ห่วงโซ่โปรตอน–โปรตอน (proton–proton chain) คือหนึ่งในปฏิกิริยานิวเคลียร์ฟิวชันชนิดหนึ่งในจำนวนสองรูปแบบ ซึ่งดาวฤกษ์ใช้ในการแปลงไฮโดรเจนไปเป็นฮีเลียม ปฏิกิริยาอีกชนิดหนึ่งคือวงจรซีเอ็นโอ (วงจรปฏิกิริยาคาร์บอน–ไนโตรเจน–ออกซิเจน) สำหรับห่วงโซ่โปรตอน–โปรตอนนั้นจะเกิดในดาวฤกษ์ที่มีขนาดประมาณดวงอาทิตย์หรือเล็กกว่า
โดยปกติแล้ว ฟิวชันของโปรตอน–โปรตอน เกิดขึ้นได้ก็ต่อเมื่ออุณหภูมิ (หรือพลังงานจลน์) ของโปรตอนนั้นสูงมากจนสามารถเอาชนะแรงไฟฟ้าสถิตร่วมหรือ (Coulomb repulsion) เป็นผู้เสนอทฤษฎีนี้เมื่อช่วงคริสต์ทศวรรษ 1920 ว่า ปฏิกิริยาห่วงโซ่โปรตอน–โปรตอนเป็นหลักการพื้นฐานซึ่งดวงอาทิตย์และดาวฤกษ์อื่น ๆ ใช้ในการเผาผลาญตนเอง ในยุคนั้นเชื่อกันว่าอุณหภูมิของดวงอาทิตย์ต่ำเกินไปที่จะฝ่ากำแพงคูลอมบ์ได้ แต่หลังจากวิวัฒนาการด้านกลศาสตร์ควอนตัม จึงมีการค้นพบของของโปรตอนซึ่งทำให้สามารถเกิดปฏิกิริยาฟิวชั่นได้ที่อุณหภูมิที่ต่ำกว่าที่เคยคาดการณ์กันไว้ตามหลักของฟิสิกส์ดั้งเดิม
อย่างไรก็ดี ยังไม่เป็นที่เข้าใจกันดีนักว่า ปฏิกิริยาห่วงโซ่โปรตอน–โปรตอน ดำเนินไปอย่างไร เนื่องจากผลผลิตจากปฏิกิริยาที่เห็นชัดที่สุด คือฮีเลียม-2 นั้นเป็นสสารที่ไม่เสถียรและจะแยกตัวออกกลายไปเป็นคู่โปรตอนตามเดิม ในปี ค.ศ. 1939 ฮันส์ เบเทอได้เสนอว่า โปรตอนตัวหนึ่งอาจจะสลายตัวให้อนุภาคบีตากลายไปเป็นนิวตรอนผ่านอันตรกิริยาอย่างอ่อนระหว่างช่วงเวลาสั้นๆ ของการเกิดฟิวชั่น ทำให้ได้ดิวเทอเรียมขึ้นมาเป็นผลผลิตแรกในห่วงโซ่ปฏิกิริยา แนวคิดนี้เป็นส่วนหนึ่งที่ปรากฏอยู่ในทฤษฎีการสังเคราะห์นิวเคลียสของดาวฤกษ์ ซึ่งเป็นผลงานที่ทำให้เบเทอได้รับรางวัลโนเบลสาขาฟิสิกส์
ดูเพิ่ม
อ้างอิง
- Hans A. Bethe, Physical Review 55:103, 434 (1939); cited in Donald D. Clayton, Principles of Stellar Evolution and Nucleosynthesis, The University of Chicago Press, 1983, p. 366.
wikipedia, แบบไทย, วิกิพีเดีย, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด, บทความ, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม, มือถือ, โทรศัพท์, Android, iOS, Apple, โทรศัพท์โมบิล, Samsung, iPhone, Xiomi, Xiaomi, Redmi, Honor, Oppo, Nokia, Sonya, MI, PC, พีซี, web, เว็บ, คอมพิวเตอร์
hwngosoprtxn oprtxn proton proton chain khuxhnunginptikiriyaniwekhliyrfiwchnchnidhnungincanwnsxngrupaebb sungdawvksichinkaraeplngihodrecnipepnhieliym ptikiriyaxikchnidhnungkhuxwngcrsiexnox wngcrptikiriyakharbxn inotrecn xxksiecn sahrbhwngosoprtxn oprtxnnncaekidindawvksthimikhnadpramandwngxathityhruxelkkwa odypktiaelw fiwchnkhxngoprtxn oprtxn ekidkhunidktxemuxxunhphumi hruxphlngngancln khxngoprtxnnnsungmakcnsamarthexachnaaerngiffasthitrwmhrux Coulomb repulsion epnphuesnxthvsdiniemuxchwngkhristthswrrs 1920 wa ptikiriyahwngosoprtxn oprtxnepnhlkkarphunthansungdwngxathityaeladawvksxun ichinkarephaphlaytnexng inyukhnnechuxknwaxunhphumikhxngdwngxathitytaekinipthicafakaaephngkhulxmbid aethlngcakwiwthnakardanklsastrkhwxntm cungmikarkhnphbkhxngkhxngoprtxnsungthaihsamarthekidptikiriyafiwchnidthixunhphumithitakwathiekhykhadkarnkniwtamhlkkhxngfisiksdngedim xyangirkdi yngimepnthiekhaickndinkwa ptikiriyahwngosoprtxn oprtxn daeninipxyangir enuxngcakphlphlitcakptikiriyathiehnchdthisud khuxhieliym 2 nnepnssarthiimesthiyraelacaaeyktwxxkklayipepnkhuoprtxntamedim inpi kh s 1939 hns ebethxidesnxwa oprtxntwhnungxaccaslaytwihxnuphakhbitaklayipepnniwtrxnphanxntrkiriyaxyangxxnrahwangchwngewlasn khxngkarekidfiwchn thaihiddiwethxeriymkhunmaepnphlphlitaerkinhwngosptikiriya aenwkhidniepnswnhnungthipraktxyuinthvsdikarsngekhraahniwekhliyskhxngdawvks sungepnphlnganthithaihebethxidrbrangwloneblsakhafisiksduephimwngcrsiexnox krabwnkarthripepilxlfaxangxingHans A Bethe Physical Review 55 103 434 1939 cited in Donald D Clayton Principles of Stellar Evolution and Nucleosynthesis The University of Chicago Press 1983 p 366 bthkhwamfisiksniyngepnokhrng khunsamarthchwywikiphiediyidodykarephimetimkhxmuldk