"แผนที่ภูมิลักษณ์" (อังกฤษ: topographic map) หรือ "แผนที่ topographic" ของระบบประสาท เป็นการส่งข้อมูลอย่างเป็นระเบียบของพื้นผิวในร่างกายที่เกิดความรู้สึก เช่นที่เรตินาหรือผิวหนัง หรือในระบบปฏิบัติงานเช่นระบบกล้ามเนื้อ ไปยังโครงสร้างต่าง ๆ ของสมองในระบบประสาทกลาง แผนที่ภูมิลักษณ์มีอยู่ในระบบรับความรู้สึกทั้งหมด และในระบบสั่งการ (motor system) ต่าง ๆ เป็นจำนวนมาก
ระบบสายตา
ระบบสายตาหมายถึงส่วนในระบบประสาทกลางที่ยังการเห็นให้เป็นไปได้ในสิ่งมีชีวิต เป็นระบบที่แปลข้อมูลจากแสงในความถี่ที่เห็นได้เพื่อสร้างแบบจำลองของโลก. ganglion cell ของเรตินาส่งข้อมูลอย่างเป็นระเบียบไปยัง lateral geniculate nucleus (LGN) ในทาลามัส และจากนั้น ไปยังคอร์เทกซ์สายตาปฐมภูมิ (V1). จุดที่อยู่ใกล้ ๆ กันบนเรตินา มีนิวรอนที่อยู่ใกล้ ๆ กันเป็นตัวแทน (คือเป็นแผนที่) ทั้งใน LGN ทั้งใน V1 การส่งและการรับข้อมูลเป็นระเบียบอย่างนี้เรียกว่า topography (ภูมิลักษณ์)
มีแผนที่ภูมิลักษณ์หลายประเภทในคอร์เทกซ์สายตา เช่น แผนที่ภูมิลักษณ์ของเรตินา (retinotopic map) แผนที่ occular dominance และ แผนที่ทิศทาง (orientation) แผนที่ของเรตินาเป็นประเภทที่เข้าใจได้ง่ายที่สุดโดยความเป็นแผนที่ภูมิลักษณ์ คือเป็นแผนที่ที่ภาพที่ตกลงบนเรตินามีนิวรอนที่คอร์เทกซ์คือ LGN และ V1 เป็นตัวแทน กล่าวโดยอีกนัยหนึ่ง ถ้ามีจุดจุดหนึ่งในคอร์เทกซ์ที่เป็นตัวแทนของเรตินาเสียหาย บุคคลนั้นก็จะเกิดดวงมืดในสายตา คือจะไม่สามารถเห็นส่วนของภาพที่ตกลงบนเรตินาที่จุดในคอร์เทกซ์ที่เสียหายเป็นตัวแทนรองรับ
แม้แผนที่ทิศทาง ก็เป็นแผนที่ภูมิลักษณ์ด้วย ในแผนที่อย่างนี้ มีเซลล์ประสาทที่เลือกตอบสนองต่อรูปที่มีทิศทางโดยเฉพาะ (เช่นเป็นรูปตั้งหรือรูปนอน) และเมื่อรูปมีทิศทางเฉพาะนั้นมาอยู่ในลานรับสัญญาณของเซลล์ ก็จะเกิดการยิงศักยะงานในระดับที่สูงสุด และเมื่อรูปนั้น เคลื่อนไปจากลานรับสัญญาณของเซลล์ ระดับการยิงสัญญาณของเซลล์ก็จะลดลง แผนที่ทิศทางเป็นแผนที่ภูมิลักษณ์เพราะว่าเซลล์ใกล้ ๆ กันเลือกตอบสนองต่อรูปที่มีทิศทางเดียวกัน
การจัดระเบียบโดยภูมิลักษณ์ของเรตินา มีอยู่ในเขตต่าง ๆ ที่ประสาทนำเข้านำข้อมูลจากเรตินา ไปยังโครงสร้างต่าง ๆ ใต้เปลือกสมอง แล้วไปยัง V1 และไปยังเขตสายตาในคอร์เทกซ์อื่น ๆ คอร์เทกซ์สายตาปฐมภูมิ (V1 หรือเขตบร็อดแมนน์ 17) เป็นคอร์เทกซ์เขตแรกที่รับข้อมูลสายตา
ช่วงพัฒนาการ
สมมุติฐาน Chemoaffinity hypothesis ให้การสันนิษฐานว่า มีเครื่องหมายเชิงเคมีกระจายโดยลาดระดับไปทั่วเรตินาและ superior colliculus ซึ่งทำให้ retinal ganglion cell สามารถรู้ว่าควรจะมี dendrite ไปสุดอยู่ที่ไหน งานทดลองในตาประกอบของสัตว์ในสกุล Xenopus ซึ่งเป็นกบโดยมากอยู่ในน้ำในทวีปอัฟริกา แสดงว่า ไม่ใช่เพียงแต่ dendrite ของ RGC เท่านั้นที่มีความเฉพาะเจาะจงเช่นนี้ แม้แต่แอกซอนของ RGC ก็มีความเฉพาะเจาะจงเช่นนี้เช่นเดียวกัน คือ แอกซอนต้องมีการร่วมมือกันเพื่อให้แน่ใจว่า แอกซอนที่สื่อข้อมูลของเรตินาในจุดที่ใกล้ ๆ กัน ไปสุดในเขตเดียวกันใน superior colliculus
ประเภทของแผนที่ภูมิลักษณ์ของเรตินา
แผนที่ตัวแทนที่หนึ่ง (First-order representation) เป็นแผนที่ที่จุดใกล้ ๆ กันที่อยู่ในส่วนครึ่งเดียวกันของเรตินา ก็จะมีคอลัมน์ใกล้ ๆ กันในคอร์เทกซ์ซีกตรงข้ามเป็นตัวแทน ตัวอย่างก็เช่น แผนที่ใน V1
แผนที่ตัวแทนที่สอง (Second-order representation) หรือเรียกว่า field discontinuity map เป็นแผนที่มีระเบียบที่ดูเหมือนว่า มีช่องหรือความไม่ต่อเนื่องกัน (discontinuity) ในลานสายตา (visual field) หรือในเรตินา แผนที่ในเขตสายตา V2 และคอร์เทกซ์นอกคอร์เทกซ์ลาย (extrastriate cortex) อื่น ๆ (คือเขตคอร์เทกซ์ที่มีระดับสูงกว่า V1) จัดเป็นแผนที่ตัวแทนที่สอง
ระบบการได้ยิน
ระบบการได้ยินเป็นระบบรับความรู้สึกสำหรับการได้ยิน เป็นที่ที่สมองแปลข้อมูลจากความถี่คลื่นเสียง เป็นการรับรู้เสียง คลื่นเสียงเดินทางเข้าไปในหูผ่านรูหู ไปถึงแก้วหู เป็นที่ที่มีการถ่ายโอนคลื่นเสียงไปเป็นความสั่นสะเทือน ซึ่งเดินทางไปตามกระดูกของหูชั้นใน จนถึงอวัยวะรูปหอยโข่ง (cochlea) ในหูชั้นใน ซึ่งเป็นที่มีการถ่ายโอนความสั่นสะเทือน (คือข้อมูลเสียง) ไปเป็นข้อมูลไฟฟ้า โดยการยิงสัญญาณของเซลล์ขนใน organ of Corti ซึ่งเป็นส่วนของอวัยวะรูปหอยโข่ง และ organ of Corti ก็ส่งแอกซอนอย่างเป็นระเบียบไปยังโครงสร้างต่าง ๆ ในก้านสมอง คือ cochlear nuclei และ inferior colliculus ต่อจากนั้น วิถีประสาทก็ดำเนินต่อไปยัง medial geniculate nucleus ในทาลามัส และไปยังคอร์เทกซ์การได้ยินปฐมภูมิ (primary auditory cortex) จุดที่อยู่ใกล้ ๆ กันบน organ of Corti ซึ่งรองรับเสียงที่มีความถี่ที่เฉพาะเจาะจง มีตัวแทนเป็นนิวรอนที่อยู่ใกล้ ๆ กันในโครงสร้างต่าง ๆ ที่พึ่งกล่าวถึงในระบบประสาทกลาง ระเบียบการส่งสัญญาณเช่นนี้เรียกว่า tonotopy
