บทความนี้ได้รับแจ้งให้ปรับปรุงหลายข้อ กรุณาช่วยปรับปรุงบทความ หรืออภิปรายปัญหาที่
|
ละคร หมายถึงการแสดงรำที่เป็นเรื่องเป็นราว ดำเนินเรื่องไปโดยลำดับ มีตัวเอกของเรื่อง ฝ่ายชายเรียกว่าตัวพระ เพราะสมัยโบราณแสดงแต่เรื่องจักร ๆ วงศ์ ๆ เป็นเรื่องของกษัตริย์ มีชื่อว่าพระต่าง ๆ เช่น พระอภัยมณี ฝ่ายหญิงเรียกว่า ตัวนาง เพราะในเรื่องที่แสดงมักชื่อว่านางต่าง ๆ เช่น นางสีดา นางบุษบา นางทิพย์เกสร ยังไม่มีการแบ่งเป็นนางสาวและนางที่มีสามีแล้ว และตัวประกอบอื่น ๆ แล้วแต่ในเรื่องจะมีละครมีหลายแบบ แต่ละละครมีการแสดงและความมุ่งหมายแตกต่างกัน เช่น ละครโนรา ละครนอก ละครใน ละครถาม และละครดึกดำบรรพ์
ในสมัยกรุงศรีอยุธยามีการจดบันทึกโดย ซิมง เดอ ลาลูแบร์ ราชทูตแห่งราชอาณาจักรฝรั่งเศส ใน ปี ค.ศ. 1687 ถึงการแสดงละครสยาม ในราชสำนักของอยุธยาไว้ดังนี้
- การแสดงประเภทที่เรียกว่า "ละคร" นั้นเป็นบทกวีที่ผสมผสานกัน ระหว่างมหากาพย์ และบทละครพูด ซึ่งแสดงกันยืดยาวไปสามวันเต็ม ๆ ตั้งแต่ ๘ โมงเช้า จนถึง ๑ ทุ่ม ละครเหล่านี้เป็น ประวัติศาสตร์ที่ร้อยเรียงเป็นบทกลอนที่เคร่งครึม และขับร้องโดยผู้แสดงหลายคนที่อยู่ในฉากพร้อม ๆ กัน และเพียงแต่ร้องโต้ตอบกันเท่านั้น โดยมีคนหนึ่งขับร้องในส่วนเนื้อเรื่อง ส่วนที่เหลือจะกล่าวบทพูด แต่ทั้งหมดที่ขับร้องล้วนเป็นผู้ชาย ไม่มีผู้หญิงเลย ... ส่วน "ระบำ" นั้นเป็นการรำคู่ของหญิงชาย ซึ่งแสดงออกอย่างอาจหาญ ... นักเต้นทั้งหญิงและชายจะสวมเล็บปลอมซึ่งยาวมาก และทำจากทองแดง นักแสดงจะขับร้องไปด้วยรำไปด้วย พวกเขาสามารถรำได้โดยไม่เข้าพัวพันกัน เพราะลักษณะการเต้นเป็นการเดินไปรอบ ๆ อย่างช้า ๆ โดยไม่มีการเคลื่อนไหวที่รวดเร็ว แต่เต็มไปด้วยการบิดและดัดลำตัว และท่อนแขน
ในส่วนที่เกี่ยวกับการแต่งกายของนักแสดงละครนั้น ลา ลูแบร์ ได้บันทึกไว้ว่า:
"นักเต้นใน "ระบำ" และ "โขน" จะสวมชฎาปลายแหลมทำด้วยกระดาษมีลวดลายสีทอง ซึ่งดูคล้าย ๆ หมวกของพวกข้าราชการสยามที่ใส่ในงานพิธี แต่จะหุ้มตลอดศีรษะด้านข้างไปจนถึงใต้หู และตกแต่งด้วยหินอัญมณีเลียนแบบ และมีห้อยพู่สองข้างเป็นไม้ทาสีทอง
ศัพทมูลวิทยา
คำ ละคร เป็นคำภาษาไทยซึ่งเป็นคำยืมมาจากคำภาษาชวาว่า Lakon (ชวา: ꦭꦏꦺꦴꦤ꧀, อักษรโรมัน: lakon) แผลงมาจากคำว่า Laku และยืมมาจากคำภาษามลายู ว่า Lakan เป็นคำกริยาแปลว่า แสดง เล่นบทละคร วิ่ง
ละครโนรา
ละครโนราเป็นละครที่เก่าแก่ที่สุด เป็นละครของชาวภาคใต้ ในสมัยโบราณผู้แสดงมีเพียง 3 คน เป็นผู้ชายล้วน แต่งตัวงามพิเศษอยู่แต่ตัวเอกซึ่งเป็นตัวพระ เรียกว่า ตัวยืนเครื่องเพียงคนเดียว ตัวนางก็ใช้ผ้าขาวม้าห่มโดยวิธีต่าง ๆ เช่น สไบเฉียง คาดอก และตะเบ็งมาน ตามฐานะ อีกคนหนึ่งเป็นตัวตลก ต้องแสดงเป็นตัวประกอบทุก ๆ อย่าง เป็นฤษี เป็นพราน เป็นม้า เป็นสัตว์ต่าง ๆ ตามเรื่อง ทุกคนไม่สวมเสื้อ แม้ตัวยืนเครื่องก็แต่งอาภรณ์กับตัวเปล่า