มหานวดาราประเภท 1เอ เป็นประเภทย่อยของซากดาวแปรแสงประเภทหนึ่งที่เกิดจากการระเบิดอย่างรุนแรงของดาวแคระขาว ดาวแคระขาวนี้เป็นซากดาวฤกษ์ซึ่งสิ้นสุดอายุขัยแล้ว และไม่สามารถสร้างปฏิกิริยานิวเคลียร์ฟิวชั่นได้อีกต่อไป อย่างไรก็ดี ดาวแคระขาวที่ยังมีคาร์บอน-ออกซิเจนอยู่อาจสามารถทำปฏิกิริยาฟิวชั่นต่อไปได้อีก ซึ่งจะปลดปล่อยพลังงานมหาศาลออกมาหากอุณหภูมิของมันสูงมากพอ
ในทางกายภาพแล้ว ดาวแคระขาวที่มีการอัตราหมุนรอบตัวเองต่ำ จะมีมวลจำกัดที่ต่ำกว่าขีดจำกัดจันทรเศขร คือ ประมาณ 1.38 เท่าของมวลดวงอาทิตย์ นี่คือขีดจำกัดมวลมากที่สุดซึ่งความดันสถานะเสื่อมของอิเล็กตรอนยังสามารถรองรับได้ หากพ้นจากขีดจำกัดมวลนี้ ดาวแคระขาวจะเริ่มยุบตัว ถ้าดาวแคระขาวเริ่มสะสมมวลจากดาวคู่ของมัน เชื่อกันว่าแกนกลางจะมีอุณหภูมิสูงจนสามารถเริ่มกระบวนการเผาไหม้คาร์บอนได้เมื่อถึงขีดจำกัด ถ้าดาวแคระขาวรวมตัวเข้ากับดาวฤกษ์อื่น (เป็นเหตุการณ์ที่พบน้อยมาก) มันก็จะมีมวลสูงกว่าขีดจำกัดและเริ่มยุบตัวลง ซึ่งก็จะมีอุณหภูมิสูงขึ้นจนเกินขีดจำกัดการจุดระเบิดของนิวเคลียร์ฟิวชั่นเช่นเดียวกัน ภายในเวลาไม่กี่วินาทีหลังจากเริ่มกระบวนการนิวเคลียร์ฟิวชั่น เศษสสารของดาวแคระขาวจะทำปฏิกิริยา ซึ่งจะปลดปล่อยพลังงานออกมามากพอ (1–2 × 1044จูล) ในการทำให้ดาวระเบิดออกกลายเป็นมหานวดาราได้
มหานวดาราประเภทนี้จะให้ความส่องสว่างสูงสุดค่อนข้างคงที่ เพราะมวลของดาวแคระขาวที่ระเบิดด้วยกลไกการพอกพูนมวลนั้นเป็นมวลที่สม่ำเสมอ การที่ค่านี้ค่อนข้างเสถียรทำให้เรานิยมนำการระเบิดนี้ไปใช้เป็นเทียนมาตรฐาน เพื่อใช้วัดระยะห่างของดาราจักรแม่ของมัน เนื่องจากความส่องสว่างปรากฏของมหานวดาราจะขึ้นอยู่กับระยะห่างเป็นหลัก
แบบจำลองที่เป็นที่ยอมรับ
มหานวดาราประเภท 1เอ เป็นประเภทย่อยตามการจัดประเภทมหานวดาราแบบมิงค็อฟสกี–ซวิคคี ซึ่งคิดค้นขึ้นโดยนักดาราศาสตร์ชาวเยอรมัน รูด็อล์ฟ มิงค็อฟสกี และนักวิทยาศาสตร์ชาวสวิส ฟริทซ์ ซวิคคี มหานวดาราประเภทนี้เกิดขึ้นได้จากหลายวิธี แต่ก็มีกลไกพื้นฐานร่วมกันอยู่ส่วนหนึ่ง เมื่อดาวแคระขาวคาร์บอน-ออกซิเจนซึ่งหมุนรอบตัวเองอย่างช้า ๆ พอกพูนมวลสารจากดาวคู่ของมัน มันไม่สามารถเพิ่มมวลจนเกินขีดจำกัดจันทรเศขรที่ราว 1.38 เท่าของมวลดวงอาทิตย์ได้ หากเกินกว่านั้น มันจะไม่สามารถรองรับน้ำหนักของตัวเองโดยอาศัยความดันสถานะเสื่อมของอิเล็กตรอนได้ และจะเริ่มยุบตัวลง หากไม่เกิดกระบวนการชดเชยแรง ดาวแคระขาวจะยุบตัวลงกลายไปเป็นดาวนิวตรอน ดังเช่นที่เกิดขึ้นทั่วไปกับดาวแคระขาวซึ่งมีส่วนประกอบของแมกนีเซียม นีออน และออกซิเจนเป็นหลัก