ระเบียบแบบ tonotopy นี้เริ่มใน cochlear ซึ่งเป็นที่ที่เยื่อ basilar membrane สั่นสะเทือนในตำแหน่งต่าง ๆ กันในด้านยาวขึ้นอยู่กับความถี่เสียง ถ้า cochlea ที่ขดอยู่คลี่ออก ตำแหน่งของเสียงความถี่สูงจะอยู่ที่ฐาน และตำแหน่งของเสียงความถี่ต่ำจะอยู่ที่ปลาย การจัดระเบียบแบบนี้ก็พบได้ในคอร์เทกซ์การได้ยิน (auditory cortex) ในสมองกลีบขมับด้วย ในเขตสมองที่มีการจัดระเบียบแบบนี้ ความถี่เสียงเพิ่มขึ้นตามลำดับจากต่ำไปถึงสูงตามผิวคอร์เทกซ์ แต่ว่าจะเป็นความถี่เดียวกันสำหรับเซลล์ในแนวตั้งฉาก (ที่เรียกว่าคอลัมน์ในคอร์เทกซ์) กับผิวของคอร์เทกซ์ โดยทั่ว ๆ ไปสัตว์หนึ่ง ๆ มีแผนที่ tonotopic อย่างนี้หลายแผนที่กระจายไปตามผิวคอร์เทกซ์
ระบบรับความรู้สึกทางกาย
ระบบรับความรู้สึกทางกายประกอบด้วยตัวรับความรู้สึกและศูนย์ประมวลข้อมูลมากมายหลายแบบ เพื่อจะก่อให้เกิดความรู้สึกเกี่ยวกับสัมผัส อุณหภูมิ อากัปกิริยา และโนซิเซ็ปชั่น ตัวรับความรู้สึกอยู่ที่ทั่วร่างกายรวมทั้งผิวหนัง เนื้อเยื่อบุผิว อวัยวะภายใน กล้ามเนื้อโครงร่าง กระดูก และข้อต่อ ตัวรับความรู้สึกที่หนัง (cutaneous receptors) ส่งแอกซอนอย่างเป็นระเบียบไปสู่ไขสันหลัง และจากไขสันหลัง โดยผ่านวิถีประสาทนำเข้าคือ และ spinothalamic tract ไปยังทาลามัสและคอร์เทกซ์รับความรู้สึกทางกายปฐมภูมิ (primary somatosensory cortex) และในที่นี้ก็เช่นกัน ที่จุดใกล้ ๆ กันที่ผิวหนังมีนิวรอนที่อยู่ใกล้ ๆ กันในโครงสร้างสมองที่พึ่งกล่าวถึง เป็นตัวแทน ระเบียบการส่งสัญญาณเช่นนี้เรียกว่า somatotopy
- cortical homunculus ของสมองมนุษย์ มองจากด้านข้าง
- cortical homunculus ของสมองมนุษย์ มองจากด้านหน้าหรือหลัง
แผนผังสามัญที่แสดงแผนที่แบบ somatotopic อย่างหนึ่งเรียกว่า cortical homunculus ภาพในผังแสดงขนาดของคอร์เทกซ์ที่อุทิศกับเขตความรู้สึกต่าง ๆ ในร่างกายอย่างค่อนข้างจะแม่นยำ นอกจากนั้นก็ยังแสดงด้วยว่า คอร์เทกซ์ส่วนไหนเป็นตัวแทนของส่วนไหนในร่างกาย
ระบบสั่งการ
โดยที่ไม่เหมือนกับแผนที่ภูมิลักษณ์ของระบบรับความรู้สึก นิวรอนของคอร์เทกซ์สั่งการ (motor cortex) เป็นเซลล์ประสาทในใยประสาทที่นำสัญญาณออกจากสมองแทนที่จะนำข้อมูลเข้าไปยังสมองเหมือนใยประสาทนำเข้า ระบบสั่งการ (motor system) มีหน้าที่ในการสั่งการการเคลื่อนไหวใต้อำนาจจิตใจ เปรียบเทียบกับการเคลื่อนไหวแบบรีเฟล็กซ์ ซึ่งเกิดที่ไขสันหลัง ดังนั้น การเคลื่อนไหวแบบรีเฟล็กซ์ไม่ได้เกิดที่คอร์เทกซ์สั่งการ สัญญาณของคอร์เทกซ์สั่งการเดินทางผ่าน "Betz cell" ผ่าน "upper motor neuron" ผ่าน "corticospinal tract" ลงไปสุดที่ "ปีกหน้าของไขสันหลัง" (anterior horn of spinal cord) ซึ่งเป็นเขต[[เนื้อเทา]ที่ "lower motor neuron" ส่งสัญญาณไปที่ "นิวรอนสั่งการส่วนปลาย" ซึ่งส่งสัญญาณไปสุดที่ "กล้ามเนื้อ" ที่อยู่ใต้อำนาจจิตใจ
การเคลื่อนไหวไม่ต้องใช้แผนที่ภูมิลักษณ์
มีการเคลื่อนไหวหลายอย่างที่ไม่ต้องใช้แผนที่ภูมิลักษณ์ ไม่ต้องใช้แม้แต่สมอง ตัวอย่างหนึ่งที่กล่าวไว้แล้วก็คือการเคลื่อนไหวที่เกิดจากรีเฟล็กซ์ ปฏิกิริยารีเฟล็กซ์เกิดขึ้นที่ไขสันหลังคือที่ อาร์กกิริยาสนองฉับพลัน (reflex arc) ในมนุษย์ วงจรประสาทในอาร์กกิริยาสนองฉับพลันที่มี 1-2-3 ไซแนปส์หรือมากกว่านั้น, นิวรอนใน propriospinal tract, และนิวรอนที่เชื่อมทางประสาทในเนื้อเทา (internuncial gray matter neuron) มีบทบาทร่วมกันในการก่อให้เกิดสัญญาณรีเฟล็กซ์ในไขสันหลังที่ทำให้เกิดการทำงานในกล้ามเนื้อ
ศูนย์สั่งการในสมองของปลาหมึกสาย (ซึ่งเป็นสัตว์ไม่มีกระดูกสันหลังมีสมองใหญ่) มีความเด่นในการควบคุมการเคลื่อนไหวที่ประกอบด้วยทักษะอย่างสูงโดยไม่ใช้แผนที่ภูมิลักษณ์ของร่างกาย ซึ่งไม่เหมือนกับในสัตว์มีกระดูกสันหลัง
ระบบรับกลิ่น
ระบบรับกลิ่น (olfactory system) เป็นระบบรับความรู้สึกที่ใช้ในการได้กลิ่น ซึ่งตรวจจับสารมีกลิ่นต่าง ๆ ที่อยู่ในอากาศ
