สฟิงโกไมอีลิน (อังกฤษ: sphingomyelin) เป็นสฟิงโกลิพิดชนิดหนึ่งที่พบในเยื่อหุ้มเซลล์ของสัตว์ โดยเฉพาะเยื่อไมอีลินที่หุ้มรอบแอกซอนของเซลล์ประสาท ส่วนใหญ่ประกอบด้วย (phosphocholine) และ (ceramide) หรือหมู่ฟังก์ชัน (ethanolamine) ดังนั้นสฟิงโกไมอีลินจึงสามารถจัดอยู่ในกลุ่มสฟิงโกฟอสโฟลิพิด (sphingophospholipids) ในมนุษย์ สฟิงโกไมอีลินนับเป็นประมาณร้อยละ 85 ของสฟิงโกลิพิดในร่างกาย และคิดเป็น 10–20 ร้อยละโมลของลิพิดในเยื่อหุ้มเซลล์
สฟิงโกไมอีลินถูกแยกครั้งแรกโดยนักเคมีชาวเยอรมัน Johann L.W. Thudicum ในทศวรรษที่ 1880 โครงสร้างของสฟิงโกไมอีลินถูกรายงานครั้งแรกในปี ค.ศ. 1927 ในชื่อ เอ็น-เอซิล-สฟิงโกซีน-1-ฟอสฟอริลโคลีน (N-acyl-sphingosine-1-phosphorylcholine) ในสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนม สฟิงโกไมอีลินเป็นส่วนประกอบตั้งแต่ร้อยละ 2-15 ในเนื้อเยื่อส่วนใหญ่โดยพบมากในเนื้อเยื่อประสาท เม็ดเลือดแดง และในเลนส์ตา สฟิงโกไมอีลินมีบทบาทสำคัญในโครงสร้างและการทำงานของเซลล์ เป็นส่วนประกอบของเยื่อหุ้มเซลล์และมีส่วนในการถ่ายทอดสัญญาณ เมแทบอลิซึมของสฟิงโกไมอีลินทำให้เกิดผลิตภัณฑ์ที่มีส่วนสำคัญภายในเซลล์
โมเลกุลสฟิงโกไมอีลินประกอบด้วยฟอสโฟโคลีน (phosphocholine) หรือฟอสโฟเอทานอลามีน (phosphoethanolamine) เป็นหมู่ฟังก์ชันส่วนหัวที่มีขั้ว และจัดเป็นฟอสโฟลิพิดเช่นเดียวกับกลีเซรอฟอสโฟลิพิด (glycerophospholipid) สฟิงโกไมอีลินมีความคล้ายฟอลฟาทิดิลโคลีน (phosphatidylcholine) ในแง่คุณสมบัติทั่วไปและโครงสร้างสามมิติรวมถึงไม่มีขั้วสุทธิในหมู่ฟังก์ชันส่วนหัว เนื่องจากสฟิงโกไมอีลินพบในเยื่อหุ้มเซลล์ของเซลล์สัตว์โดยเฉพาะอย่างยิ่งในเยื่อไมอีลินที่หุ้มและเป็นฉนวนของแอกซอนในเซลล์ประสาท จึงมีชื่อว่า สฟิงโกไมอีลิน
ลักษณะทางกายภาพ
องค์ประกอบ
โครงสร้างของสฟิงโกไมอีลินประกอบด้วยหมู่ฟังก์ชันส่วนหัว (phosphocholine) สฟิงโกซีน (sphingosine) และกรดไขมัน มันเป็นหนึ่งในฟอสโฟลิพิดในเยื่อหุ้มส่วนน้อยที่ไม่ได้สังเคราะห์มาจากกลีเซอรอล สฟิงโกซีนและกรดไขมันสามารถเรียกรวมกันว่าเซราไมด์ (ceramide) องค์ประกอบดังกล่าวทำให้สฟิงโกไมอีลินมีบทบาทสำคัญในวิถีการส่งสัญญาณระดับเซลล์ กล่าวคือการย่อยสลายและสังเคราะห์สฟิงโกไมอีลินทำให้เกิดสารนำรหัสสำหรับการถ่ายโอนสัญญาณ
