวิทยาภายในหรือการตีความสมมุติฐาน เช่น ความคิดความเชื่อ
นับแต่จิตวิทยายุคต้นในคริสต์ศตวรรษที่ 19 สำนักคิดพฤติกรรมนิยมมีลักษณะควบร่วมกับขบวนการจิตวิเคราะห์และในจิตวิทยาจนคริสต์ศตวรรษที่ 20 แต่ยังต่างจากปรัชญาจิตของนักจิตวิทยาเกสตัลท์ในทางสำคัญ อิทธิพลหลักของสำนักคิดนี้คือ อีวาน ปัฟลอฟซึ่งสำรวจการวางเงื่อนไขแบบคลาสสิก (classical conditioning) แม้เขาไม่ได้เห็นด้วยกับพฤติกรรมนิยมหรือนักพฤติกรรมนิยม , จอห์น บี. วัตสันผู้ปฏิเสธวิธีอันตรวินิจและมุ่งจำกัดจิตวิทยาเฉพาะวิธีทดลอง และบี. เอฟ. สกินเนอร์ ผู้วิจัยเรื่องการวางเงื่อนไขแบบการกระทำ (operant conditioning)
ในครึ่งหลังของคริสต์ศตวรรษที่ 20 พฤติกรรมนิยมส่วนใหญ่ถูกบดบังเป็นผลจากการปฏิวัติการรู้ แม้สำนักคิดจิตวิทยาพฤติกรรมนิยมและการรู้อาจไม่ลงรอยกันตามทฤษฎี แต่ทั้งสองเสริมกันและกันในากรนำไปใช้รักษาทางปฏิบัติ เช่น การบำบัดการรู้–พฤติกรรมซึ่งมีประโยชน์ที่แสดงได้ในการรักษาพยาธิสภาพบางอย่าง เช่น โรคกลัวอย่างง่าย ความผิดปกติที่เกิดหลังความเครียดที่สะเทือนใจ และการติด นอกเหนือจากนี้ พฤติกรรมนิยมมุ่งสร้างแบบจำลองเบ็ดเสร็จของกระแสพฤติกรรมตั้งแต่มนุษย์เกิดจนตาย
wikipedia, แบบไทย, วิกิพีเดีย, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด, บทความ, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม, มือถือ, โทรศัพท์, Android, iOS, Apple, โทรศัพท์โมบิล, Samsung, iPhone, Xiomi, Xiaomi, Redmi, Honor, Oppo, Nokia, Sonya, MI, PC, พีซี, web, เว็บ, คอมพิวเตอร์
bthkhwamniimmikarxangxingcakaehlngthimaidkrunachwyprbprungbthkhwamni odyephimkarxangxingaehlngthimathinaechuxthux enuxkhwamthiimmiaehlngthimaxacthukkhdkhanhruxlbxxk thnwakhm 2564 eriynruwacanasaraemaebbnixxkidxyangiraelaemuxir phvtikrrmniym xngkvs behaviorism behaviourism epnaenwthangsucitwithyasungrwmprchya withiwithyaaelathvsdibangswn kaenidkhunintnkhriststwrrsthi 20 epnptikiriyatxcitwithya monniym sungmklabakinkarphyakrnthisamarththdsxbidodyichwithithdlxngxyangekhrngkhrd hlkphunthankhxngphvtikrrmniymdngthiaesdnginnganekhiynkhxngcxhn bi wtsn aelaxun khux citwithyakhwrekiywkhxngkbphvtikrrmkhxngbukhkhlaelastwthisngektid miichehtukarnsngektimidthiekidincit sankkhidphvtikrrmniymthuxwaphvtikrrmdngklawsamarthxthibaythangwithyasastridodyimtxngxasythngehtukarncitwithyaphayinhruxkartikhwamsmmutithan echn khwamkhidkhwamechux nbaetcitwithyayukhtninkhriststwrrsthi 19 sankkhidphvtikrrmniymmilksnakhwbrwmkbkhbwnkarcitwiekhraahaelaincitwithyacnkhriststwrrsthi 20 aetyngtangcakprchyacitkhxngnkcitwithyaekstlthinthangsakhy xiththiphlhlkkhxngsankkhidnikhux xiwan pflxfsungsarwckarwangenguxnikhaebbkhlassik classical conditioning aemekhaimidehndwykbphvtikrrmniymhruxnkphvtikrrmniym cxhn bi wtsnphuptiesthwithixntrwinicaelamungcakdcitwithyaechphaawithithdlxng aelabi exf skinenxr phuwicyeruxngkarwangenguxnikhaebbkarkratha operant conditioning inkhrunghlngkhxngkhriststwrrsthi 20 phvtikrrmniymswnihythukbdbngepnphlcakkarptiwtikarru aemsankkhidcitwithyaphvtikrrmniymaelakarruxacimlngrxykntamthvsdi aetthngsxngesrimknaelakninakrnaipichrksathangptibti echn karbabdkarru phvtikrrmsungmipraoychnthiaesdngidinkarrksaphyathisphaphbangxyang echn orkhklwxyangngay khwamphidpktithiekidhlngkhwamekhriydthisaethuxnic aelakartid nxkehnuxcakni phvtikrrmniymmungsrangaebbcalxngebdesrckhxngkraaesphvtikrrmtngaetmnusyekidcntay