การทดแทนคุณลักษณะ (อังกฤษ: Attribute substitution) เป็นกระบวนการทางจิตวิทยาที่เชื่อว่า เป็นเหตุของความเอนเอียงทางประชาน (cognitive bias) และการแปลสิ่งเร้าทางประสาทสัมผัสผิด (perceptual illusion) หลายอย่าง ซึ่งจะเกิดขึ้นเมื่อเราต้องทำการประเมินคุณลักษณะเป้าหมาย (target attribute) ที่ต้องใช้การคำนวณที่ซับซ้อน แต่กลับใช้คุณลักษณะอีกอย่างหนึ่งแทนที่ ซึ่งเรียกว่า คุณลักษณะฮิวริสติก (heuristic attribute) ที่สามารถคำนวนได้ง่ายกว่า (เช่น การประเมินความน่าจะเป็นว่าอยู่ในกลุ่ม โดยใช้ความคล้ายคลึงของบุคคลกับกลุ่ม แทนที่จะใช้อัตราพื้นฐานของความน่าจะเป็น) การแทนที่เช่นนี้เชื่อว่าเกิดขึ้นในระบบการประเมินแบบรู้เอง (intuitive) ที่เป็นไปโดยอัตโนมัติ ไม่ใช่ระบบที่ต้องอาศัยความคิดพิจารณาที่อยู่เหนือสำนึก ดังนั้น เมื่อเราทำความพยายามที่จะตอบปัญหาที่ยาก เราอาจจะกลับไปตอบปัญหาที่ต่างกันแต่เกี่ยวข้องกัน โดยที่ไม่รู้ว่ามีการแทนที่เกิดขึ้นแล้ว ซึ่งอธิบายว่า ทำไมเราจึงไม่รู้ถึงความเอนเอียงต่าง ๆ ของตน และทำไมความเอนเอียงยังดำรงอยู่ได้แม้เมื่อมีการบอกให้รู้แล้ว และอธิบายอีกด้วยว่า ทำไมการตัดสินใจของมนุษย์บ่อยครั้งจึงไม่มีลักษณะของการถอยกลับไปสู่ค่าเฉลี่ย (regression toward the mean)
ทฤษฎีนี้รวมทฤษฎีต่างหลายอย่างที่อธิบายความผิดพลาดในการคิดหาเหตุผลโดยอธิบายว่า มนุษย์แก้ปัญหาบางอย่างโดยใช้ฮิวริสติกซึ่งเป็นทางลัดในการคิดหาเหตุผล ที่ในบางสถานการณ์ให้คำตอบที่ผิดพลาด ต่อมา ทฤษฎีที่เสนอในปี ค.ศ. 2008 โดยใช้ชื่อว่า effort-reduction framework (โครงสร้างการลดความพยายาม) ก็รวมทฤษฎีนี้เป็นส่วนหนึ่ง โดยเป็นทฤษฎีที่เสนอว่า มนุษย์ใช้เทคนิคต่าง ๆ เพื่อลดความพยายามที่ต้องทำทางใจในการทำการตัดสินใจ
พื้นเพประวัติ
ในผลงานวิจัยปี ค.ศ. 1974 นักจิตวิทยาชาวอเมริกันแดเนียล คาฮ์นะมัน และอะมอส ทเวอร์สกี้ ได้เสนอว่า กลุ่มความเอนเอียงหลายสกุล (คือ ความผิดพลาดอย่างเป็นระบบในการประเมินและการตัดสินใจ) สามารถอธิบายได้โดยใช้คำอธิบายเกี่ยวกับฮิวริสติก (ทางลัดทางความคิด) รวมทั้งฮิวริสติกโดยความเข้าถึงได้ง่าย (availability heuristic) และฮิวริสติกโดยความเป็นตัวแทน (representativeness heuristic) ในปี ค.ศ. 2002 ดร. คาฮ์นะมันและผู้ร่วมงานได้ปรับปรุงคำอธิบายนี้ยิ่งขึ้นไปอีกว่า การทดแทนคุณลักษณะเป็นกระบวนการที่เป็นฐานของความเอนเอียงเหล่านั้นและปรากฏการณ์อื่น ๆ
ในปี ค.ศ. 1975 นักจิตวิทยาท่านหนึ่งเสนอว่า กำลังของสิ่งเร้า (เช่น ความสว่างของแสง หรือความรุนแรงของอาชญากรรม) เป็นสิ่งที่เซลล์ประสาทเข้ารหัส โดยไม่ขึ้นอยู่กับภาวะที่รับรู้จากสิ่งเร้า (Stimulus modality) คือไม่ได้ขึ้นอยู่กับว่าเป็นแสงที่สว่าง หรือเป็นเสียงที่ดังเป็นต้น คาฮ์นะมันและเพื่อนร่วมงานต่อยอดความคิดนี้ โดยเสนอว่า คุณลักษณะเป้าหมาย (target attribute) และคุณลักษณะฮิวริสติก (heuristic attribute) อาจเป็นสิ่งที่แตกต่างกันโดยธรรมชาติ
ปัจจัยต่าง ๆ
แดเนียล คาฮ์นะมัน, American Economic Review 93 (5) December 2003, p. 1450
ดร. คาฮ์นะมันและเพื่อนรวมงานเสนอองค์ประกอบ 3 อย่างสำหรับการทดแทนคุณลักษณะ คือ
- คุณลักษณะเป้าหมาย (target attribute) เป็นสิ่งที่ค่อนข้างเข้าถึงยาก (หรือคำนวณได้ยาก)