สฟิงโกไมอีลินพบในธรรมชาติเช่นในไข่ หรือสมองสัตว์ ซึ่งจะมีกรดไขมันที่มีความยาวหลากหลาย สฟิงโกไมอีลินที่มีความยาวจำเพาะเช่น ปาล์มิโตอิลสฟิงโกไมอีลิน (palmitoylsphingomyelin) ซึ่งมีกรดไขมันอิ่มตัว 16 หมู่เอซิลมีจำหน่ายเพื่อการค้า
คุณสมบัติ
ตามหลักการแล้วโมเลกุลสฟิงโกไมอีลินมีรูปร่างคล้ายทรงกระบอก แต่โมเลกุลสฟิงโกไมอีลินจำนวนมากที่สายไฮโดรโฟบิกไม่เข้าคู่กัน คือมีความยาวระหว่างสองสายที่แตกต่างกันมาก สายไฮโดรโฟบิกของสฟิงโกไมอีลินมีแนวโน้มที่จะอิ่มตัวมากกว่าฟอสโฟลิพิดชนิดอื่น อุณหภูมิในการเปลี่ยนสถานะหลักของสฟิงโกไมอีลินยังสูงกว่าเมื่อเทียบกับฟอสโฟลิพิดที่คล้ายกัน คือประมาณ 37 องศาเซลเซียส ซึ่งทำให้เกิดความแตกแบบกันในทางด้านข้างของเยื่อหุ้มและเกิดเป็นขอบเขตในเยื่อหุ้มชนิดสองชั้น
สฟิงโกไมอีลินมีปฏิกิริยาสำคัญกับคอเลสเตอรอล คอเลสเตอรอลมีคุณสมบัติในการหยุดการเปลี่ยนสถานะจากของเหลวเป็นของแข็งในฟอสโฟลิพิด เนื่องจากอุณหภูมิในการเปลี่ยนสถานะของสฟิงโกไมอีลินอยู่ในช่วงอุณหภูมิสรีรวิทยาของร่างกาย คอเลสเตอรอลจึงสามารถมีบทบาทสำคัญในสถานะของสฟิงโกไมอีลิน สฟิงโกไมอีลินยังมีแนวโน้มสร้างพันธะไฮโดรเจนกับโมเลกุลอื่นมากกว่าฟอสโฟลิพิดชนิดอื่น
ตำแหน่ง
สฟิงโกไมอีลินถูกสังเคราะห์ที่ร่างแหเอนโดพลาซึม (endoplasmic reticulum) และ ทรานส์-กอลจิคอมเพล็กซ์ พบมากในเยื่อหุ้มเซลล์โดยมีความเข้มข้นมากในเนื้อเยื่อชั้นนอกมากกว่าชั้นใน กอลจิคอมเพล็กซ์เป็นตัวกลางระหว่างร่างแหเอนโดพลาซึมและเยื่อหุ้มเซลล์ โดยมีความเข้มข้นของสฟิงโกไมอีลินมากกว่าบริเวณด้านทรานส์
เมแทบอลิซึม
การสังเคราะห์
การสังเคราะห์สฟิงโกไมอีลินเกี่ยวข้องกับการใช้เอนไซม์เปลี่ยนแปลงฟอสโฟโคลีน (phosphocholine) จาก (phosphatidylcholine) เป็นเซราไมด์ ขั้นตอนแรกในการสังเคราะห์สฟิงโกไมอีลินคือการควบแน่น แอล- (L-serine) และ (palmitoyl-CoA) โดยใช้เอนไซม์ (serine palmitoyltransferase) ผลผลิตจากปฏิกิริยารีดิวซ์ได้ไดไฮโดรสฟิงโกซีน (dihydrosphingosine) ไดไฮโดรสฟิงโกซีนผ่านกระบวนการ เอ็น-เอซิเลชัน (N-acylation) ตามด้วยปฏิกิริยาเติมพันธะคู่จนได้เซราไมด์ ปฏิกิริยาดังกล่าวเกิดขึ้นบนพื้นผิวด้านในเซลล์ของร่างแหเอนโดพลาซึม เซราไมด์จะถูกขนส่งไปยังกอลจิคอมเพล็กซ์เพื่อเปลี่ยนเป็นสฟิงโกไมอีลิน เอนไซม์สฟิงโกไมอีลินซินเทส (sphingomyelin synthase) มีบทบาทในการสร้างสฟิงโกไมอีลินจากเซราไมด์ ผลพลอยได้ที่เกิดจากการขนส่งฟอสโฟโคลีนคือไดเอซิลกลีเซอรอล (diacylglycerol)
การสลาย
การสลายสฟิงโกไมอีลินมีส่วนในการเริ่มวิถีการส่งสัญญาณระดับเซลล์มากมาย สฟิงโกไมอีลินถูกไฮโดรไลซิสโดยเอนไซม์สฟิงโกไมอีลิเนส (sphingomyelinases; sphingomyelin specific type-C phospholipases) หมู่ฟังก์ชันส่วนหัวฟอสโฟโคลีนถูกปล่อยเข้าไปในของเหลวในขณะที่เซราไมด์จะแพร่เข้าในเยื่อหุ้ม
ภาพอื่นๆ
- แบบจำลอง ball-and-stick ของสฟิงโกไมอีลิน
- สูตรโครงสร้างแบบเส้นของสฟิงโกไมอีลิน
-
-
อ้างอิง
- Donald J. Voet; Judith G. Voet; Charlotte W. Pratt (2008). "Lipids, Bilayers and Membranes". Principles of Biochemistry, Third edition. Wiley. p. 252. ISBN .
- Ramstedt B, Slotte JP. Membrane properties of sphingomyelins. FEBS Lett 2002 10/30;531 (1) :33-7
- "Archived copy". จากแหล่งเดิมเมื่อ 2014-03-29. สืบค้นเมื่อ 2013-07-16.
{{}}
: CS1 maint: archived copy as title () - Barenholz Y, Thompson TE. Sphingomyelin: Biophysical aspects. Chem Phys Lipids 1999 11;102 (1–2) :29-34.
- Massey JB. Interaction of ceramides with phosphatidylcholine, sphingomyelin and sphingomyelin/cholesterol bilayers. Biochimica et Biophysica Acta (BBA) - Biomembranes 2001 2/9;1510 (1–2) :167-84.
- Testi R. Sphingomyelin breakdown and cell fate" Trends Biochem Sci 1996 12;21 (12) 468-71.
- Bragger B, Sandhoff R, Wegehingel S, Gorgas K, Malsam J, Helms JB, Lehmann W, Nickel W, Wieland FT. Evidence for segregation of sphingomyelin and cholesterol during formation of COPI-coated vesicles. J Cell Biol 2000 10/30;151 (3) :507-17
- Tafesse FG, Ternes P, Holthuis JCM. The multigenic sphingomyelin synthase family. J Biol Chem 2006 10/06;281 (40) :29421-5.