เป็นละครที่มุ่งหมายตลกขบขัน และการดำเนินเรื่องรวดเร็ว ในสมัยปัจจุบันมีผู้หญิงแสดงร่วมด้วยและจำนวนผู้แสดงก็เพิ่มขึ้นไม่จำกัด การแต่งกาย มีการสวมเสื้อ ซึ่งประดับประดาด้วยลูกปัดเป็นอันมาก เครื่องดนตรีมี ปี่ใน (ภาคใต้เรียกปี่ต้น) กลองขนาดย่อมลูกเดียว โทน (ภาคใต้เรียกทับ) 2 ลูก ฆ้องคู่ (ภาคใต้เรียกโหม่ง) ฉิ่ง และกรับ (ภาคใต้เรียกแกระ) โรงสมัยโบราณปลูกอย่างง่าย ๆ มีเสา 4 ต้น เป็นมุม 4 มุม กับเสากลางสำหรับผูกซองใส่เครื่องอุปกรณ์การแสดง เช่น ธง อาวุธต่าง ๆ เรียกว่า ซองคลี สมัยปัจจุบันมีตัวละครมากขึ้นต้องใช้โรงละครอย่างโรงละครนอก การแสดงเริ่มต้นด้วยไหว้ครู แล้วรำซัด แล้วจึงจับเรื่อง ผู้แสดงร้องเองบ้าง มีต้นเสียงร้องให้บ้าง นักดนตรีก็ร้องเป็นลูกคู่ด้วย ละครแบบนี้ชาวภาคกลางเรียกว่า ละครชาตรี การที่เรียกว่าโนราก็เพราะตามประวัติว่าครั้งแรกแสดงแต่เรื่องนางมโนห์รา จึงเรียกว่ามโนห์รา แต่สำเนียงพูดของชาวภาคใต้นั้นคำที่เป็นลหุอยู่ข้างหน้าจะตัดทิ้งไม่ต้องพูด เช่น ไปเล (ไปทะเล) ไปหลาด (ไปตลาด) มโนห์รา จึงเรียกเป็นโนรา
ละครนอก
ละครนอกเป็นละครของภาคกลาง นัยว่าวิวัฒนาการมาจากมโนราห์ เพราะมีความมุ่งหมายเช่นเดียวกันคือ ดำเนินเรื่องรวดเร็ว และตลกขบขัน สมัยโบราณผู้แสดงผู้ชายล้วน เพิ่งมีผู้หญิงแสดงในปลายสมัยรัชกาลที่ 4 เมื่อโปรดเกล้าฯ ให้ยกเลิกการห้ามมิให้บุคคลทั่วไปมีละครผู้หญิง ในตอนหลังผู้แสดงเป็นผู้หญิงโดยมาก ผู้ชายเกือบจะไม่มี ตัวละคร มีครบทุกตัวตามเนื้อเรื่อง ไม่จำกัดจำนวน ดนตรี ใช้วง จะเป็นเครื่องห้า เครื่องคู่ หรือเครื่องใหญ่ ได้ทั้งนั้น โรงละคร มีฉากเป็นผ้าม่าน มีประตูเข้าออก 2 ประตู หลังฉากเป็นที่แต่งตัว และสำหรับให้ตัวละครพัก หน้าฉากเป็นที่แสดงตั้งเตียงตรงกลางหน้าฉาก การแต่งกาย เลียนแบบเครื่องต้นของกษัตริย์ ตัวพระสวมชฎา ตัวนางสวมเครื่องประดับศีรษะตามฐานะ เช่น มงกุฎกษัตรี รัดเกล้ายอด รัดเกล้าเปลว และกระบังหน้า เสื้อผ้าปักดิ้นเลื่อมแพรวพราว การแสดง มีคนบอกบท มีต้นเสียงและลูกคู่สำหรับร้อง บางตัวละครอาจร้องเอง การรำเป็นแบบแคล่วคล่องว่องไวพริ้งเพรา จังหวะของการร้องและการบรรเลงดนตรีค่อนข้างเร็ว เวลาเล่นตลกมักเล่นนาน ๆ ไม่คำนึงถึงการดำเนินเรื่อง และไม่ถือขนบธรรมเนียมประเพณี เช่น ตัวกษัตริย์หรือมเหสีจะเล่นตลกกับเสนาก็ได้ เริ่มต้นแสดงก็จับเรื่องที่เดียว ไม่มีการไหว้ครู เรื่องที่ละครนอกแสดงได้สนุกสนานเป็นที่นิยมแพร่หลาย บทที่สามัญชนแต่งได้แก่ เรื่องแก้วหน้าม้า ลักษณวงศ์ และจันทโครพ บทที่เป็นพระราชนิพนธ์ในรัชกาลที่ 2 ได้แก่ เรื่องสังข์ทอง สังข์ศิลป์ชัย ไชยเชษฐ์ คาวี ไกรทอง
- ละครนอกเรื่อง แก้วหน้าม้า
-
-
-
ละครใน