แต่การทดแทนจะไม่เกิดขึ้นในการตอบปัญหาเกี่ยวกับความจริงที่สามารถดึงออกมาจากความจำได้โดยตรง (เช่น "วันเกิดของคุณคืออะไร") หรือเกี่ยวกับประสบการณ์ในปัจจุบัน (เช่น "คุณรู้สึกหิวน้ำตอนนี้หรือเปล่า") - คุณลักษณะที่เกี่ยวข้องกันเข้าถึงได้ง่าย
นี่อาจจะเป็นเพราะลักษณะนี้มีการประมวลโดยอัตโนมัติในกระบวนการรับรู้ปกติ หรือว่ามีการกระตุ้นผ่านกระบวนการ priming ยกตัวอย่างเช่น ถ้าเรากำลังคิดถึงชีวิตแห่งความรักของเรา แล้วเกิดคำถามว่า เรามีความสุขแค่ไหน เราอาจจะทดแทนด้วยคำตอบว่า เรามีความสุขแค่ไหนในชีวิตแห่งความรักของเรา โดยที่ไม่ได้คิดถึงส่วนอื่น ๆ ของชีวิต - การทดแทนไม่มีการตรวจจับหรือแก้โดยระบบความคิด
ยกตัวอย่างเช่น เมื่อถามว่า "ไม้ตีลูกบอลและลูกบอลทั้งสองมีราคา $1.10 ไม้ตีมีราคา $1 มากกว่าลูกบอล ลูกบอลมีราคาเท่าไร" คนเป็นจำนวนมากจะตอบอย่างผิด ๆ ว่า $0.10 การอธิบายโดยทฤษฎีการทดแทนคุณลักษณะก็คือ แทนที่การคำนวณ เราอาจจะแบ่ง $1.10 ออกเป็นจำนวนมาก ($1) และจำนวนน้อย ($0.10) ซึ่งง่ายที่จะกระทำ ความรู้สึกว่าคำตอบนี่ถูกหรือไม่จะขึ้นอยู่กับว่า เราเช็คการคำนวณนี้ผ่านระบบความคิดด้วยหรือไม่
ตัวอย่าง
ภาพลวงตา
ทฤษฎีการทดแทนคุณลักษณะสามารถอธิบายความยืนกรานของภาพลวงตาบางอย่าง ยกตัวอย่างเช่น เมื่อให้ผู้ร่วมการทดลองตัดสินขนาดของบุคคลสองคนในรูปทัศนมิติ ขนาดของบุคคลอาจจะเกิดความบิดเบือนเพราะลักษณะอื่น ๆ ที่แสดงความเป็น 3-มิติ ทำให้เกิดภาพลวงตา สามารถใช้ทฤษฎีการทดแทนคุณลักษณะอธิบายได้ว่า มีการแทนที่ขนาด 2-มิติ จริง ๆ ของรูป ด้วยขนาด 3-มิติ เพราะขนาด 3-มิติ เข้าถึงได้ง่ายเพราะเป็นสิ่งที่เกิดการคำนวณโดยอัตโนมัติในระบบสายตา แต่ว่า จิตรกรและช่างถ่ายภาพผู้ชำนาญการจะมีโอกาสเสี่ยงต่อภาพลวงตาเช่นนี้น้อยกว่า เพราะว่า ขนาด 2-มิติของรูปสามารถเข้าถึงได้ง่ายในระบบการรับรู้
การประเมินมูลค่าของประกันชีวิต
ดร. คาฮ์นะมันให้อีกตัวอย่างหนึ่งที่มีการเสนอประกันชีวิตเนื่องกับการก่อการร้าย ให้กับคนอเมริกันกลุ่มหนึ่งระหว่างที่เดินทางไปในยุโรป ในขณะที่อีกกลุ่มหนึ่งมีการเสนอประกันชีวิตเนื่องกับความตายทุกประเภท แม้ว่า "ความตายทุกชนิด" จะรวม "ความตายเนื่องกับการก่อการร้าย" คนกลุ่มแรกยินดีที่จะจ่ายเบี้ยประกันมากกว่าคนกลุ่มหลัง ดร. คาฮ์นะมันเสนอว่า มีการใช้ลักษณะคือความกลัว (เป็น heuristic attribute) แทนที่การคำนวณความเสี่ยงอย่างรวม ๆ ในการเดินทาง (ซึ่งเป็น target attribute) เพราะว่า ความกลัวต่อการก่อการร้ายในผู้ร่วมการทดลองเหล่านี้ มีกำลังกว่าความกลัวต่อความตายในการเดินทางไปต่างประเทศโดยทั่ว ๆ ไป
การเหมารวม
การเหมารวมเป็นแหล่งของคุณลักษณะฮิวริสติกอีกแหล่งหนึ่ง ในการคุยกันตัวต่อตัวกับคนแปลกหน้า การตัดสินความเฉลียวฉลาดของคนแปลกหน้า เป็นการคำนวณที่ซับซ้อนกว่าการตัดสินตามสีผิว ดังนั้น ถ้าเรามีการเหมารวมเกี่ยวกับความเฉลียวฉลาดของคนขาว คนดำ หรือคนเอเชีย เราก็อาจจะใช้คุณลักษณะทางผิวพันธ์แทนคุณลักษณะทางปัญญาที่ไม่ค่อยชัดเจน ธรรมชาติของการทดแทนคุณลักษณะที่เกิดขึ้นก่อนความสำนึก ที่เป็นธรรมชาติแบบรู้เอง (intuitive) ก็จะอธิบายได้ว่า ทำไมเราจึงได้รับอิทธิพลจากการเหมารวม ทั้ง ๆ ที่เราเองอาจจะคิดว่า เราได้ทำการประเมินที่ตรงกับความจริง ที่ไม่ประกอบด้วยความเอนเอียง เกี่ยวกับความเฉลียวฉลาดของคนแปลกหน้านั้น