แม้ว่า ระบบรับความรู้สึกโดยมากจะใช้เซลล์ประสาทรับความรู้สึก ในคอร์เทกซ์ที่รับสัญญาณความรู้สึกทางประสาทนั้น ๆ เป็นเขตแรก (เขตปฐมภูมิ) เป็นตัวสร้างแผนที่ภูมิลักษณ์ที่เป็นตัวแทนของตำแหน่งตัวกระตุ้นภายในสิ่งแวดล้อม และเป็นตัวแทนของคุณลักษณะของตัวกระตุ้น แต่ว่า แผนที่ภูมิลักษณ์ของระบบรับกลิ่นกลับไม่ได้อาศัยความเป็นไปในปริภูมิของตัวกระตุ้น ไม่เหมือนกับระบบรับความรู้สึกอื่น ระบบรับกลิ่นกลับใช้พื้นที่ในการเข้ารหัสคุณลักษณะของสารมีกลิ่นเท่านั้น (คือไม่ได้เข้ารหัสตำแหน่งของเยื่อบุผิวที่มีปฏิกิริยากับสารมีกลิ่น)
แผนที่ภูมิลักษณ์ในระบบรับกลิ่นมีลักษณะที่แตกต่างไปจากการจัดระเบียบที่มีอยู่ในแผนที่ของเรตินา ของเสียง และของความรู้สึกทางกาย คือ เซลล์ประสาทรับกลิ่นไม่ใช่มีความแตกต่างจากกันและกันโดยหน่วยรับความรู้สึก (receptor) ที่มีที่เยื่อหุ้มเซลล์เท่านั้น แต่ว่า เซลล์ที่มีหน่วยรับความรู้สึกประเภทเดียวกันกลับกระจัดกระจายไปทั่วเยื่อรับกลิ่น (olfactory epithelium) ถึงแม้ว่าจะมีโซนหนึ่งของเยื่อรับกลิ่น ที่เซลล์มีหน่วยความรู้สึกแบบเดียวกันจะอยู่อย่างหนาแน่นกว่าโซนอื่น นั่นก็คือ โครงสร้างในสมองของระบบรับกลิ่นไม่ปรากฏว่ามีการจัดระเบียบแผนที่โดยตำแหน่งของตัวรับความรู้สึกเป็นหนึ่งต่อหนึ่งเหมือนกับในระบบรับความรู้สึกอื่น ๆ: 717
ถึงจะมีความแตกต่างอย่างนี้ ตำแหน่งของเซลล์บนเยื่อรับกลิ่นและตำแหน่งที่แอกซอนของเซลล์ไปสุดที่ป่องรับกลิ่น (olfactory bulb ซึ่งเป็นที่อยู่ของ interneuron ที่ส่งสัญญาณต่อไปยังสมองเขตอื่น) ก็ยังมีสหสัมพันธ์กัน ดังนั้น ยังเหมือนกับกับระบบรับความรู้สึกอื่น แผนที่รับกลิ่นในสมองก็ยังขึ้นอยู่กับโครงสร้างของอวัยวะที่ปลายประสาท การจัดระเบียบแผนที่ในสมองสำหรับระบบรับกลิ่นอย่างนี้ เรียกว่า rhinotopy
เซลล์ประสาทรับกลิ่นแต่ละเซลล์มีการแสดงออกของยีน (gene expression) เพียงยีนเดียวในยีนหน่วยรับความรู้สึกเป็นพัน ดังนั้น เซลล์ที่มีหน่วยความรู้สึกที่ไม่เหมือนกับจึงมีหน้าที่แตกต่างกัน เซลล์ที่มีหน่วยรับความรู้สึกเดียวกันในเยื่อรับกลิ่น กระจัดกระจายไปโดยสุ่มในโซนหนึ่ง (ที่มีเขตกำหนดกว้างขวาง) ในสี่โซน เซลล์รับความรู้สึกแต่ละเซลล์ส่งแอกซอนเดียวไม่มีสาขาไปยังป่องรับกลิ่นอย่างเป็นระเบียบ เซลล์ที่มีหน่วยรับความรู้สึกเดียวกันส่งแอกซอนไปรวมที่ glomerulus โดยเฉพาะ 2 ตัว ในบรรดา 1,800 ตัว ที่มีอยู่ในป่องรับกลิ่น รูปแบบการมารวมบรรจบอย่างนี้ แน่นอนและไม่ต่างกันระหว่างสัตว์ในสปีชีส์เดียวกัน ดังนั้น ป่องรับกลิ่นจึงมีแผนที่ที่ระบุว่า ตัวรับความรู้สึกประเภทใดเกิดการทำงานในเยื่อรับกลิ่น และดังนั้นลักษณะของกลิ่นจึงมีการเข้ารหัสโดยการทำงานร่วมกันโดยเฉพาะของ glomerulus หลายตัว ที่เกิดการทำงานเพราะกลิ่นใดกลิ่นหนึ่ง
แม้ว่า การปรับปรุงการเข้ารหัสในป่องรับกลิ่นให้ละเอียด จะอาศัยการทำงานที่เกิดจากการได้กลิ่น พัฒนาการของป่องรับกลิ่นบางส่วนเกิดขึ้นได้แม้จะไม่มีการได้กลิ่น หนูกลายพันธ์ที่ไม่มี cyclic nucleotide-gated ion channel ที่เกี่ยวข้องกับการรับรู้กลิ่น ไม่มีการตอบสนองทางกายภาพไฟฟ้าในเยื่อรับกลิ่น (คือไม่สามารถรับรู้กลิ่นได้) แต่ว่า รูปแบบเฉพาะของการรวมบรรจบของแอกซอนในป่องรับกลิ่น ก็ยังเกิดขึ้นในหนูกลายพันธ์นี้ ซึ่งเป็นหลักฐานยืนยันที่ชัดเจนว่า ประสบการณ์การได้กลิ่นไม่จำเป็นต่อการตั้งขึ้นหรือการพัฒนาแผนที่การได้กลิ่น
หลักฐานเหล่านี้ ไม่ได้ห้ามบทบาทของกระบวนการต่าง ๆ ที่อาศัยการได้กลิ่น ในการดำรงรักษาหรือการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นได้ของแผนที่หลังจากที่ตั้งขึ้นแล้ว ตัวอย่างเช่น มีการพบว่า เซลล์ประสาทที่ไม่มีหน่วยรับความรู้สึกที่ใช้งานได้ มีครึ่งชีวิต (half-life) ที่สั้นกว่าปกติมาก (คือเพราะทำงานไม่ได้จึงตายเร็ว) ดังนั้น กระบวนการต่าง ๆ ที่อาศัยการได้กลิ่นอาจจะเป็นสิ่งที่ขาดไม่ได้เพื่อความอยู่รอดของเซลล์ประสาทรับรู้กลิ่นหลังกำเนิด และโดยนัยเดียวกัน กระบวนการต่าง ๆ ที่อาศัยการได้กลิ่นก็อาจจะปรับเปลี่ยนสัญญาณกลิ่นที่เข้าไปยัง glomerulus แต่ละตัว เพื่อเปลี่ยนความไวต่อกลิ่นแต่ละอย่าง
ระบบรับรส
ระบบรับรส (gustatory system) เป็นระบบความรู้สึกในการรับรส และเหมือนกับกลิ่น การรับรสเป็นการรับความรู้สึกเชิงเคมี เซลล์รับรสอยู่ที่ปุ่มรับรส (taste buds) บนลิ้น ลิ้นมีทั้งเซลล์ประสาทรับรสและเซลล์ประสาทรับแรงกล แต่ว่า ใยประสาทนำเข้าจากเซลล์รับรสและเซลล์รับแรงกลเดินทางขึ้นไปยังระบบที่ต่างกันในก้านสมอง ยังไม่ชัดเจนว่า ข้อมูลสองอย่างนี้ได้รับการแปลผลร่วมกันอย่างไรในคอร์เทกซ์ คอร์เทกซ์รับรสปฐมภูมิ (primary gustatory cortex) อยู่ใกล้กับเขตแผนที่ทางกายของลิ้น (ซึ่งอยู่ในคอร์เทกซ์รับความรู้สึกทางกาย) ใน insular cortex ซึ่งฝังลึกอยู่ในร่องด้านข้าง (lateral fissure) ส่วนเขตรับรสทุติยภูมิอยู่ใน operculum