ละครในเป็นละครที่เกิดขึ้นในพระราชฐานจึงเป็นละครที่มีระเบียบแบบแผน สุภาพ ละครในมีความมุ่งหมายสำคัญอยู่ 3 ประการ คือ รักษาศิลปะของการรำอันสวยงาม รักษาขนบธรรมเนียมประเพณีเคร่งครัด รักษาความสุภาพทั้งบทร้องและเจรจา เพราะฉะนั้น เพลงร้อง เพลงดนตรี จึงต้องดำเนินจังหวะค่อนข้างช้า เพื่อให้รำได้อ่อนช้อยสวยงาม ดนตรี ใช้วงปี่พาทย์ จะเป็นวงปี่พาทย์เครื่องห้า วงปี่พาทย์เครื่องคู่หรือ วงปี่พาทย์เครื่องใหญ่ ก็ได้โรงมีลักษณะเดียวกับโรงละครนอก แต่มักเรียบร้อยสวยงามกว่าละครนอก เพราะใช้วัสดุที่มีค่ากว่า เนื่องจากมักจะเป็นละครของเจ้านาย หรือผู้ดีมีฐานะ เครื่องแต่งกาย แบบเดียวกับละครนอก แต่ถ้าแสดงเรื่องอิเหนา ตัวพระบางตัวจะสวมศีรษะด้วยปันจุเหร็จในบางตอน (ปันจุเหร็จในสมัยปัจจุบัน มักนำไปใช้ในการแสดงเรื่องอื่น ๆ ด้วย) การแสดง มีคนบอกบท ต้นเสียง ลูกคู่ การร่ายรำสวยงามตามแบบแผน เนื่องจากรักษาขนบประเพณีเคร่งครัด การเล่นตลกจึงเกือบจะไม่มีเลย บทที่แต่งใช้ถ้อยคำสุภาพ คำตลาดจะมีบ้างก็ในตอนที่กล่าวถึงพลเมือง ผู้แสดงเป็นผู้หญิงล้วน ตัวประกอบอาจเป็นผู้ชายบ้าง เรื่องที่ใช้แสดงละครใน แต่โบราณมีเพียง 3 เรื่อง คือ เรื่องรามเกียรติ์ อิเหนา และอุณรุท โอกาสที่ใช้แสดง ในงานรื่นเริง
ละครพันทาง
ละครพันทางเป็นละครแบบผสม ซึ่งพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าวรวรรณากร กรมพระนราธิปประพันธ์พงศ์รัชกาลที่4ทรงปรับปรุงการแสดงขึ้น มีลักษณะดังต่อไปนี้ ละครพันทางเป็นละครที่แสดงบนเวทีเปลี่ยนฉากตามเนื้อเรื่อง เรื่องตอนนั้นเป็นสถานที่ใด สวน ท้องพระโรง ห้องนอน หรือที่ใด ก็เขียนและจัดให้เป็นสถานที่นั้น
ท่ารำเป็นแบบผสม ละครแบบนี้มักจะแสดงเป็นเรื่องของต่างภาษา เช่น พม่า ลาว จีน ท่ารำก็เป็นท่ารำของชาตินั้น ๆ ผสมกับท่ารำของไทย เพลงร้อง เพลงดนตรีก็ผสมตามภาษานั้นๆอาจเป็นเพลงภาษานั้นแท้ๆ หรือที่ไทยแต่งให้เป็นสำเนียงภาษานั้น ๆ และอาจมีเพลงไทยแท้ ๆ ผสมด้วยก็ได้ เครื่องแต่งตัว เป็นไปตามภาของเรื่องที่แสดงนั้น เช่น พม่าก็แต่งเป็นพม่า ลาวก็แต่งเป็นลาว และจีนก็แต่งเป็นจีนดนตรี ใช้วงปี่พาทย์ไม้นวม
การแสดง มีทั้งต้นเสียง ลูกคู่ เป็นผู้ร้อง บางตอนตัวละครก็ร้องเอง การรำก็ผสมดังกล่าวแล้ว แต่ถ้าเรื่องแสดงเป็นไทยล้วน ไม่มีภาษาอื่นเลย ก็ใช้ท่ารำไทยผสมกับท่ารำสามัญชน คือท่ารำของคนเรานี้ผสมกับท่ารำ เมื่อแสดงจบเนื้อเรื่องของฉากหนึ่งแล้ว ก็ปิดม่าน แล้วเปิดม่านแสดงฉากต่อไปทีละฉากจนจบเรื่องผู้แสดง มิได้กำหนดว่าจะเป็นผู้ชายหรือผู้หญิง แล้วแต่สะดวก
เรื่องที่แสดง มักนิยมแสดงเรืองต่างภาษา เช่นเรื่องราชาธิราช และสามก๊ก เรื่องที่เป็นไทยก็มีจำพวกเรื่องพระราชพงศาวดารบางตอน เช่น วีรสตรีถลาง คุณหญิงโม
ละครดึกดำบรรพ์
ละครดึกดำบรรพ์เป็นละครที่นำแบบโอเปร่ามาใช้ สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้ากรมพระยานริศรานุวัติวงศ์ เป็นผู้ทรงปรับปรุงขึ้น เพื่อให้คณะละครของ (ม.ร.ว.หลาน กุญชร) แสดง ละครดึกดำบรรพ์ มีลักษณะดังต่อไปนี้
การแสดงแสดงบนเวที เปลี่ยนฉากตามเนื้อเรื่องเช่นเดียวกับละครพันทาง