ในการประเมินศีลธรรมและความยุติธรรม
มีนักวิชาการทางกฎหมายที่เสนอว่า การทดแทนคุณลักษณะเป็นไปอย่างกว้างขวางเมื่อเราต้องคิดหาเหตุผลในเรื่องศีลธรรม การเมือง และกฎหมาย คือ เมื่อมีปัญหาใหม่ ๆ ที่ยากในเรื่องเหล่านั้น เรามักจะหาปัญหาที่คุ้นเคยกว่าแต่มีความเกี่ยวข้องกัน (ที่เรียกว่า กรณีต้นแบบ หรือ prototypical case) แล้วใช้วิธีแก้ปัญหาต้นแบบ เป็นวิธีแก้ปัญหาที่มีใหม่ซึ่งยากกว่า นักวิชาการกล่าวว่า ความคิดเห็นของเจ้าหน้าที่หรือผู้เป็นใหญ่ทางการเมืองหรือทางศาสนาที่เราเชื่อใจ สามารถใช้เป็นลักษณะฮิวริสติก เมื่อเรามีคำถามเกี่ยวกับเรื่องใดเรื่องหนึ่ง
แหล่งกำเนิดอีกอย่างหนึ่งของลักษณะฮิวริสติกก็คืออารมณ์ คือ ความคิดเห็นทางศีลธรรมในประเด็นที่มีความอ่อนไหวเช่น เพศสัมพันธ์ การโคลนมนุษย์ อาจจะเกิดการขับเคลื่อนโดยปฏิกิริยาทางอารมณ์เช่นความสะอิดสะเอียน (disgust) ไม่ใช่โดยหลักความคิดที่เป็นเหตุผล แต่ว่าทฤษฎีของนักวิชาการนี้มีผู้แย้งว่า ไม่ได้ให้หลักฐานที่พอเพียงว่า เป็นเรื่องเกี่ยวกับกระบวนการทดแทนคุณลักษณะ และไม่ใช่เป็นกระบวนการอื่น ที่มีผลต่อกรณีเหล่านี้
ปรากฏการณ์คนสวยคนหล่อเป็นเหมือนคนคุ้นเคย
นักจิตวิทยาอีกท่านหนึ่งทำรายงานชุดการทดลอง ที่ให้ผู้ร่วมการทดลองดูรูปใบหน้า แล้วตัดสินว่าเคยเห็นใบหน้าเหล่านั้นมาก่อนไหม มีการพบอย่างซ้ำ ๆ กันว่า ใบหน้าที่ดึงดูดใจ มักจะรับการระบุอย่างผิด ๆ ว่า เคยเห็นมาแล้ว ผู้ทำงานวิจัยตีความโดยใช้ทฤษฎีการทดแทนคุณลักษณะ คือ คุณลักษณะฮิวริสติกในกรณีนี้ก็คือ "ความรู้สึกที่แจ่มใสอบอุ่น" ซึ่งเป็นความรู้สึกต่อคนที่อาจจะเป็นคนคุ้นเคย หรือเป็นคนที่ดึงดูดใจ แต่ว่า การตีความเช่นนี้ยังมีผู้ไม่เห็นด้วย เพราะว่า ค่าความแปรปรวน (variance) ของความคุ้นเคยทั้งหมด ไม่สามารถอธิบายได้โดยความดึงดูดใจของรูป
หลักฐาน
ดร. คาฮ์นะมันกล่าวว่า หลักฐานสนับสนุนทฤษฎีการทดแทนคุณลักษณะที่ตรงประเด็นที่สุดก็คือการทดลองในปี ค.ศ. 1973 ที่แสดงลักษณะต่าง ๆ ทางจิตวิทยาของทอม ผู้เป็นนักศึกษาระดับบัณฑิตศึกษาสมมุติ มีการให้ผู้ร่วมการทดลองกลุ่มหนึ่งให้คะแนน "ความคล้ายคลึง" ของทอมกับนักศึกษาทั่ว ๆ ไปในสาขา 9 สาขา (รวมทั้งนิติศาสตร์ วิศวกรรมศาสตร์ และบรรณารักษศาสตร์) มีการให้อีกลุ่มหนึ่งให้คะแนนว่า "มีความเป็นไปได้เท่าไร" ที่ทอมจะเข้ารับการศึกษาในแต่ละสาขา ถ้าการให้ค่าความเป็นไปได้เป็นไปตามกฎความน่าจะเป็น คะแนนที่ให้ก็ควรจะคล้ายกับอัตราพื้นฐาน (base rates) ซึ่งก็คืออัตราส่วนของนักเรียนในแต่ละสาขา 9 สาขา (ซึ่งมีการให้ผู้ร่วมการทดลองกลุ่มที่ 3 ประเมิน) และการประเมินที่เป็นไปตามความน่าจะเป็นจะต้องกล่าวว่า ทอมมีโอกาสที่จะเข้ารับการศึกษาในสาขามนุษยศาสตร์มากกว่าบรรณารักษศาสตร์ เพราะว่า มีนักศึกษาในสาขามนุษยศาสตร์มากกว่า และข้อมูลเกี่ยวกับลักษณะของทอมที่ให้เป็นเรื่องคลุมเครือและไม่น่าเชื่อถือ แต่ผลปรากฏว่า คะแนนที่ให้เกี่ยวกับความน่าจะเป็น (ประเมินโดยกลุ่มหนึ่ง) เหมือนกับคะแนนที่ให้เกี่ยวกับความคล้ายคลึง (ประเมินโดยอีกกลุ่มหนึ่ง) แทบเป็นหนึ่งต่อหนึ่ง ซึ่งเหมือนกับในอีกการทดลองหนึ่งที่ให้ผู้ร่วมการทดลองประเมินความน่าจะเป็นของหญิงสมมุติว่า จะเข้าทำอาชีพแบบไหน ผลเช่นนี้บอกเป็นนัยว่า แทนที่เราจะประเมินความน่าจะเป็นอาศัยอัตราพื้นฐาน เราจะใช้คุณลักษณะเกี่ยวกับความคล้ายคลึงกันที่เข้าถึงได้ง่ายกว่าแทนที่