ระบบรับรสส่วนปลายน่าจะรักษาความสัมพันธ์โดยเฉพาะระหว่างเซลล์ปุ่มรับรสที่ตอบสนองโดยเฉพาะต่อรสชาติหนึ่ง ๆ กับ ganglion cells ที่ส่งข้อมูลเกี่ยวกับรสนั้น ความสัมพันธ์อย่างนี้สามารถอธิบายความเฉพาะเจาะจงของการตอบสนองในเส้นประสาทรับรสแต่ละเส้น โดยเฉพาะอย่างยิ่งเพราะว่า ตัวรับรสหวาน รสอุมามิ และรสขม ปรากฏในเซลล์รับรสที่ต่างพวกกัน แม้ว่าหลักฐานทางกายวิภาคสำหรับความสัมพันธ์โดยเฉพาะอย่างนี้จะยังไม่มีในระดับของเซลล์รับรสหนึ่ง ๆ และ ganglion cell แต่ว่าความสัมพันธ์ระดับปุ่มรับรสหนึ่ง ๆ กับ ganglion cell ที่เชื่อมต่อกับปุ่มรับรสนั้น สามารถแยกแยะได้ง่ายทางประสาทกายวิภาค อย่างไรก็ดี สำหรับรสชาติ งานวิจัยที่พยายามระบุแผนที่ของเซลล์รับรสหรือรส พบแต่ภูมิลักษณ์ที่คลุมเครือในสมอง แต่ถึงอย่างนั้น ganglion cell ก็ยังต้องมีใยประสาทส่งไปที่เซลล์รับรสประเภทต่าง ๆ และส่งพลังประสาทไปยังระบบประสาทกลางที่จัดเป็นระเบียบอย่างใดอย่างหนึ่ง
ประโยชน์
สำหรับเซลล์ประสาทแล้ว การส่งสัญญาณไปไกล ๆ เปลืองพลังงานมาก และยังมีปัญหาเกี่ยวกับการเสียเวลาอีกด้วย ดังนั้น การออกแบบที่ดีก็จะตั้งกลุ่มนิวรอนที่ต้องติดต่อกันและกันไว้ใกล้ ๆ กัน (คือนิวรอนที่ต้องใช้ข้อมูลของแผนที่ก็ควรอยู่ใกล้ ๆ แผนที่) การมีแผนที่ภูมิลักษณ์หลาย ๆ แผ่นมีผลดีอย่างหนึ่งคือ แผนที่แต่ละแผ่นสามารถมีขนาดแตกต่างกัน และมีรายละเอียดที่แตกต่างกันตามความต้องการ แผ่นที่ละเอียดก็จะต้องใช้นิวรอนเป็นจำนวนมากและมีขนาดใหญ่กว่าแผนที่แบบครอบคลุม ซึ่งใช้นิวรอนน้อยกว่า
เทคนิคการระบุแผนที่ภูมิลักษณ์
มีหลายเทคนิคที่ใช้กำหนดแผนที่ภูมิลักษณ์ต่าง ๆ ในสมอง ในยุคต้น ๆ ความมีอยู่ของแผนที่ภูมิลักษณ์ปรากฏด้วยการกระตุ้นคอร์เทกซ์ด้วยไฟฟ้า ที่ใช้เพื่อสืบหารูปแบบของการชักเหตุโรคลมชัก, ความสัมพันธ์ในสมองต่อตัวกระตุ้น, และความบกพร่องที่เกิดขึ้นเนื่องจากรอยโรค ส่วนหลายละเอียดของแผนที่ปรากฏในยุคต่อ ๆ มาด้วยการใช้เทคนิคการกระตุ้นและบันทึกสัญญาณด้วยไมโครอิเล็กโทรดที่กลายเป็นเทคนิคที่ใช้ทั่ว ๆ ไปในการแสดงแผนที่ความรู้สึกทางกาย และหลังจากนั้น ในการแสดงแผนที่ในระบบการได้ยินและระบบการเห็น ทั้งในโครงสร้างในคอร์เทกซ์และทั้งโครงสร้างใต้คอร์เทกซ์เช่น colliculus และ geniculate nucleus ที่อยู่ในทาลามัส
หลังจากนั้นมา Single-cell recording (การบันทึกสัญญาณในเซลล์เดียว), Transcranial magnetic stimulation (การกระตุ้นสมองผ่านกะโหลกด้วยแม่เหล็ก), การกระตุ้นคอร์เทกซ์ด้วยไฟฟ้า และการสร้างภาพสมองโดยกิจด้วยเรโซแนนท์แม่เหล็ก (fMRI) ก็กลายเป็นเทคนิคที่ใช้ในการศึกษาแผนที่ต่าง ๆ ในสมอง แผนที่ภูมิลักษณ์ที่มีอยู่แล้วก็ได้รับการศึกษาเพิ่มเติมโดยใช้ fMRI ด้วย ตัวอย่างเช่น ฮูเบลและวีเซิลเป็นผู้เริ่มต้นในการศึกษาแผนที่ภูมิลักษณ์ของเรตินาในคอร์เทกซ์สายตาปฐมภูมิโดยใช้ single-cell recording แต่พึ่งเร็ว ๆ นี้ ก็มีการทำภาพของแผนที่ภูมิลักษณ์ของเรตินาในคอร์เทกซ์และในเขตใต้เปลือกสมองอื่น ๆ เช่น lateral geniculate nucleus ได้รับการพัฒนาขึ้นโดยใช้เทคนิค fMRI
เชิงอรรถและอ้างอิง
- "ศัพท์บัญญัติอังกฤษ-ไทย, ไทย-อังกฤษ ฉบับราชบัณฑิตยสถาน (คอมพิวเตอร์) รุ่น ๑.๑", ให้ความหมายของ topography ว่า "ภูมิลักษณ์" หรือ "ลักษณะภูมิประเทศ"
- เซลล์ปมประสาทในเรตินา (retinal ganglion cell ตัวย่อ RGC) เป็นเซลล์ประสาทประเภทหนึ่ง ซึ่งอยู่ใกล้ ๆ ผิวด้านใน (ในชั้นเซลล์ปมประสาท) ของเรตินา RGC รับข้อมูลสายตามาจากตัวรับแสง (photoreceptor) ผ่านเซลล์ประสาทอีกกลุ่มหนึ่ง คือ และ แล้วส่งข้อมูลสายตาที่ทำให้เกิดการเห็นและที่ไม่ทำให้เกิดการเห็น ไปยังเขตต่าง ๆ ในทาลามัส ไฮโปทาลามัส และสมองส่วนกลาง
- Hinds, O., et al. (2009) . Locating the functional and anatomical boundaries of human primary visual cortex. Neuroimage. 46 (4) : 915-922.
- superior colliculus (SC) เป็นโครงสร้างในเทคตัมของสมองส่วนกลาง มีลักษณะเป็นชั้น ๆ โดยที่ชั้นต่าง ๆ รวมกันทำหน้าที่เป็นแผนที่ภูมิลักษณ์ของเรตินา SC มีบทบาทในการเคลื่อนไหวตาอย่างเร็ว ๆ ที่เรียกว่า saccades
- Udin, S., Fawcett, J., (1988) . Formation of Topographic Maps. Ann. Rev. Neurosci. 11:289-327.
- ROSA, M.G.P. (2002) . Visual maps in the adult primate cerebral cortex: some implications for brain development and evolution. Braz J Med Biol Res. 35 (12) :1485-1498.