ท่ารำ ใช้ท่ารำตามแบบแผน แต่ตัดทอนเพิ่มเติมและดัดแปลงให้พอเหมาะกับเพลงร้องและเพลงดนตรี
เพลงร้องและเพลงดนตรี ใช้เพลงไทยของเก่า แต่แก้ไขเปลี่ยนแปลงบางเพลงให้สั้นยาวพอเหมาะกับการแสดง กับมีเพลงที่พลิกแพลงให้แปลกและไพเราะยิ่งขึ้น รวมทั้งมีการแต่งเพิ่มเติมขึ้นใหม่อีกด้วย
การแสดง ผู้แสดงเป็นผู้ร้องในบทของตนเอง เพราะบทร้องเป็นบทคำพูดของตัวละครไม่มีบทบอกชื่อ บอกกิริยา หรือบอกอารมณ์ของตัวละคร รวมความว่าตัวละครทุกตัวพูดเป็นเพลง
ดนตรี เป็นวงปี่พาทย์ที่ปรับปรุงขึ้นเป็นพิเศษ มีแต่เครื่องดนตรีที่เสียงทุ้มนุ่มนวล ไม่มีพวกเสียงดังเสียงสูง เสียงเล็กแหลมเลย คือไม่มีกลองทัด ปี่ใน ฆ้องวงเล็ก และระนาดเอกเหล็ก ส่วนระนาดเอกก็ตีด้วยไม้นวม เพื่อให้เสียงนุ่มนวลไม่แกร่งกร้าว มีสิ่งแปลกกว่าวงปี่พาทย์อื่น ๆ ก็คือ กลองตะโพน ซึ่งใช้ตะโพน 2 ลูก เอาเท้าที่ตั้งออกให้เหลือแต่ตัวตะโพน แล้วตั้งหน้าด้านใหญ่ขึ้น ติดข้าวสุกให้เสียงต่ำตีแทนกลองทัด (หรือฆ้องหุ่ย) มี 7 ลูก เทียบเสียงเรียงลำดับกันเป็น 7 เสียง ตีห่างๆ อนุโลมอย่างเบสส์ของฝรั่ง
เรื่องที่แสดงเป็นเรื่องที่สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้ากรมพระยานริศรานุวัติวงศ์ ทรงพระนิพนธ์ปรับปรุงจากบทละคร โดยมาก เช่น คาวี สังข์ทอง สังข์ศิลป์ชัย และอิเหนา ที่เป็นพระราชนิพนธ์ในรัชกาลที่ 6 ได้แก่ และท้าวแสนปม และพระนิพนธ์ของพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้ากรมขุนเพชรบูรณอินทราชัย ได้แก่เรื่อง และ รวมไปถึงบทละครดึกดำบรรพ์ เรื่องสิทธิธนู ซึ่งมหาเสวกโท พระยาศรีภูริปรีชา (กมล สาลักษณ) ได้แต่งขึ้นเพื่อมอบให้แด่ (ม.ร.ว.หลาน กุญชร) สำหรับนำไปใช้ในการแสดงด้วยเช่นกัน
ดูเพิ่ม
งานศึกษาที่เกี่ยวข้อง
- อาทิตย์ เจียมรัตตัญญู. (2558, ม.ค.-มิ.ย.). นาฏกรรมแห่งอำนาจ: ละครผู้หญิงของหลวงกับการเมืองวัฒนธรรมในราชสำนักสยาม. ชุมทางอินโดจีน: เอเชียตะวันออกเฉียงใต้ปริทัศน์ 4(6): 33-91.
อ้างอิง
- Rubin D., Pong C. S., Chaturvedi R., Majumdar R., Tanokura M. and Brisname K. (2001). The World Encyclopedia of Contemporary Theatre: Asia/Pacific. New York: Routledge. p. 438. ISBN
- วิมลศรี อุปรมัย. (2526). "ประเภทของละครโดยสังเขปและหัวข้อละครที่ควรศึกษา", นาฏกรรมและการละคร: หลักการบริหารและการจัดการ. (พิมพ์ครั้งที่ 2). กรุงเทพฯ: หนอนการพิมพ์. หน้า 126.
wikipedia, แบบไทย, วิกิพีเดีย, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด, บทความ, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม, มือถือ, โทรศัพท์, Android, iOS, Apple, โทรศัพท์โมบิล, Samsung, iPhone, Xiomi, Xiaomi, Redmi, Honor, Oppo, Nokia, Sonya, MI, PC, พีซี, web, เว็บ, คอมพิวเตอร์