แหล่งข้อมูลอื่น
- Kahneman, Daniel; Shane Frederick (2004). "Attribute Substitution in Intuitive Judgment". ใน Mie Augier, James G. March (บ.ก.). Models of a man: essays in memory of Herbert A. Simon. MIT Press. pp. 411–432. ISBN . OCLC 52257877.
- Kahneman, Daniel; Shane Frederick (2005). "A Model of Heuristic Judgment". ใน Keith James Holyoak, Robert G. Morrison (บ.ก.). The Cambridge Handbook of Thinking and Reasoning. Cambridge University Press. pp. 267–294. ISBN . OCLC 56011371.
- Kahneman, Daniel (2002-12-08). "Maps of Bounded Rationality: A Perspective on Intuitive Judgement and Choice (Nobel Prize Lecture)". NobelPrize.org. The Nobel Foundation. สืบค้นเมื่อ 2009-06-13.
- Kahneman, Daniel (2007-07-22). "Short Course in Thinking about Thinking". Edge.org. Edge Foundation. สืบค้นเมื่อ 2009-06-13.
- Sinnott-Armstrong, Walter (in press). "Moral Intuitions as Heuristics". ใน J. Doris, G. Harman, S. Nichols, J. Prinz, W. Sinnott-Armstrong, S. Stich (บ.ก.). . Oxford University Press. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2016-03-03. สืบค้นเมื่อ 2015-04-07.
{{}}
: ตรวจสอบค่าวันที่ใน:|date=
((help)); ไม่รู้จักพารามิเตอร์|coauthors=
ถูกละเว้น แนะนำ (|author=
) ((help))CS1 maint: multiple names: editors list () - Dai, Xianchi; Wertenbroch, Klaus (2008). "Advances in Judgmental and Inferential Heuristics" (PDF). Advances in Consumer Research. 35: 233–236.[]
เชิงอรรถ
- * x + y = $1.10
- x = y + $1
- ดังนั้น y + $1 + y = $1.10
- และดังนั้น y = $0.05
- x = y + $1
อ้างอิง
- "ศัพท์บัญญัติอังกฤษ-ไทย, ไทย-อังกฤษ ฉบับราชบัณฑิตสถาน (คอมพิวเตอร์) รุ่น ๑.๑", ให้ความหมายของ attribute ว่า "คุณลักษณะ" และของ substitution ว่า "การทดแทน (กลไกทางจิต)"
- Newell, Benjamin R. (2007). Straight choices: the psychology of decision making. Routledge. pp. 71–74. ISBN .
{{}}
: ไม่รู้จักพารามิเตอร์|coauthors=
ถูกละเว้น แนะนำ (|author=
) ((help)) - Kahneman, Daniel; Frederick, Shane (2002). "Representativeness Revisited: Attribute Substitution in Intuitive Judgment". ใน Gilovich, Thomas; Griffin, Dale; Kahneman, Daniel (บ.ก.). Heuristics and Biases: The Psychology of Intuitive Judgment. Cambridge: Cambridge University Press. pp. 49–81. ISBN . OCLC 47364085.
{{}}
: CS1 maint: multiple names: editors list () - Shah, Anuj K.; Daniel M. Oppenheimer (2008-03). "Heuristics Made Easy: An Effort-Reduction Framework". Psychological Bulletin. American Psychological Association. 134 (2): 207–222. doi:10.1037/0033-2909.134.2.207. ISSN 1939-1455. PMID 18298269.