แหล่งข้อมูลอื่น
- Sphingomyelins ใน สำหรับหัวข้อเนื้อหาทางการแพทย์ (MeSH)
wikipedia, แบบไทย, วิกิพีเดีย, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด, บทความ, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม, มือถือ, โทรศัพท์, Android, iOS, Apple, โทรศัพท์โมบิล, Samsung, iPhone, Xiomi, Xiaomi, Redmi, Honor, Oppo, Nokia, Sonya, MI, PC, พีซี, web, เว็บ, คอมพิวเตอร์
sfingokimxilin xngkvs sphingomyelin epnsfingokliphidchnidhnungthiphbineyuxhumesllkhxngstw odyechphaaeyuximxilinthihumrxbaexksxnkhxngesllprasath swnihyprakxbdwy phosphocholine aela ceramide hruxhmufngkchn ethanolamine dngnnsfingokimxilincungsamarthcdxyuinklumsfingokfxsofliphid sphingophospholipids inmnusy sfingokimxilinnbepnpramanrxyla 85 khxngsfingokliphidinrangkay aelakhidepn 10 20 rxylaomlkhxngliphidineyuxhumesllokhrngsrangthwipkhxngsfingokliphid sfingokimxilinthukaeykkhrngaerkodynkekhmichaweyxrmn Johann L W Thudicum inthswrrsthi 1880 okhrngsrangkhxngsfingokimxilinthukrayngankhrngaerkinpi kh s 1927 inchux exn exsil sfingoksin 1 fxsfxrilokhlin N acyl sphingosine 1 phosphorylcholine instweliynglukdwynm sfingokimxilinepnswnprakxbtngaetrxyla 2 15 inenuxeyuxswnihyodyphbmakinenuxeyuxprasath emdeluxdaedng aelainelnsta sfingokimxilinmibthbathsakhyinokhrngsrangaelakarthangankhxngesll epnswnprakxbkhxngeyuxhumesllaelamiswninkarthaythxdsyyan emaethbxlisumkhxngsfingokimxilinthaihekidphlitphnththimiswnsakhyphayinesll omelkulsfingokimxilinprakxbdwyfxsofokhlin phosphocholine hruxfxsofexthanxlamin phosphoethanolamine epnhmufngkchnswnhwthimikhw aelacdepnfxsofliphidechnediywkbkliesrxfxsofliphid glycerophospholipid sfingokimxilinmikhwamkhlayfxlfathidilokhlin phosphatidylcholine inaengkhunsmbtithwipaelaokhrngsrangsammitirwmthungimmikhwsuththiinhmufngkchnswnhw enuxngcaksfingokimxilinphbineyuxhumesllkhxngesllstwodyechphaaxyangyingineyuximxilinthihumaelaepnchnwnkhxngaexksxninesllprasath cungmichuxwa sfingokimxilinlksnathangkayphaphokhrngsrangkhxngsfingokimxilin da aedng naengin krdikhmnxngkhprakxb okhrngsrangkhxngsfingokimxilinprakxbdwyhmufngkchnswnhw phosphocholine sfingoksin sphingosine aelakrdikhmn mnepnhnunginfxsofliphidineyuxhumswnnxythiimidsngekhraahmacakkliesxrxl sfingoksinaelakrdikhmnsamartheriykrwmknwaesraimd ceramide xngkhprakxbdngklawthaihsfingokimxilinmibthbathsakhyinwithikarsngsyyanradbesll klawkhuxkaryxyslayaelasngekhraahsfingokimxilinthaihekidsarnarhssahrbkarthayoxnsyyan sfingokimxilinphbinthrrmchatiechninikh hruxsmxngstw sungcamikrdikhmnthimikhwamyawhlakhlay sfingokimxilinthimikhwamyawcaephaaechn palmiotxilsfingokimxilin palmitoylsphingomyelin sungmikrdikhmnximtw 16 hmuexsilmicahnayephuxkarkha khunsmbti tamhlkkaraelwomelkulsfingokimxilinmiruprangkhlaythrngkrabxk aetomelkulsfingokimxilincanwnmakthisayihodrofbikimekhakhukn khuxmikhwamyawrahwangsxngsaythiaetktangknmak sayihodrofbikkhxngsfingokimxilinmiaenwonmthicaximtwmakkwafxsofliphidchnidxun xunhphumiinkarepliynsthanahlkkhxngsfingokimxilinyngsungkwaemuxethiybkbfxsofliphidthikhlaykn khuxpraman 37 xngsaeslesiys sungthaihekidkhwamaetkaebbkninthangdankhangkhxngeyuxhumaelaekidepnkhxbekhtineyuxhumchnidsxngchn