bthkhwamniidrbaecngihprbprunghlaykhx krunachwyprbprungbthkhwam hruxxphipraypyhathihnaxphipray bthkhwamnimimummxngimepnklang ephraanaesnxmummxngephiyngdanediyw bthkhwamnitxngkarcdrupaebbkhxkhwam karcdhna karaebnghwkhx karcdlingkphayin aelaxun bthkhwamniyngkhadaehlngxangxingephuxphisucnkhwamthuktxng lakhr hmaythungkaraesdngrathiepneruxngepnraw daenineruxngipodyladb mitwexkkhxngeruxng faychayeriykwatwphra ephraasmyobranaesdngaeteruxngckr wngs epneruxngkhxngkstriy michuxwaphratang echn phraxphymni fayhyingeriykwa twnang ephraaineruxngthiaesdngmkchuxwanangtang echn nangsida nangbusba nangthiphyeksr yngimmikaraebngepnnangsawaelanangthimisamiaelw aelatwprakxbxun aelwaetineruxngcamilakhrmihlayaebb aetlalakhrmikaraesdngaelakhwammunghmayaetktangkn echn lakhronra lakhrnxk lakhrin lakhrtham aelalakhrdukdabrrphlakhr insmykrungsrixyuthyamikarcdbnthukody simng edx laluaebr rachthutaehngrachxanackrfrngess in pi kh s 1687 thungkaraesdnglakhrsyam inrachsankkhxngxyuthyaiwdngni karaesdngpraephththieriykwa lakhr nnepnbthkwithiphsmphsankn rahwangmhakaphy aelabthlakhrphud sungaesdngknyudyawipsamwnetm tngaet 8 omngecha cnthung 1 thum lakhrehlaniepn prawtisastrthirxyeriyngepnbthklxnthiekhrngkhrum aelakhbrxngodyphuaesdnghlaykhnthixyuinchakphrxm kn aelaephiyngaetrxngottxbknethann odymikhnhnungkhbrxnginswnenuxeruxng swnthiehluxcaklawbthphud aetthnghmdthikhbrxnglwnepnphuchay immiphuhyingely swn raba nnepnkarrakhukhxnghyingchay sungaesdngxxkxyangxachay nketnthnghyingaelachaycaswmelbplxmsungyawmak aelathacakthxngaedng nkaesdngcakhbrxngipdwyraipdwy phwkekhasamarthraidodyimekhaphwphnkn ephraalksnakaretnepnkarediniprxb xyangcha odyimmikarekhluxnihwthirwderw aetetmipdwykarbidaeladdlatw aelathxnaekhn inswnthiekiywkbkaraetngkaykhxngnkaesdnglakhrnn la luaebr idbnthukiwwa nketnin raba aela okhn caswmchdaplayaehlmthadwykradasmilwdlaysithxng sungdukhlay hmwkkhxngphwkkharachkarsyamthiisinnganphithi aetcahumtlxdsirsadankhangipcnthungithu aelatkaetngdwyhinxymnieliynaebb aelamihxyphusxngkhangepnimthasithxngsphthmulwithyakha lakhr epnkhaphasaithysungepnkhayummacakkhaphasachwawa Lakon chwa ꦭꦏ ꦤ xksrormn lakon aephlngmacakkhawa Laku aelayummacakkhaphasamlayu wa Lakan epnkhakriyaaeplwa aesdng elnbthlakhr winglakhronrankaesdngonra insmyrchkalthi 6 lakhronraepnlakhrthiekaaekthisud epnlakhrkhxngchawphakhit insmyobranphuaesdngmiephiyng 3 khn epnphuchaylwn aetngtwngamphiessxyuaettwexksungepntwphra eriykwa twyunekhruxngephiyngkhnediyw