{{}}
: ตรวจสอบค่าวันที่ใน:|date=
((help)) - Kahneman, Daniel (2003-12). "Maps of Bounded Rationality: Psychology for Behavioral Economics". American Economic Review. American Economic Association. 93 (5): 1449–1475. doi:10.1257/000282803322655392. ISSN 0002-8282.
{{}}
: ตรวจสอบค่าวันที่ใน:|date=
((help)) - Kahneman, Daniel (2007). "Short Course in Thinking About Thinking". Edge.org. Edge Foundation. จากแหล่งเดิมเมื่อ 2009-04-20. สืบค้นเมื่อ 2009-06-03.
- Sunstein, Cass R. (2005). "Moral heuristics". Behavioral and Brain Sciences. Cambridge University Press. 28 (4): 531–542. doi:10.1017/S0140525X05000099. ISSN 0140-525X. PMID 16209802.
- Sunstein, Cass R. (2009). (PDF). Vermont Law Review. Vermont Law School. 33 (3): 405–434. 1401432. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิม (PDF)เมื่อ 2014-11-29. สืบค้นเมื่อ 2009-09-15.
- Monin, Benoît (2005), (PDF), Social Cognition, 23 (3): 257–278, doi:10.1521/soco.2005.23.3.257, ISSN 0278-016X, คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิม (PDF)เมื่อ 2016-05-27, สืบค้นเมื่อ 2015-04-07
{{}}
: ไม่รู้จักพารามิเตอร์|coauthors=
ถูกละเว้น แนะนำ (|author=
) ((help)) - Kahneman, Daniel; Amos Tversky (1973-07). "On the Psychology of Prediction". Psychological Review. American Psychological Association. 80 (4): 237–51. doi:10.1037/h0034747. ISSN 0033-295X.
{{}}
: ตรวจสอบค่าวันที่ใน:|date=
((help))
wikipedia, แบบไทย, วิกิพีเดีย, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด, บทความ, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม, มือถือ, โทรศัพท์, Android, iOS, Apple, โทรศัพท์โมบิล, Samsung, iPhone, Xiomi, Xiaomi, Redmi, Honor, Oppo, Nokia, Sonya, MI, PC, พีซี, web, เว็บ, คอมพิวเตอร์
karthdaethnkhunlksna xngkvs Attribute substitution epnkrabwnkarthangcitwithyathiechuxwa epnehtukhxngkhwamexnexiyngthangprachan cognitive bias aelakaraeplsingerathangprasathsmphsphid perceptual illusion hlayxyang sungcaekidkhunemuxeratxngthakarpraeminkhunlksnaepahmay target attribute thitxngichkarkhanwnthisbsxn aetklbichkhunlksnaxikxyanghnungaethnthi sungeriykwa khunlksnahiwristik heuristic attribute thisamarthkhanwnidngaykwa echn karpraeminkhwamnacaepnwaxyuinklum odyichkhwamkhlaykhlungkhxngbukhkhlkbklum aethnthicaichxtraphunthankhxngkhwamnacaepn karaethnthiechnniechuxwaekidkhuninrabbkarpraeminaebbruexng intuitive thiepnipodyxtonmti imichrabbthitxngxasykhwamkhidphicarnathixyuehnuxsanuk dngnn emuxerathakhwamphyayamthicatxbpyhathiyak eraxaccaklbiptxbpyhathitangknaetekiywkhxngkn odythiimruwamikaraethnthiekidkhunaelw sungxthibaywa thaimeracungimruthungkhwamexnexiyngtang khxngtn aelathaimkhwamexnexiyngyngdarngxyuidaememuxmikarbxkihruaelw aelaxthibayxikdwywa thaimkartdsinickhxngmnusybxykhrngcungimmilksnakhxngkarthxyklbipsukhaechliy regression toward the mean thvsdinirwmthvsditanghlayxyangthixthibaykhwamphidphladinkarkhidhaehtuphlodyxthibaywa mnusyaekpyhabangxyangodyichhiwristiksungepnthangldinkarkhidhaehtuphl thiinbangsthankarnihkhatxbthiphidphlad txma thvsdithiesnxinpi kh s 2008 odyichchuxwa effort reduction framework okhrngsrangkarldkhwamphyayam krwmthvsdiniepnswnhnung odyepnthvsdithiesnxwa mnusyichethkhnikhtang ephuxldkhwamphyayamthitxngthathangicinkarthakartdsinicphunephprawtiaedeniyl khahnamn phuidrbrangwlephuxralukthungxlefrd onebl sakhaesrsthsastr kh s 2002 inphlnganwicypi kh s 1974 nkcitwithyachawxemriknaedeniyl khahnamn aelaxamxs thewxrski idesnxwa klumkhwamexnexiynghlayskul khux khwamphidphladxyangepnrabbinkarpraeminaelakartdsinic samarthxthibayidodyichkhaxthibayekiywkbhiwristik thangldthangkhwamkhid rwmthnghiwristikodykhwamekhathungidngay availability heuristic aelahiwristikodykhwamepntwaethn representativeness heuristic inpi kh s 2002 dr