- cochlear nuclei (CN) ประกอบด้วยกลุ่มนิวรอนที่มีโครงสร้างต่าง ๆ กันสองกลุ่ม เป็นนิวเคลียสที่พบในก้านสมองของสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมที่รับสัญญาณเข้าจาก cochlear nerve ซึ่งนำสัญญาณเสียงมาจาก cochlear. CN ส่งสัญญาณต่อไปยังส่วนอื่น ๆ ของก้านสมองที่เกี่ยวข้องกับการได้ยิน
- inferior colliculus เป็นนิวเคลียสหลักในสมองส่วนกลาง (midbrain) ในวิถีประสาทการได้ยิน และรับสัญญาณมาจากทั้งนิวเคลียสรอบ ๆ ก้านสมองซึ่งอยู่ในวิถีประสาทการได้ยิน และทั้งคอร์เทกซ์การได้ยิน (auditory cortex)
- basilar membrane ภายใน cochlear ของหูชั้นในเป็นโครงสร้างแข็งที่แยกท่อสองท่อที่เต็มไปด้วยของเหลวที่วิ่งโค้งไปในขดของ cochlear ท่อสองท่อนั้นคือ scala media และ scala tympani
- Talavage, T. M., et al. (2000) . Frequency-dependent responses exhibited by multiple regions in human auditory cortex. Hearing Research, 150 (1-2) : 225-244.
- Betz cell เป็นนิวรอนพิรามิดขนาดใหญ่อยู่ในชั้นที่ 5 ของเนื้อเทาในคอร์เทกซ์สั่งการปฐมภูมิ (primary motor cortex)
- อาร์กกิริยาสนองฉับพลัน (reflex arc) เป็นวิถีประสาทที่ควบคุมปฏิกิริยารีเฟล็กซ์. ในสัตว์ชั้นสูง นิวรอนรับความรู้สึกโดยมากไม่ได้ส่งสัญญาณโดยตรงไปยังสมอง แต่เชื่อมไซแนปส์ที่ไขสันหลัง ความเป็นไปอย่างนี้ทำให้ปฏิกิริยารีเฟล็กซ์เกิดขึ้นได้อย่างรวดเร็วผ่านการทำงานของนิวรอนในไขสันหลัง โดยไม่มีความเนิ่นช้าในการส่งข้อมูลไปยังสมอง ถึงแม้ว่าสมองก็จะได้รับข้อมูลความรู้สึก (ที่นำไปสู่รีเฟล็กซ์) ด้วย ในขณะที่ปฏิกิริยาแบบรีเฟล็กซ์กำลังเป็นไป
- Dimitrijevic, M. R., et al. (2005) . Motor Control in the Human Spinal Cord. Artificial Organs. 29 (3) : 216-219.
- Zullo L, Sumbre G, Agnisola C, Flash T, Hochner B. (2009) . Nonsomatotopic organization of the higher motor centers in octopus. Curr Biol. 19 (19) :1632-6.
- การเข้ารหัส โดยรวม ๆ ก็คือ การแปลงข้อมูลที่อยู่ในรูปแบบหนึ่ง ไปเป็นข้อมูลในอีกรูปแบบหนึ่ง ตัวอย่างเช่น เข้ารหัสเสียงดนตรีไปเป็นหลุมเล็ก ๆ บนซีดีที่ใช้เล่นเพลงนั้นได้
- Auffarth, B. (2013) . Understanding smell -- the olfactory stimulus problem. Neuroscience & Biobehavioral Reviews. http://www.sciencedirect.com/science/article/pii/S0149763413001644
- Kandel, Eric R.; Schwartz, James H.; Jessell, Thomas M.; Siegelbaum, Steven A.; Hudspeth, A.J. (2013). Principles of Neural Science Fifth Edition. United State of America: McGraw-Hill. ISBN .
- Imai, T., et al. (2010) . Topographic Mapping—The Olfactory System. Cold Spring Harb Perspect Biol. 2 (8) .
- Auffarth, B. (2013) . Understanding smell -- the olfactory stimulus problem. Neuroscience & Biobehavioral Reviews. http://www.sciencedirect.com/science/article/pii/S0149763413001644
- glomerulus เป็นโครงสร้างกลม ๆ อยู่ในป่องรับกลิ่น (olfactory bulb) ในสมอง เป็นที่มีแอกซอนของเซลล์รับกลิ่นในจมูกมาเชื่อมกับเดนไดรต์ของ mitral cell, tufted cell, และ periglomelular cell
- Vosshall, L., et al. (2000) . An Olfactory Sensory Map in the Fly Brain. Cell. 102: 147-159.
- คือสัตว์อาจจะต้องมีการฝึกเพื่อแยกแยะกลิ่นต่าง ๆ ให้แม่นยำ
- Wang F, Nemes A, Meldelson M, Axel R. (1998) . Odorant Receptors Govern the Formation of a Precise Topographic Map. Cell 93: 47-60.
- Kaas, J. H., Qi, H. X., & Iyengar, S. (2006) . Cortical network for representing the teeth and tongue in primates. Anatomical Record Part a-Discoveries in Molecular Cellular and Evolutionary Biology, 288A (2) : 182-190.
- Zaidi, F. N., & Whitehead, M. C. (2006) . Discrete Innervation of Murine Taste Buds by Peripheral Taste Neurons. J. Neurosci., 26 (32) : 8243-8253.
- Kaas, J. H., (2008) . The evolution of the complex sensory and motor systems of the human brain. Brain Research Bulletin. 75: 384-390.
- Kaas, J. H., (1997) . Topographic Maps are Fundamental to Sensory Processing. Brain Research Bulletin. 44 (2) : 107-112.
- Schneider KA, Richter MC, Kastner, S (2004) . Retinotopic Organization and Functional Subdivision of the Human Lateral Geniculate Nucleus: A High-Resolution Functional Magnetic Resonance Imaging Study. J. Neurosci. 24 (41) :8975-8985.
wikipedia, แบบไทย, วิกิพีเดีย, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด, บทความ, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม, มือถือ, โทรศัพท์, Android, iOS, Apple, โทรศัพท์โมบิล, Samsung, iPhone, Xiomi, Xiaomi, Redmi, Honor, Oppo, Nokia, Sonya, MI, PC, พีซี, web, เว็บ, คอมพิวเตอร์
aephnthiphumilksn xngkvs topographic map hrux aephnthi topographic khxngrabbprasath epnkarsngkhxmulxyangepnraebiybkhxngphunphiwinrangkaythiekidkhwamrusuk echnthiertinahruxphiwhnng hruxinrabbptibtinganechnrabbklamenux ipyngokhrngsrangtang khxngsmxnginrabbprasathklang aephnthiphumilksnmixyuinrabbrbkhwamrusukthnghmd aelainrabbsngkar motor system tang epncanwnmakrabbsaytarabbsaytahmaythungswninrabbprasathklangthiyngkarehnihepnipidinsingmichiwit epnrabbthiaeplkhxmulcakaesnginkhwamthithiehnidephuxsrangaebbcalxngkhxngolk ganglion cell khxngertinasngkhxmulxyangepnraebiybipyng lateral geniculate nucleus LGN inthalams aelacaknn ipyngkhxrethkssaytapthmphumi V1 cudthixyuikl knbnertina miniwrxnthixyuikl knepntwaethn khuxepnaephnthi thngin LGN thngin V1 karsngaelakarrbkhxmulepnraebiybxyangnieriykwa topography phumilksn miaephnthiphumilksnhlaypraephthinkhxrethkssayta echn aephnthiphumilksnkhxngertina retinotopic map aephnthi occular dominance aela aephnthithisthang orientation aephnthikhxngertinaepnpraephththiekhaicidngaythisudodykhwamepnaephnthiphumilksn khuxepnaephnthithiphaphthitklngbnertinaminiwrxnthikhxrethkskhux LGN aela V1 epntwaethn klawodyxiknyhnung thamicudcudhnunginkhxrethksthiepntwaethnkhxngertinaesiyhay bukhkhlnnkcaekiddwngmudinsayta khuxcaimsamarthehnswnkhxngphaphthitklngbnertinathicudinkhxrethksthiesiyhayepntwaethnrxngrb aemaephnthithisthang kepnaephnthiphumilksndwy inaephnthixyangni miesllprasaththieluxktxbsnxngtxrupthimithisthangodyechphaa