อย่างไรก็ตาม มุมมองปัจจุบันในหมู่นักดาราศาสตร์ผู้ออกแบบแบบจำลองการระเบิดมหานวดาราประเภท 1เอ คือ ขีดจำกัดนี้ไม่สามารถบรรลุได้เลยในความเป็นจริง ดังนั้น การยุบตัวจึงไม่เคยเกิดขึ้น ทว่ากลับเกิดแรงดันและความหนาแน่นเพิ่มขึ้นแทน อันเนื่องมาจากน้ำหนักที่เพิ่มขึ้นทำให้อุณหภูมิที่แกนกลางเพิ่มสูงขึ้น และเมื่อดาวแคระขาวเข้าใกล้ราว 1% ของขีดจำกัด จะทำให้เกิดช่วงการพาความร้อน ซึ่งกินเวลาอย่างน้อย 1,000 ปี ในบางจุดของระยะคุกรุ่นนี้ การเผาไหม้เองก็จะเกิดขึ้น โดยได้รับพลังงานจากการฟิวชั่นคาร์บอน รายละเอียดของการจุดระเบิดยังคงไม่เป็นที่ทราบกัน รวมไปถึงตำแหน่งและจำนวนของจุดที่เริ่มมีไฟเกิดขึ้นการฟิวชั่นออกซิเจนเริ่มต้นขึ้นไม่นานหลังจากนั้น แต่เชื้อเพลิงนี้ไม่ถูกเผาผลาญโดยสมบูรณ์เท่ากับคาร์บอน
เมื่อการฟิวชั่นเริ่มต้นขึ้น อุณหภูมิของดาวแคระขาวจะเริ่มสูงขึ้น ดาวฤกษ์ในแถบลำดับหลักซึ่งมีแรงดันความร้อนจะขยายตัวและเย็นตัวลงเพื่อชดเชยและปรับสมดุลกับพลังงานความร้อนที่เพิ่มสูงขึ้น อย่างไรก็ตาม แรงดันที่เสื่อมลงจะไม่ขึ้นอยู่กับอุณหภูมิ ดาวแคระขาวไม่สามารถควบคุมกระบวนการเผาไหม้เหมือนกับดาวฤกษ์ทั่วไป และไม่มั่นคงต่อปฏิกิริยาฟิวชั่นเฉียบพลันได้ ไฟจะถูกเร่งให้เกิดขึ้นอย่างรวดเร็ว ซึ่งเป็นส่วนที่เกิดขึ้นจาก และปฏิกิริยากับความปั่นป่วน ปัจจุบันนี้ ยังคงเป็นที่โต้เถียงกันว่าไฟดังกล่าวเปลี่ยนไปเป็นการระเบิดเหนือเสียง (detonation) จากการเผาไหม้ใต้เสียง (deflagration) หรือไม่
หากไม่สนใจรายละเอียดที่ชัดเจนของการเผาไหม้นิวเคลียร์ ก็เป็นที่ยอมรับกันโดยทั่วไปว่าเศษชิ้นส่วนจำนวนมากของคาร์บอนและออกซิเจนในดาวแคระขาวจะถูกเผาไหม้กลายเป็นธาตุที่หนักกว่าภายในระยะเวลาไม่กี่วินาที ทำให้อุณหภูมิภายในดาวเพิ่มขึ้นไปถึงหลายพันล้านองศา พลังงานที่ถูกปลดปล่อยจากการเผาไหม้นิวเคลียร์ความร้อน (1-2 × 1044 จูล) นี้มากเกินพอที่จะสลายพลังงานยึดเหนี่ยวโน้มถ่วงของดาว ซึ่งก็คือ อนุภาคทั้งหมดซึ่งประกอบขึ้นเป็นดาวแคระขาวจะมีพลังงานจลน์มากพอที่จะเคลื่อนที่หนีออกจากกัน ดาวจะระเบิดอย่างรุนแรงและปลดปล่อยคลื่นกระแทกซึ่งมีความเร็วระหว่าง 5-20,000 