khahnamnaelaphurwmnganidprbprungkhaxthibayniyingkhunipxikwa karthdaethnkhunlksnaepnkrabwnkarthiepnthankhxngkhwamexnexiyngehlannaelapraktkarnxun inpi kh s 1975 nkcitwithyathanhnungesnxwa kalngkhxngsingera echn khwamswangkhxngaesng hruxkhwamrunaerngkhxngxachyakrrm epnsingthiesllprasathekharhs odyimkhunxyukbphawathirbrucaksingera Stimulus modality khuximidkhunxyukbwaepnaesngthiswang hruxepnesiyngthidngepntn khahnamnaelaephuxnrwmngantxyxdkhwamkhidni odyesnxwa khunlksnaepahmay target attribute aelakhunlksnahiwristik heuristic attribute xacepnsingthiaetktangknodythrrmchatipccytang mnusyimkhunekhytxkarkhidmak aelabxykhrngphungicthicaechuxthuxkartdsinicthiphxepnipidtamthikhidid aedeniyl khahnamn American Economic Review 93 5 December 2003 p 1450 dr khahnamnaelaephuxnrwmnganesnxxngkhprakxb 3 xyangsahrbkarthdaethnkhunlksna khux khunlksnaepahmay target attribute epnsingthikhxnkhangekhathungyak hruxkhanwnidyak aetkarthdaethncaimekidkhuninkartxbpyhaekiywkbkhwamcringthisamarthdungxxkmacakkhwamcaidodytrng echn wnekidkhxngkhunkhuxxair hruxekiywkbprasbkarninpccubn echn khunrusukhiwnatxnnihruxepla khunlksnathiekiywkhxngknekhathungidngay nixaccaepnephraalksnanimikarpramwlodyxtonmtiinkrabwnkarrbrupkti hruxwamikarkratunphankrabwnkar priming yktwxyangechn thaerakalngkhidthungchiwitaehngkhwamrkkhxngera aelwekidkhathamwa eramikhwamsukhaekhihn eraxaccathdaethndwykhatxbwa eramikhwamsukhaekhihninchiwitaehngkhwamrkkhxngera odythiimidkhidthungswnxun khxngchiwit karthdaethnimmikartrwccbhruxaekodyrabbkhwamkhid yktwxyangechn emuxthamwa imtilukbxlaelalukbxlthngsxngmirakha 1 10 imtimirakha 1 makkwalukbxl lukbxlmirakhaethair khnepncanwnmakcatxbxyangphid wa 0 10 karxthibayodythvsdikarthdaethnkhunlksnakkhux aethnthikarkhanwn eraxaccaaebng 1 10 xxkepncanwnmak 1 aelacanwnnxy 0 10 sungngaythicakratha khwamrusukwakhatxbnithukhruximcakhunxyukbwa eraechkhkarkhanwnniphanrabbkhwamkhiddwyhruximtwxyangtwxyangkarthdaethnkhunlksnathangta phaphlwngtani rupkhusathng 3 chudmikhnadethaknin 2 miti ekididephraakhnad 2 miti khxngbangswnkhxngphaphmikartdsintamkhnad 3 miti sungepnkarkhanwnthithaxyangrwderwodyrabbsayta khuxrupcring aelwepnphaph 2 miti aetrabbsaytakhxngeratikhwamodyxtonmtiehmuxnehnphaph 3 miti cungthaihrupkhusathng 3 chuddumikhnadtangknmakphaphlwngta thvsdikarthdaethnkhunlksnasamarthxthibaykhwamyunkrankhxngphaphlwngtabangxyang yktwxyangechn emuxihphurwmkarthdlxngtdsinkhnadkhxngbukhkhlsxngkhninrupthsnmiti khnadkhxngbukhkhlxaccaekidkhwambidebuxnephraalksnaxun thiaesdngkhwamepn 3 miti thaihekidphaphlwngta samarthichthvsdikarthdaethnkhunlksnaxthibayidwa mikaraethnthikhnad 2 miti cring khxngrup dwykhnad 3 miti ephraakhnad 3 miti ekhathungidngayephraaepnsingthiekidkarkhanwnodyxtonmtiinrabbsayta aetwa citrkraelachangthayphaphphuchanaykarcamioxkasesiyngtxphaphlwngtaechnninxykwa ephraawa khnad 2 mitikhxngrupsamarthekhathungidngayinrabbkarrbru karpraeminmulkhakhxngpraknchiwit dr khahnamnihxiktwxyanghnungthimikaresnxpraknchiwitenuxngkbkarkxkarray ihkbkhnxemriknklumhnungrahwangthiedinthangipinyuorp inkhnathixikklumhnungmikaresnxpraknchiwitenuxngkbkhwamtaythukpraephth aemwa khwamtaythukchnid carwm khwamtayenuxngkbkarkxkarray khnklumaerkyindithicacayebiypraknmakkwakhnklumhlng dr khahnamnesnxwa mikarichlksnakhuxkhwamklw epn heuristic attribute aethnthikarkhanwnkhwamesiyngxyangrwm inkaredinthang sungepn target attribute ephraawa khwamklwtxkarkxkarrayinphurwmkarthdlxngehlani mikalngkwakhwamklwtxkhwamtayinkaredinthangiptangpraethsodythw ip karehmarwm karehmarwmepnaehlngkhxngkhunlksnahiwristikxikaehlnghnung inkarkhuykntwtxtwkbkhnaeplkhna kartdsinkhwamechliywchladkhxngkhnaeplkhna epnkarkhanwnthisbsxnkwakartdsintamsiphiw dngnn thaeramikarehmarwmekiywkbkhwamechliywchladkhxngkhnkhaw khnda