echnepnruptnghruxrupnxn aelaemuxrupmithisthangechphaannmaxyuinlanrbsyyankhxngesll kcaekidkaryingskyanganinradbthisungsud aelaemuxrupnn ekhluxnipcaklanrbsyyankhxngesll radbkaryingsyyankhxngesllkcaldlng aephnthithisthangepnaephnthiphumilksnephraawaesllikl kneluxktxbsnxngtxrupthimithisthangediywkn karcdraebiybodyphumilksnkhxngertina mixyuinekhttang thiprasathnaekhanakhxmulcakertina ipyngokhrngsrangtang itepluxksmxng aelwipyng V1 aelaipyngekhtsaytainkhxrethksxun khxrethkssaytapthmphumi V1 hruxekhtbrxdaemnn 17 epnkhxrethksekhtaerkthirbkhxmulsayta chwngphthnakar smmutithan Chemoaffinity hypothesis ihkarsnnisthanwa miekhruxnghmayechingekhmikracayodyladradbipthwertinaaela superior colliculus sungthaih retinal ganglion cell samarthruwakhwrcami dendrite ipsudxyuthiihn nganthdlxngintaprakxbkhxngstwinskul Xenopus sungepnkbodymakxyuinnainthwipxfrika aesdngwa imichephiyngaet dendrite khxng RGC ethannthimikhwamechphaaecaacngechnni aemaetaexksxnkhxng RGC kmikhwamechphaaecaacngechnniechnediywkn khux aexksxntxngmikarrwmmuxknephuxihaenicwa aexksxnthisuxkhxmulkhxngertinaincudthiikl kn ipsudinekhtediywknin superior colliculus praephthkhxngaephnthiphumilksnkhxngertina aephnthitwaethnthihnung First order representation epnaephnthithicudikl knthixyuinswnkhrungediywknkhxngertina kcamikhxlmnikl kninkhxrethkssiktrngkhamepntwaethn twxyangkechn aephnthiin V1 aephnthitwaethnthisxng Second order representation hruxeriykwa field discontinuity map epnaephnthimiraebiybthiduehmuxnwa michxnghruxkhwamimtxenuxngkn discontinuity inlansayta visual field hruxinertina aephnthiinekhtsayta V2 aelakhxrethksnxkkhxrethkslay extrastriate cortex xun khuxekhtkhxrethksthimiradbsungkwa V1 cdepnaephnthitwaethnthisxngrabbkaridyinrabbkaridyinepnrabbrbkhwamrusuksahrbkaridyin epnthithismxngaeplkhxmulcakkhwamthikhlunesiyng epnkarrbruesiyng khlunesiyngedinthangekhaipinhuphanruhu ipthungaekwhu epnthithimikarthayoxnkhlunesiyngipepnkhwamsnsaethuxn sungedinthangiptamkradukkhxnghuchnin cnthungxwywaruphxyokhng cochlea inhuchnin sungepnthimikarthayoxnkhwamsnsaethuxn khuxkhxmulesiyng ipepnkhxmuliffa odykaryingsyyankhxngesllkhnin organ of Corti sungepnswnkhxngxwywaruphxyokhng aela organ of Corti ksngaexksxnxyangepnraebiybipyngokhrngsrangtang inkansmxng khux cochlear nuclei aela inferior colliculus txcaknn withiprasathkdaenintxipyng medial geniculate nucleus inthalams aelaipyngkhxrethkskaridyinpthmphumi primary auditory cortex cudthixyuikl knbn organ of Corti sungrxngrbesiyngthimikhwamthithiechphaaecaacng mitwaethnepnniwrxnthixyuikl kninokhrngsrangtang thiphungklawthunginrabbprasathklang raebiybkarsngsyyanechnnieriykwa tonotopy raebiybaebb tonotopy nierimin cochlear sungepnthithieyux basilar membrane snsaethuxnintaaehnngtang knindanyawkhunxyukbkhwamthiesiyng tha cochlea thikhdxyukhlixxk taaehnngkhxngesiyngkhwamthisungcaxyuthithan aelataaehnngkhxngesiyngkhwamthitacaxyuthiplay karcdraebiybaebbnikphbidinkhxrethkskaridyin auditory cortex insmxngklibkhmbdwy inekhtsmxngthimikarcdraebiybaebbni khwamthiesiyngephimkhuntamladbcaktaipthungsungtamphiwkhxrethks aetwacaepnkhwamthiediywknsahrbesllinaenwtngchak thieriykwakhxlmninkhxrethks kbphiwkhxngkhxrethks odythw ipstwhnung miaephnthi tonotopic xyangnihlayaephnthikracayiptamphiwkhxrethksrabbrbkhwamrusukthangkayrabbrbkhwamrusukthangkayprakxbdwytwrbkhwamrusukaelasunypramwlkhxmulmakmayhlayaebb ephuxcakxihekidkhwamrusukekiywkbsmphs xunhphumi xakpkiriya aelaonsiespchn twrbkhwamrusukxyuthithwrangkayrwmthngphiwhnng enuxeyuxbuphiw xwywaphayin klamenuxokhrngrang kraduk aelakhxtx twrbkhwamrusukthihnng cutaneous receptors sngaexksxnxyangepnraebiybipsuikhsnhlng aelacakikhsnhlng odyphanwithiprasathnaekhakhux aela spinothalamic tract ipyngthalamsaelakhxrethksrbkhwamrusukthangkaypthmphumi primary somatosensory cortex aelainthinikechnkn thicudikl knthiphiwhnngminiwrxnthixyuikl kninokhrngsrangsmxngthiphungklawthung epntwaethn raebiybkarsngsyyanechnnieriykwa somatotopy cortical homunculus khxngsmxngmnusy mxngcakdankhang cortical homunculus khxngsmxngmnusy mxngcakdanhnahruxhlng aephnphngsamythiaesdngaephnthiaebb somatotopic xyanghnungeriykwa cortical homunculus phaphinphngaesdngkhnadkhxngkhxrethksthixuthiskbekhtkhwamrusuktang inrangkayxyangkhxnkhangcaaemnya nxkcaknnkyngaesdngdwywa khxrethksswnihnepntwaethnkhxngswnihninrangkayrabbsngkarodythiimehmuxnkbaephnthiphumilksnkhxngrabbrbkhwamrusuk niwrxnkhxngkhxrethkssngkar motor cortex epnesllprasathiniyprasaththinasyyanxxkcaksmxngaethnthicanakhxmulekhaipyngsmxngehmuxniyprasathnaekha rabbsngkar motor system mihnathiinkarsngkarkarekhluxnihwitxanaccitic epriybethiybkbkarekhluxnihwaebbrieflks sungekidthiikhsnhlng dngnn karekhluxnihwaebbrieflksimidekidthikhxrethkssngkar syyankhxngkhxrethkssngkaredinthangphan Betz cell phan upper motor neuron phan corticospinal tract lngipsudthi pikhnakhxngikhsnhlng anterior horn of spinal cord sungepnekht enuxetha thi lower motor neuron sngsyyanipthi niwrxnsngkarswnplay sungsngsyyanipsudthi klamenux thixyuitxanaccitic karekhluxnihwimtxngichaephnthiphumilksn mikarekhluxnihwhlayxyangthiimtxngichaephnthiphumilksn imtxngichaemaetsmxng twxyanghnungthiklawiwaelwkkhuxkarekhluxnihwthiekidcakrieflks ptikiriyarieflksekidkhunthiikhsnhlngkhuxthi xarkkiriyasnxngchbphln reflex arc inmnusy wngcrprasathinxarkkiriyasnxngchbphlnthimi 1 2 3 isaenpshruxmakkwann niwrxnin propriospinal tract aelaniwrxnthiechuxmthangprasathinenuxetha internuncial gray matter neuron mibthbathrwmkninkarkxihekidsyyanrieflksinikhsnhlngthithaihekidkarthanganinklamenux sunysngkarinsmxngkhxngplahmuksay sungepnstwimmikraduksnhlngmismxngihy