twnangkichphakhawmahmodywithitang echn sibechiyng khadxk aelataebngman tamthana xikkhnhnungepntwtlk txngaesdngepntwprakxbthuk xyang epnvsi epnphran epnma epnstwtang tameruxng thukkhnimswmesux aemtwyunekhruxngkaetngxaphrnkbtwepla epnlakhrthimunghmaytlkkhbkhn aelakardaenineruxngrwderw insmypccubnmiphuhyingaesdngrwmdwyaelacanwnphuaesdngkephimkhunimcakd karaetngkay mikarswmesux sungpradbpradadwylukpdepnxnmak ekhruxngdntrimi piin phakhiteriykpitn klxngkhnadyxmlukediyw othn phakhiteriykthb 2 luk khxngkhu phakhiteriykohmng ching aelakrb phakhiteriykaekra orngsmyobranplukxyangngay miesa 4 tn epnmum 4 mum kbesaklangsahrbphuksxngisekhruxngxupkrnkaraesdng echn thng xawuthtang eriykwa sxngkhli smypccubnmitwlakhrmakkhuntxngichornglakhrxyangornglakhrnxk karaesdngerimtndwyihwkhru aelwrasd aelwcungcberuxng phuaesdngrxngexngbang mitnesiyngrxngihbang nkdntrikrxngepnlukkhudwy lakhraebbnichawphakhklangeriykwa lakhrchatri karthieriykwaonrakephraatamprawtiwakhrngaerkaesdngaeteruxngnangmonhra cungeriykwamonhra aetsaeniyngphudkhxngchawphakhitnnkhathiepnlhuxyukhanghnacatdthingimtxngphud echn ipel ipthael iphlad iptlad monhra cungeriykepnonralakhrnxklakhrnxkepnlakhrkhxngphakhklang nywawiwthnakarmacakmonrah ephraamikhwammunghmayechnediywknkhux daenineruxngrwderw aelatlkkhbkhn smyobranphuaesdngphuchaylwn ephingmiphuhyingaesdnginplaysmyrchkalthi 4 emuxoprdekla ihykelikkarhammiihbukhkhlthwipmilakhrphuhying intxnhlngphuaesdngepnphuhyingodymak phuchayekuxbcaimmi twlakhr mikhrbthuktwtamenuxeruxng imcakdcanwn dntri ichwng caepnekhruxngha ekhruxngkhu hruxekhruxngihy idthngnn ornglakhr michakepnphaman mipratuekhaxxk 2 pratu hlngchakepnthiaetngtw aelasahrbihtwlakhrphk hnachakepnthiaesdngtngetiyngtrngklanghnachak karaetngkay eliynaebbekhruxngtnkhxngkstriy twphraswmchda twnangswmekhruxngpradbsirsatamthana echn mngkudkstri rdeklayxd rdeklaeplw aelakrabnghna esuxphapkdineluxmaephrwphraw karaesdng mikhnbxkbth mitnesiyngaelalukkhusahrbrxng bangtwlakhrxacrxngexng karraepnaebbaekhlwkhlxngwxngiwphringephra cnghwakhxngkarrxngaelakarbrrelngdntrikhxnkhangerw ewlaelntlkmkelnnan imkhanungthungkardaenineruxng aelaimthuxkhnbthrrmeniympraephni echn twkstriyhruxmehsicaelntlkkbesnakid erimtnaesdngkcberuxngthiediyw immikarihwkhru eruxngthilakhrnxkaesdngidsnuksnanepnthiniymaephrhlay bththisamychnaetngidaek eruxngaekwhnama lksnwngs aelacnthokhrph bththiepnphrarachniphnthinrchkalthi 2 idaek eruxngsngkhthxng sngkhsilpchy