hruxkhnexechiy erakxaccaichkhunlksnathangphiwphnthaethnkhunlksnathangpyyathiimkhxychdecn thrrmchatikhxngkarthdaethnkhunlksnathiekidkhunkxnkhwamsanuk thiepnthrrmchatiaebbruexng intuitive kcaxthibayidwa thaimeracungidrbxiththiphlcakkarehmarwm thng thieraexngxaccakhidwa eraidthakarpraeminthitrngkbkhwamcring thiimprakxbdwykhwamexnexiyng ekiywkbkhwamechliywchladkhxngkhnaeplkhnann inkarpraeminsilthrrmaelakhwamyutithrrm minkwichakarthangkdhmaythiesnxwa karthdaethnkhunlksnaepnipxyangkwangkhwangemuxeratxngkhidhaehtuphlineruxngsilthrrm karemuxng aelakdhmay khux emuxmipyhaihm thiyakineruxngehlann eramkcahapyhathikhunekhykwaaetmikhwamekiywkhxngkn thieriykwa krnitnaebb hrux prototypical case aelwichwithiaekpyhatnaebb epnwithiaekpyhathimiihmsungyakkwa nkwichakarklawwa khwamkhidehnkhxngecahnathihruxphuepnihythangkaremuxnghruxthangsasnathieraechuxic samarthichepnlksnahiwristik emuxeramikhathamekiywkberuxngideruxnghnung aehlngkaenidxikxyanghnungkhxnglksnahiwristikkkhuxxarmn khux khwamkhidehnthangsilthrrminpraednthimikhwamxxnihwechn ephssmphnth karokhlnmnusy xaccaekidkarkhbekhluxnodyptikiriyathangxarmnechnkhwamsaxidsaexiyn disgust imichodyhlkkhwamkhidthiepnehtuphl aetwathvsdikhxngnkwichakarnimiphuaeyngwa imidihhlkthanthiphxephiyngwa epneruxngekiywkbkrabwnkarthdaethnkhunlksna aelaimichepnkrabwnkarxun thimiphltxkrniehlani praktkarnkhnswykhnhlxepnehmuxnkhnkhunekhy nkcitwithyaxikthanhnungtharaynganchudkarthdlxng thiihphurwmkarthdlxngdurupibhna aelwtdsinwaekhyehnibhnaehlannmakxnihm mikarphbxyangsa knwa ibhnathidungdudic mkcarbkarrabuxyangphid wa ekhyehnmaaelw phuthanganwicytikhwamodyichthvsdikarthdaethnkhunlksna khux khunlksnahiwristikinkrninikkhux khwamrusukthiaecmisxbxun sungepnkhwamrusuktxkhnthixaccaepnkhnkhunekhy hruxepnkhnthidungdudic aetwa kartikhwamechnniyngmiphuimehndwy ephraawa khakhwamaeprprwn variance khxngkhwamkhunekhythnghmd imsamarthxthibayidodykhwamdungdudickhxngruphlkthandr khahnamnklawwa hlkthansnbsnunthvsdikarthdaethnkhunlksnathitrngpraednthisudkkhuxkarthdlxnginpi kh s 1973 thiaesdnglksnatang thangcitwithyakhxngthxm phuepnnksuksaradbbnthitsuksasmmuti mikarihphurwmkarthdlxngklumhnungihkhaaenn khwamkhlaykhlung khxngthxmkbnksuksathw ipinsakha 9 sakha rwmthngnitisastr wiswkrrmsastr aelabrrnarkssastr mikarihxiklumhnungihkhaaennwa mikhwamepnipidethair thithxmcaekharbkarsuksainaetlasakha thakarihkhakhwamepnipidepniptamkdkhwamnacaepn khaaennthiihkkhwrcakhlaykbxtraphunthan base rates sungkkhuxxtraswnkhxngnkeriyninaetlasakha 9 sakha sungmikarihphurwmkarthdlxngklumthi 3 praemin aelakarpraeminthiepniptamkhwamnacaepncatxngklawwa thxmmioxkasthicaekharbkarsuksainsakhamnusysastrmakkwabrrnarkssastr ephraawa minksuksainsakhamnusysastrmakkwa aelakhxmulekiywkblksnakhxngthxmthiihepneruxngkhlumekhruxaelaimnaechuxthux aetphlpraktwa khaaennthiihekiywkbkhwamnacaepn praeminodyklumhnung ehmuxnkbkhaaennthiihekiywkbkhwamkhlaykhlung praeminodyxikklumhnung aethbepnhnungtxhnung sungehmuxnkbinxikkarthdlxnghnungthiihphurwmkarthdlxngpraeminkhwamnacaepnkhxnghyingsmmutiwa caekhathaxachiphaebbihn phlechnnibxkepnnywa aethnthieracapraeminkhwamnacaepnxasyxtraphunthan eracaichkhunlksnaekiywkbkhwamkhlaykhlungknthiekhathungidngaykwaaethnthiaehlngkhxmulxunKahneman Daniel Shane Frederick 2004 Attribute Substitution in Intuitive Judgment in Mie Augier James G March b k Models of a man essays in memory of Herbert A Simon MIT Press pp 411 432 ISBN 978 0 262 01208 9 OCLC 52257877 Kahneman Daniel Shane Frederick 2005 A Model of Heuristic Judgment in Keith James Holyoak Robert G Morrison b k The Cambridge Handbook of Thinking and Reasoning Cambridge University Press pp 267 294 ISBN 978 0 521 82417 0 OCLC 56011371 Kahneman Daniel 2002 12 08 Maps of Bounded