sfingokimxilinmiptikiriyasakhykbkhxelsetxrxl khxelsetxrxlmikhunsmbtiinkarhyudkarepliynsthanacakkhxngehlwepnkhxngaekhnginfxsofliphid enuxngcakxunhphumiinkarepliynsthanakhxngsfingokimxilinxyuinchwngxunhphumisrirwithyakhxngrangkay khxelsetxrxlcungsamarthmibthbathsakhyinsthanakhxngsfingokimxilin sfingokimxilinyngmiaenwonmsrangphnthaihodrecnkbomelkulxunmakkwafxsofliphidchnidxun taaehnng sfingokimxilinthuksngekhraahthirangaehexnodphlasum endoplasmic reticulum aela thrans kxlcikhxmephlks phbmakineyuxhumesllodymikhwamekhmkhnmakinenuxeyuxchnnxkmakkwachnin kxlcikhxmephlksepntwklangrahwangrangaehexnodphlasumaelaeyuxhumesll odymikhwamekhmkhnkhxngsfingokimxilinmakkwabriewndanthransemaethbxlisumkarsngekhraah karsngekhraahsfingokimxilinekiywkhxngkbkarichexnismepliynaeplngfxsofokhlin phosphocholine cak phosphatidylcholine epnesraimd khntxnaerkinkarsngekhraahsfingokimxilinkhuxkarkhwbaenn aexl L serine aela palmitoyl CoA odyichexnism serine palmitoyltransferase phlphlitcakptikiriyaridiwsididihodrsfingoksin dihydrosphingosine idihodrsfingoksinphankrabwnkar exn exsielchn N acylation tamdwyptikiriyaetimphnthakhucnidesraimd ptikiriyadngklawekidkhunbnphunphiwdaninesllkhxngrangaehexnodphlasum esraimdcathukkhnsngipyngkxlcikhxmephlksephuxepliynepnsfingokimxilin exnismsfingokimxilinsineths sphingomyelin synthase mibthbathinkarsrangsfingokimxilincakesraimd phlphlxyidthiekidcakkarkhnsngfxsofokhlinkhuxidexsilkliesxrxl diacylglycerol karslay karslaysfingokimxilinmiswninkarerimwithikarsngsyyanradbesllmakmay sfingokimxilinthukihodrilsisodyexnismsfingokimxiliens sphingomyelinases sphingomyelin specific type C phospholipases hmufngkchnswnhwfxsofokhlinthukplxyekhaipinkhxngehlwinkhnathiesraimdcaaephrekhaineyuxhumphaphxunaebbcalxng ball and stick khxngsfingokimxilin sutrokhrngsrangaebbesnkhxngsfingokimxilinxangxingDonald J Voet Judith G Voet Charlotte W Pratt 2008 Lipids Bilayers and Membranes Principles of Biochemistry Third edition Wiley p 252 ISBN 978 0470 23396 2 Ramstedt B Slotte JP Membrane properties of sphingomyelins FEBS Lett 2002 10 30 531 1 33 7 Archived copy cakaehlngedimemux 2014 03 29 subkhnemux 2013 07 16 a href wiki E0 B9 81 E0 B8 A1 E0 B9 88 E0 B9 81 E0 B8 9A E0 B8 9A Cite web title aemaebb Cite web cite web a CS1 maint archived copy as title lingk Barenholz Y Thompson TE Sphingomyelin Biophysical aspects Chem Phys Lipids 1999 11 102 1 2 29 34 Massey JB Interaction of ceramides with phosphatidylcholine sphingomyelin and sphingomyelin cholesterol bilayers Biochimica et Biophysica Acta BBA Biomembranes 2001 2 9 1510 1 2 167 84 Testi R Sphingomyelin breakdown and cell fate Trends Biochem Sci 1996 12 21 12 468 71 Bragger B Sandhoff R Wegehingel S Gorgas K Malsam J Helms JB Lehmann W Nickel W Wieland FT Evidence for segregation of sphingomyelin and cholesterol during formation of COPI coated vesicles J Cell Biol 2000 10 30 151 3 507 17 Tafesse FG Ternes P Holthuis JCM The multigenic sphingomyelin synthase family J Biol Chem 2006 10 06 281 40 29421 5 aehlngkhxmulxunSphingomyelins in sahrbhwkhxenuxhathangkaraephthy MeSH