ichyechsth khawi ikrthxng lakhrnxkeruxng aekwhnamalakhrinlakhrinepnlakhrthiekidkhuninphrarachthancungepnlakhrthimiraebiybaebbaephn suphaph lakhrinmikhwammunghmaysakhyxyu 3 prakar khux rksasilpakhxngkarraxnswyngam rksakhnbthrrmeniympraephniekhrngkhrd rksakhwamsuphaphthngbthrxngaelaecrca ephraachann ephlngrxng ephlngdntri cungtxngdaenincnghwakhxnkhangcha ephuxihraidxxnchxyswyngam dntri ichwngpiphathy caepnwngpiphathyekhruxngha wngpiphathyekhruxngkhuhrux wngpiphathyekhruxngihy kidorngmilksnaediywkbornglakhrnxk aetmkeriybrxyswyngamkwalakhrnxk ephraaichwsduthimikhakwa enuxngcakmkcaepnlakhrkhxngecanay hruxphudimithana ekhruxngaetngkay aebbediywkblakhrnxk aetthaaesdngeruxngxiehna twphrabangtwcaswmsirsadwypncuehrcinbangtxn pncuehrcinsmypccubn mknaipichinkaraesdngeruxngxun dwy karaesdng mikhnbxkbth tnesiyng lukkhu karrayraswyngamtamaebbaephn enuxngcakrksakhnbpraephniekhrngkhrd karelntlkcungekuxbcaimmiely bththiaetngichthxykhasuphaph khatladcamibangkintxnthiklawthungphlemuxng phuaesdngepnphuhyinglwn twprakxbxacepnphuchaybang eruxngthiichaesdnglakhrin aetobranmiephiyng 3 eruxng khux eruxngramekiyrti xiehna aelaxunruth oxkasthiichaesdng innganruneringlakhrphnthanglakhrphnthangepnlakhraebbphsm sungphraecabrmwngsethx phraxngkhecawrwrrnakr krmphranrathippraphnthphngsrchkalthi4thrngprbprungkaraesdngkhun milksnadngtxipni lakhrphnthangepnlakhrthiaesdngbnewthiepliynchaktamenuxeruxng eruxngtxnnnepnsthanthiid swn thxngphraorng hxngnxn hruxthiid kekhiynaelacdihepnsthanthinn tharaepnaebbphsm lakhraebbnimkcaaesdngepneruxngkhxngtangphasa echn phma law cin tharakepntharakhxngchatinn phsmkbtharakhxngithy ephlngrxng ephlngdntrikphsmtamphasannxacepnephlngphasannaeth hruxthiithyaetngihepnsaeniyngphasann aelaxacmiephlngithyaeth phsmdwykid ekhruxngaetngtw epniptamphakhxngeruxngthiaesdngnn echn phmakaetngepnphma lawkaetngepnlaw aelacinkaetngepncindntri ichwngpiphathyimnwm karaesdng mithngtnesiyng lukkhu epnphurxng bangtxntwlakhrkrxngexng karrakphsmdngklawaelw aetthaeruxngaesdngepnithylwn immiphasaxunely kichtharaithyphsmkbtharasamychn khuxtharakhxngkhneraniphsmkbthara emuxaesdngcbenuxeruxngkhxngchakhnungaelw kpidman aelwepidmanaesdngchaktxipthilachakcncberuxngphuaesdng miidkahndwacaepnphuchayhruxphuhying aelwaetsadwk eruxngthiaesdng mkniymaesdngeruxngtangphasa echneruxngrachathirach aelasamkk eruxngthiepnithykmicaphwkeruxngphrarachphngsawdarbangtxn echn wirstrithlang