กิโลเมตรต่อวินาที หรือราว 3% ของความเร็วแสง พลังงานที่ถูกปลดปล่อยออกมาในการระเบิดจะทำให้ความสว่างเพิ่มขึ้นอย่างมาก ความส่องสว่างสัมบูรณ์ที่มองเห็นได้ของมหานวดาราประเภท 1เอ อยู่ที่ Mv = -19.3 (สว่างกว่าดวงอาทิตย์ประมาณ 5 พันล้านเท่า) โดยมีความแปรปรวนเล็กน้อย ซากมหานวดาราจะอยู่กับดาวคู่ของมันหรือไม่นั้นขึ้นอยู่กับปริมาณของมวลที่ถูกดีดออกมา
ทฤษฎีของมหานวดาราประเภทนี้คล้ายคลึงกับทฤษฎีของโนวา เพียงแต่ดาวแคระขาวจะพอกพูนสสารช้ากว่ามากและไม่ถึงขีดจำกัดจันทรเศขร ในกรณีของโนวา สสารที่ถูกดึงดูดเข้ามาด้วยแรงโน้มถ่วงจะก่อให้เกิดฟิวชั่นไฮโดรเจนการระเบิดที่พื้นผิวซึ่งจะไม่ส่งผลกระทบต่อดาวแคระขาว มหานวดาราประเภทนี้แตกต่างจาก ซึ่งเกิดขึ้นจากการระเบิดอย่างรุนแรงของพื้นผิวชั้นนอกของดาวมวลมากเมื่อแกนของมันเกิดการระเบิด
การก่อตัว
แบบจำลองหนึ่งที่อธิบายการก่อตัวของมหานวดาราประเภทนี้ คือ ระบบดาวคู่ที่กระชับแน่น ระบบดาวคู่ต้นกำเนิดประกอบด้วยดาวฤกษ์ในแถบลำดับหลัก ซึ่งดาวฤกษ์หลักมีมวลมากกว่าดาวฤกษ์รอง และด้วยความที่มีมวลมากกว่า ดาวฤกษ์หลักจะวิวัฒนาการกลายเป็นแขนงดาวยักษ์เชิงเส้นกำกับก่อนคู่ของมัน โดยผิวห่อหุ้มของดาวจะขยายตัวอย่างมาก หากดาวฤกษ์ทั้งสองใช้ผิวห่อหุ้มร่วมกันแล้ว ระบบดาวคู่จะสูญเสียมวลไปเป็นจำนวนมาก ซึ่งทำให้โมเมนตัมเชิงมุม รัศมีวงโคจร และคาบของการโคจรลดลง หลังจากดาวฤกษ์หลักเสื่อมสลายไปเป็นดาวแคระขาว ดาวฤกษ์รองจะวิวัฒนาการไปเป็นดาวยักษ์แดงและเข้าสู่ขั้นการพอกพูนมวลให้แก่ดาวหลัก ระหว่างช่วงเวลาสุดท้ายซึ่งใช้ผิวห่อหุ้มร่วมกันนี้ ดาวฤกษ์ทั้งสองจะหมุนเข้ามาใกล้กันมากขึ้นเนื่องจากสูญเสียโมเมนตัมเชิงมุมไป วงโคจรที่เกิดขึ้นนี้อาจมีคาบที่สั้นเพียงไม่กี่ชั่วโมงเท่านั้น หากการพอกพูนมวลดำเนินไปได้นานพอ ดาวแคระขาวอาจมีมวลถึงขีดจำกัดจันทรเศขรได้
รูปแบบที่สองที่เป็นไปได้น้อยกว่า คือกลไกสำหรับจุดระเบิดมหานวดาราประเภท 1เอ เกิดจากการรวมตัวของดาวแคระขาวสองดวงที่มีมวลรวมกันแล้วมากกว่าขีดจำกัดจันทรเศขร (เรียกว่า ดาวแคระขาวมวลซูเปอร์จันทรเศขร) ในกรณีเช่นนี้ มวลทั้งหมดจะไม่อยู่ใต้ขีดจำกัดจันทรเศขร นี่เป็นคำอธิบายหนึ่งในหลายๆ ข้อที่พยายามอธิบายถึงต้นกำเนิดดาวฤกษ์มวลมาก (2 เท่าของมวลดวงอาทิตย์) ซึ่งทำให้เกิดมหานวดารา