Rationality A Perspective on Intuitive Judgement and Choice Nobel Prize Lecture NobelPrize org The Nobel Foundation subkhnemux 2009 06 13 Kahneman Daniel 2007 07 22 Short Course in Thinking about Thinking Edge org Edge Foundation subkhnemux 2009 06 13 Sinnott Armstrong Walter in press Moral Intuitions as Heuristics in J Doris G Harman S Nichols J Prinz W Sinnott Armstrong S Stich b k Oxford University Press khlngkhxmulekaekbcakaehlngedimemux 2016 03 03 subkhnemux 2015 04 07 a href wiki E0 B9 81 E0 B8 A1 E0 B9 88 E0 B9 81 E0 B8 9A E0 B8 9A Cite book title aemaebb Cite book cite book a trwcsxbkhawnthiin date help imruckpharamietxr coauthors thuklaewn aenana author help CS1 maint multiple names editors list Dai Xianchi Wertenbroch Klaus 2008 Advances in Judgmental and Inferential Heuristics PDF Advances in Consumer Research 35 233 236 lingkesiy echingxrrth x y 1 10 x y 1 dngnn y 1 y 1 10 aeladngnn y 0 05xangxing sphthbyytixngkvs ithy ithy xngkvs chbbrachbnthitsthan khxmphiwetxr run 1 1 ihkhwamhmaykhxng attribute wa khunlksna aelakhxng substitution wa karthdaethn klikthangcit Newell Benjamin R 2007 Straight choices the psychology of decision making Routledge pp 71 74 ISBN 978 1 84169 588 4 a href wiki E0 B9 81 E0 B8 A1 E0 B9 88 E0 B9 81 E0 B8 9A E0 B8 9A Cite book title aemaebb Cite book cite book a imruckpharamietxr coauthors thuklaewn aenana author help Kahneman Daniel Frederick Shane 2002 Representativeness Revisited Attribute Substitution in Intuitive Judgment in Gilovich Thomas Griffin Dale Kahneman Daniel b k Heuristics and Biases The Psychology of Intuitive Judgment Cambridge Cambridge University Press pp 49 81 ISBN 978 0 521 79679 8 OCLC 47364085 a href wiki E0 B9 81 E0 B8 A1 E0 B9 88 E0 B9 81 E0 B8 9A E0 B8 9A Cite book title aemaebb Cite book cite book a CS1 maint multiple names editors list Shah Anuj K Daniel M Oppenheimer 2008 03 Heuristics Made Easy An Effort Reduction Framework Psychological Bulletin American Psychological Association 134 2 207 222 doi 10 1037 0033 2909 134 2 207 ISSN 1939 1455 PMID 18298269 a href wiki E0 B9 81 E0 B8 A1 E0 B9 88 E0 B9 81 E0 B8 9A E0 B8 9A Cite journal title aemaebb Cite journal cite journal a trwcsxbkhawnthiin date help Kahneman Daniel 2003 12 Maps of Bounded Rationality Psychology for Behavioral Economics American Economic Review American Economic Association 93 5 1449 1475 doi 10 1257 000282803322655392 ISSN 0002 8282 a href wiki E0 B9 81 E0 B8 A1 E0 B9 88 E0 B9 81 E0 B8 9A E0 B8 9A Cite journal title aemaebb Cite journal cite journal a trwcsxbkhawnthiin date help Kahneman Daniel 2007 Short Course in Thinking About Thinking Edge org Edge Foundation cakaehlngedimemux 2009 04 20 subkhnemux 2009 06 03 Sunstein Cass R 2005 Moral heuristics Behavioral and Brain Sciences Cambridge University Press 28 4 531 542 doi 10 1017 S0140525X05000099 ISSN 0140 525X PMID 16209802 Sunstein Cass R 2009 PDF Vermont Law Review Vermont Law School 33 3 405 434 1401432 khlngkhxmulekaekbcakaehlngedim PDF emux 2014 11 29 subkhnemux 2009 09 15 Monin Benoit 2005 PDF Social Cognition 23 3 257 278 doi 10 1521 soco 2005 23 3 257 ISSN 0278 016X khlngkhxmulekaekbcakaehlngedim PDF emux 2016 05 27 subkhnemux 2015 04 07 a href wiki E0 B9 81 E0 B8 A1 E0 B9 88 E0 B9 81 E0 B8 9A E0 B8 9A Citation title aemaebb Citation citation a imruckpharamietxr coauthors thuklaewn aenana author help Kahneman Daniel Amos Tversky 1973 07 On the Psychology of Prediction Psychological Review American Psychological Association 80 4 237 51 doi 10 1037 h0034747 ISSN 0033 295X a href wiki E0 B9 81 E0 B8 A1 E0 B9 88 E0 B9 81 E0 B8 9A E0 B8 9A Cite journal title aemaebb Cite journal cite journal a trwcsxbkhawnthiin date help