mikhwamedninkarkhwbkhumkarekhluxnihwthiprakxbdwythksaxyangsungodyimichaephnthiphumilksnkhxngrangkay sungimehmuxnkbinstwmikraduksnhlngrabbrbklinrabbrbklin olfactory system epnrabbrbkhwamrusukthiichinkaridklin sungtrwccbsarmiklintang thixyuinxakas aemwa rabbrbkhwamrusukodymakcaichesllprasathrbkhwamrusuk inkhxrethksthirbsyyankhwamrusukthangprasathnn epnekhtaerk ekhtpthmphumi epntwsrangaephnthiphumilksnthiepntwaethnkhxngtaaehnngtwkratunphayinsingaewdlxm aelaepntwaethnkhxngkhunlksnakhxngtwkratun aetwa aephnthiphumilksnkhxngrabbrbklinklbimidxasykhwamepnipinpriphumikhxngtwkratun imehmuxnkbrabbrbkhwamrusukxun rabbrbklinklbichphunthiinkarekharhskhunlksnakhxngsarmiklinethann khuximidekharhstaaehnngkhxngeyuxbuphiwthimiptikiriyakbsarmiklin aephnthiphumilksninrabbrbklinmilksnathiaetktangipcakkarcdraebiybthimixyuinaephnthikhxngertina khxngesiyng aelakhxngkhwamrusukthangkay khux esllprasathrbklinimichmikhwamaetktangcakknaelaknodyhnwyrbkhwamrusuk receptor thimithieyuxhumesllethann aetwa esllthimihnwyrbkhwamrusukpraephthediywknklbkracdkracayipthweyuxrbklin olfactory epithelium thungaemwacamiosnhnungkhxngeyuxrbklin thiesllmihnwykhwamrusukaebbediywkncaxyuxyanghnaaennkwaosnxun nnkkhux okhrngsranginsmxngkhxngrabbrbklinimpraktwamikarcdraebiybaephnthiodytaaehnngkhxngtwrbkhwamrusukepnhnungtxhnungehmuxnkbinrabbrbkhwamrusukxun 717 thungcamikhwamaetktangxyangni taaehnngkhxngesllbneyuxrbklinaelataaehnngthiaexksxnkhxngesllipsudthipxngrbklin olfactory bulb sungepnthixyukhxng interneuron thisngsyyantxipyngsmxngekhtxun kyngmishsmphnthkn dngnn yngehmuxnkbkbrabbrbkhwamrusukxun aephnthirbklininsmxngkyngkhunxyukbokhrngsrangkhxngxwywathiplayprasath karcdraebiybaephnthiinsmxngsahrbrabbrbklinxyangni eriykwa rhinotopy esllprasathrbklinaetlaesllmikaraesdngxxkkhxngyin gene expression ephiyngyinediywinyinhnwyrbkhwamrusukepnphn dngnn esllthimihnwykhwamrusukthiimehmuxnkbcungmihnathiaetktangkn esllthimihnwyrbkhwamrusukediywknineyuxrbklin kracdkracayipodysuminosnhnung thimiekhtkahndkwangkhwang insiosn esllrbkhwamrusukaetlaesllsngaexksxnediywimmisakhaipyngpxngrbklinxyangepnraebiyb esllthimihnwyrbkhwamrusukediywknsngaexksxniprwmthi glomerulus odyechphaa 2 tw inbrrda 1 800 tw thimixyuinpxngrbklin rupaebbkarmarwmbrrcbxyangni aennxnaelaimtangknrahwangstwinspichisediywkn dngnn pxngrbklincungmiaephnthithirabuwa twrbkhwamrusukpraephthidekidkarthanganineyuxrbklin aeladngnnlksnakhxngklincungmikarekharhsodykarthanganrwmknodyechphaakhxng glomerulus hlaytw thiekidkarthanganephraaklinidklinhnung aemwa karprbprungkarekharhsinpxngrbklinihlaexiyd caxasykarthanganthiekidcakkaridklin phthnakarkhxngpxngrbklinbangswnekidkhunidaemcaimmikaridklin hnuklayphnththiimmi cyclic nucleotide gated ion channel thiekiywkhxngkbkarrbruklin immikartxbsnxngthangkayphaphiffaineyuxrbklin khuximsamarthrbruklinid aetwa rupaebbechphaakhxngkarrwmbrrcbkhxngaexksxninpxngrbklin kyngekidkhuninhnuklayphnthni sungepnhlkthanyunynthichdecnwa prasbkarnkaridklinimcaepntxkartngkhunhruxkarphthnaaephnthikaridklin hlkthanehlani imidhambthbathkhxngkrabwnkartang thixasykaridklin inkardarngrksahruxkarepliynaeplngthiekidkhunidkhxngaephnthihlngcakthitngkhunaelw twxyangechn mikarphbwa esllprasaththiimmihnwyrbkhwamrusukthiichnganid mikhrungchiwit half life thisnkwapktimak khuxephraathanganimidcungtayerw dngnn krabwnkartang thixasykaridklinxaccaepnsingthikhadimidephuxkhwamxyurxdkhxngesllprasathrbruklinhlngkaenid aelaodynyediywkn krabwnkartang thixasykaridklinkxaccaprbepliynsyyanklinthiekhaipyng glomerulus aetlatw ephuxepliynkhwamiwtxklinaetlaxyangrabbrbrsrabbrbrs gustatory system epnrabbkhwamrusukinkarrbrs aelaehmuxnkbklin karrbrsepnkarrbkhwamrusukechingekhmi esllrbrsxyuthipumrbrs taste buds bnlin linmithngesllprasathrbrsaelaesllprasathrbaerngkl aetwa iyprasathnaekhacakesllrbrsaelaesllrbaerngkledinthangkhunipyngrabbthitangkninkansmxng yngimchdecnwa khxmulsxngxyangniidrbkaraeplphlrwmknxyangirinkhxrethks khxrethksrbrspthmphumi primary gustatory cortex xyuiklkbekhtaephnthithangkaykhxnglin sungxyuinkhxrethksrbkhwamrusukthangkay in insular cortex sungfnglukxyuinrxngdankhang lateral fissure swnekhtrbrsthutiyphumixyuin operculum rabbrbrsswnplaynacarksakhwamsmphnthodyechphaarahwangesllpumrbrsthitxbsnxngodyechphaatxrschatihnung kb ganglion cells thisngkhxmulekiywkbrsnn khwamsmphnthxyangnisamarthxthibaykhwamechphaaecaacngkhxngkartxbsnxnginesnprasathrbrsaetlaesn odyechphaaxyangyingephraawa twrbrshwan rsxumami aelarskhm praktinesllrbrsthitangphwkkn aemwahlkthanthangkaywiphakhsahrbkhwamsmphnthodyechphaaxyangnicayngimmiinradbkhxngesllrbrshnung aela ganglion cell aetwakhwamsmphnthradbpumrbrshnung kb ganglion cell thiechuxmtxkbpumrbrsnn samarthaeykaeyaidngaythangprasathkaywiphakh xyangirkdi sahrbrschati nganwicythiphyayamrabuaephnthikhxngesllrbrshruxrs phbaetphumilksnthikhlumekhruxinsmxng aetthungxyangnn ganglion cell kyngtxngmiiyprasathsngipthiesllrbrspraephthtang aelasngphlngprasathipyngrabbprasathklangthicdepnraebiybxyangidxyanghnungpraoychnsahrbesllprasathaelw karsngsyyanipikl epluxngphlngnganmak aelayngmipyhaekiywkbkaresiyewlaxikdwy dngnn karxxkaebbthidikcatngklumniwrxnthitxngtidtxknaelakniwikl kn khuxniwrxnthitxngichkhxmulkhxngaephnthikkhwrxyuikl aephnthi karmiaephnthiphumilksnhlay aephnmiphldixyanghnungkhux aephnthiaetlaaephnsamarthmikhnadaetktangkn aelamiraylaexiydthiaetktangkntamkhwamtxngkar aephnthilaexiydkcatxngichniwrxnepncanwnmakaelamikhnadihykwaaephnthiaebbkhrxbkhlum sungichniwrxnnxykwaethkhnikhkarrabuaephnthiphumilksnmihlayethkhnikhthiichkahndaephnthiphumilksntang insmxng inyukhtn khwammixyukhxngaephnthiphumilksnpraktdwykarkratunkhxrethksdwyiffa thiichephuxsubharupaebbkhxngkarchkehtuorkhlmchk khwamsmphnthinsmxngtxtwkratun