khunhyingomlakhrdukdabrrphlakhrdukdabrrphepnlakhrthinaaebboxepramaich smedcphraecabrmwngsethx ecafakrmphrayanrisranuwtiwngs epnphuthrngprbprungkhun ephuxihkhnalakhrkhxng m r w hlan kuychr aesdng lakhrdukdabrrph milksnadngtxipni karaesdngaesdngbnewthi epliynchaktamenuxeruxngechnediywkblakhrphnthang thara ichtharatamaebbaephn aettdthxnephimetimaeladdaeplngihphxehmaakbephlngrxngaelaephlngdntri ephlngrxngaelaephlngdntri ichephlngithykhxngeka aetaekikhepliynaeplngbangephlngihsnyawphxehmaakbkaraesdng kbmiephlngthiphlikaephlngihaeplkaelaipheraayingkhun rwmthngmikaraetngephimetimkhunihmxikdwy karaesdng phuaesdngepnphurxnginbthkhxngtnexng ephraabthrxngepnbthkhaphudkhxngtwlakhrimmibthbxkchux bxkkiriya hruxbxkxarmnkhxngtwlakhr rwmkhwamwatwlakhrthuktwphudepnephlng dntri epnwngpiphathythiprbprungkhunepnphiess miaetekhruxngdntrithiesiyngthumnumnwl immiphwkesiyngdngesiyngsung esiyngelkaehlmely khuximmiklxngthd piin khxngwngelk aelaranadexkehlk swnranadexkktidwyimnwm ephuxihesiyngnumnwlimaekrngkraw misingaeplkkwawngpiphathyxun kkhux klxngtaophn sungichtaophn 2 luk exaethathitngxxkihehluxaettwtaophn aelwtnghnadanihykhun tidkhawsukihesiyngtatiaethnklxngthd hruxkhxnghuy mi 7 luk ethiybesiyngeriyngladbknepn 7 esiyng tihang xnuolmxyangebsskhxngfrng eruxngthiaesdngepneruxngthismedcphraecabrmwngsethx ecafakrmphrayanrisranuwtiwngs thrngphraniphnthprbprungcakbthlakhr odymak echn khawi sngkhthxng sngkhsilpchy aelaxiehna thiepnphrarachniphnthinrchkalthi 6 idaek aelathawaesnpm aelaphraniphnthkhxngphraecabrmwngsethx ecafakrmkhunephchrburnxinthrachy idaekeruxng aela rwmipthungbthlakhrdukdabrrph eruxngsiththithnu sungmhaeswkoth phrayasriphuripricha kml salksn idaetngkhunephuxmxbihaed m r w hlan kuychr sahrbnaipichinkaraesdngdwyechnknduephimlakhrothrthsn lakhrewthingansuksathiekiywkhxngxathity eciymrttyyu 2558 m kh mi y natkrrmaehngxanac lakhrphuhyingkhxnghlwngkbkaremuxngwthnthrrminrachsanksyam chumthangxinodcin exechiytawnxxkechiyngitprithsn 4 6 33 91 xangxingRubin D Pong C S Chaturvedi R Majumdar R Tanokura M and Brisname K 2001 The World Encyclopedia of Contemporary Theatre Asia Pacific New York Routledge p 438 ISBN 0 415 26087 6 wimlsri xuprmy 2526 praephthkhxnglakhrodysngekhpaelahwkhxlakhrthikhwrsuksa natkrrmaelakarlakhr hlkkarbriharaelakarcdkar phimphkhrngthi 2 krungethph hnxnkarphimph hna 126 bthkhwamwthnthrrmniyngepnokhrng khunsamarthchwywikiphiediyidodykarephimetimkhxmuldkhk