aelakhwambkphrxngthiekidkhunenuxngcakrxyorkh swnhlaylaexiydkhxngaephnthipraktinyukhtx madwykarichethkhnikhkarkratunaelabnthuksyyandwyimokhrxielkothrdthiklayepnethkhnikhthiichthw ipinkaraesdngaephnthikhwamrusukthangkay aelahlngcaknn inkaraesdngaephnthiinrabbkaridyinaelarabbkarehn thnginokhrngsranginkhxrethksaelathngokhrngsrangitkhxrethksechn colliculus aela geniculate nucleus thixyuinthalams hlngcaknnma Single cell recording karbnthuksyyaninesllediyw Transcranial magnetic stimulation karkratunsmxngphankaohlkdwyaemehlk karkratunkhxrethksdwyiffa aelakarsrangphaphsmxngodykicdwyerosaennthaemehlk fMRI kklayepnethkhnikhthiichinkarsuksaaephnthitang insmxng aephnthiphumilksnthimixyuaelwkidrbkarsuksaephimetimodyich fMRI dwy twxyangechn hueblaelawiesilepnphuerimtninkarsuksaaephnthiphumilksnkhxngertinainkhxrethkssaytapthmphumiodyich single cell recording aetphungerw ni kmikarthaphaphkhxngaephnthiphumilksnkhxngertinainkhxrethksaelainekhtitepluxksmxngxun echn lateral geniculate nucleus idrbkarphthnakhunodyichethkhnikh fMRIechingxrrthaelaxangxing sphthbyytixngkvs ithy ithy xngkvs chbbrachbnthitysthan khxmphiwetxr run 1 1 ihkhwamhmaykhxng topography wa phumilksn hrux lksnaphumipraeths esllpmprasathinertina retinal ganglion cell twyx RGC epnesllprasathpraephthhnung sungxyuikl phiwdanin inchnesllpmprasath khxngertina RGC rbkhxmulsaytamacaktwrbaesng photoreceptor phanesllprasathxikklumhnung khux aela aelwsngkhxmulsaytathithaihekidkarehnaelathiimthaihekidkarehn ipyngekhttang inthalams ihopthalams aelasmxngswnklang Hinds O et al 2009 Locating the functional and anatomical boundaries of human primary visual cortex Neuroimage 46 4 915 922 superior colliculus SC epnokhrngsranginethkhtmkhxngsmxngswnklang milksnaepnchn odythichntang rwmknthahnathiepnaephnthiphumilksnkhxngertina SC mibthbathinkarekhluxnihwtaxyangerw thieriykwa saccades Udin S Fawcett J 1988 Formation of Topographic Maps Ann Rev Neurosci 11 289 327 ROSA M G P 2002 Visual maps in the adult primate cerebral cortex some implications for brain development and evolution Braz J Med Biol Res 35 12 1485 1498 cochlear nuclei CN prakxbdwyklumniwrxnthimiokhrngsrangtang knsxngklum epnniwekhliysthiphbinkansmxngkhxngstweliynglukdwynmthirbsyyanekhacak cochlear nerve sungnasyyanesiyngmacak cochlear CN sngsyyantxipyngswnxun khxngkansmxngthiekiywkhxngkbkaridyin inferior colliculus epnniwekhliyshlkinsmxngswnklang midbrain inwithiprasathkaridyin aelarbsyyanmacakthngniwekhliysrxb kansmxngsungxyuinwithiprasathkaridyin aelathngkhxrethkskaridyin auditory cortex basilar membrane phayin cochlear khxnghuchninepnokhrngsrangaekhngthiaeykthxsxngthxthietmipdwykhxngehlwthiwingokhngipinkhdkhxng cochlear thxsxngthxnnkhux scala media aela scala tympani Talavage T M et al 2000 Frequency dependent responses exhibited by multiple regions in human auditory cortex Hearing Research 150 1 2 225 244 Betz cell epnniwrxnphiramidkhnadihyxyuinchnthi 5 khxngenuxethainkhxrethkssngkarpthmphumi primary motor cortex xarkkiriyasnxngchbphln reflex arc epnwithiprasaththikhwbkhumptikiriyarieflks instwchnsung niwrxnrbkhwamrusukodymakimidsngsyyanodytrngipyngsmxng aetechuxmisaenpsthiikhsnhlng khwamepnipxyangnithaihptikiriyarieflksekidkhunidxyangrwderwphankarthangankhxngniwrxninikhsnhlng odyimmikhwameninchainkarsngkhxmulipyngsmxng thungaemwasmxngkcaidrbkhxmulkhwamrusuk thinaipsurieflks dwy inkhnathiptikiriyaaebbrieflkskalngepnip Dimitrijevic M R et al 2005 Motor Control in the Human Spinal Cord Artificial Organs 29 3 216 219 Zullo L Sumbre G Agnisola C Flash T Hochner B 2009 Nonsomatotopic organization of the higher motor centers in octopus Curr Biol 19 19 1632 6 karekharhs odyrwm kkhux karaeplngkhxmulthixyuinrupaebbhnung ipepnkhxmulinxikrupaebbhnung twxyangechn ekharhsesiyngdntriipepnhlumelk bnsidithiichelnephlngnnid Auffarth B 2013 Understanding smell the olfactory stimulus problem Neuroscience amp Biobehavioral Reviews http www sciencedirect com science article pii S0149763413001644 Kandel Eric R Schwartz James H Jessell Thomas M Siegelbaum Steven A Hudspeth A J 2013 Principles of Neural Science Fifth Edition United State of America McGraw Hill ISBN 978 0 07 139011 8 Imai T et al 2010 Topographic Mapping The Olfactory System Cold Spring Harb Perspect Biol 2 8 Auffarth B 2013 Understanding smell the olfactory stimulus problem Neuroscience amp Biobehavioral Reviews http www sciencedirect com science article pii S0149763413001644 glomerulus epnokhrngsrangklm xyuinpxngrbklin olfactory bulb insmxng epnthimiaexksxnkhxngesllrbklinincmukmaechuxmkbednidrtkhxng mitral cell tufted cell aela periglomelular cell Vosshall L et al 2000 An Olfactory Sensory Map in the Fly Brain Cell 102 147 159 khuxstwxaccatxngmikarfukephuxaeykaeyaklintang ihaemnya Wang F Nemes A Meldelson M Axel R 1998 Odorant Receptors Govern the Formation of a Precise Topographic Map Cell 93 47 60 Kaas J H Qi H X amp Iyengar S 2006 Cortical network for representing the teeth and tongue in primates Anatomical Record Part a Discoveries in Molecular Cellular and Evolutionary Biology 288A 2 182 190 Zaidi F N amp Whitehead M C 2006 Discrete Innervation of Murine Taste Buds by Peripheral Taste Neurons J Neurosci 26 32 8243 8253 Kaas J H 2008 The evolution of the complex sensory and motor systems of the human brain Brain Research Bulletin 75 384 390 Kaas J H 1997 Topographic Maps are Fundamental to Sensory Processing Brain Research Bulletin 44 2 107 112 Schneider KA Richter MC Kastner S 2004 Retinotopic Organization and Functional Subdivision of the Human Lateral Geniculate Nucleus A High Resolution Functional Magnetic Resonance Imaging Study J Neurosci 24 41 8975 8985