คาดกันว่าดาวโดดเดี่ยวในดาราจักรทางช้างเผือกจะเกิดการชนกันขึ้นหนึ่งครั้งทุก ๆ 107-1013 ปี ซึ่งเกิดน้อยครั้งกว่าการเกิดโนวามาก อย่างไรก็ตาม ในบริเวณใจกลางอันหนาแน่นของกระจุกดาวทรงกลมมีการชนกันบ่อยครั้งกว่ามาก (ดูเปรียบเทียบกับ ดาวแปลกพวกสีน้ำเงิน) กรณีที่น่าจะเกิดขึ้น ได้แก่ การชนกันในระบบดาวคู่ หรือระหว่างระบบดาวคู่สองระบบซึ่งมีดาวแคระขาวอยู่ในระบบ การชนดังกล่าวสามารถกลายมาเป็นระบบดาวคู่ที่กระชับแน่นระบบเดียวซึ่งมีดาวแคระขาวสองดวง วงโคจรของพวกมันจะค่อย ๆ เสื่อมลงและรวมตัวเข้าด้วยกันผ่านพื้นผิวห่อหุ้มที่ใช้ร่วมกัน
ดาวแคระขาวสามารถพอกพูนมวลจากดาวคู่ชนิดอื่นๆ ได้ด้วยเช่นกัน ซึ่งรวมไปถึงดาวยักษ์เล็ก หรือแม้กระทั่งดาวฤกษ์ในแถบลำดับหลัก (ถ้าวงโคจรอยู่ใกล้กันมากพอ) กระบวนการวิวัฒนาการแท้จริงในระยะการพอกพูนมวลนี้ยังคงไม่แน่นอน ซึ่งอาจขึ้นอยู่กับอัตราการพอกพูนมวลและการถ่ายเทโมเมนตัมเชิงมุมไปให้กับคู่ดาวแคระขาว
มหานวดาราประเภท 1เอ แตกต่างจากมหานวดาราประเภทอื่น เพราะมันเกิดขึ้นทั่วไปในดาราจักรทุกประเภทรวมถึงดาราจักรรี พวกมันไม่แสดงว่าจะเกิดขึ้นในบริเวณก่อตัวของดาวฤกษ์ในปัจจุบันแต่อย่างใด เนื่องจากดาวแคระขาวเกิดขึ้นในระยะสุดท้ายของช่วงวิวัฒนาการดาวฤกษ์ในแถบลำดับหลัก ระบบดาวที่อยู่มานานแสนนานนี้จึงอาจเดินทางมาไกลจากบริเวณที่ก่อตัวขึ้นแต่ดั้งเดิมมาก หลังจากนั้นระบบดาวคู่อันกระชับแน่นอาจใช้เวลาอีกหลายล้านปีในขั้นตอนการถ่ายเทมวล (ซึ่งมีความเป็นไปได้ที่จะทำให้เกิดการระเบิดโนวา) ก่อนที่เงื่อนไขจะเหมาะสมกับการเกิดมหานวดาราประเภท 1เอ ขึ้น
- กระบวนการก่อตัว
- แก๊สกำลังถูกดึงออกจากดาวยักษ์ใหญ่เพื่อสร้างจานพอกพูนมวลรอบคู่ของมัน (เช่น ดาวแคระขาว) Gas ภาพจาก NASA
- ลำดับภาพถ่ายดาวฤกษ์ V445 Puppis ซึ่งน่าจะเป็นดาวฤกษ์ต้นกำเนิดมหานวดาราประเภท 1เอ ครอบคลุมเวลานานกว่าสองปี เปลือกสองขั้วถูกดีดออกด้วยความเร็ว 24 ล้านกิโลเมตรต่อชั่วโมงหลังจากมีการพอกพูนมวลจากคู่ของมัน ภาพจาก ESO
- ภาพวาดมหานวดาราประเภท 1เอ ของจิตรกร
กราฟแสง
มหานวดาราประเภท 1เอ มี (กราฟของความสว่างเทียบกับเวลาหลังจากการระเบิด) ที่มีลักษณะพิเศษ เมื่อใกล้ช่วงเวลาที่มีความสว่างมากที่สุด สเปกตรัมจะประกอบด้วยเส้นของธาตุมวลปานกลางตั้งแต่ออกซิเจนถึงแคลเซียม ซึ่งเป็นองค์ประกอบหลักของพื้นผิวชั้นนอกของดาวฤกษ์ หลายเดือนหลังจากการระเบิด เมื่อพื้นผิวชั้นนอกขยายตัวไปจนถึงจุดโปร่งแสง สเปกตรัมจะถูกกลบโดยแสงที่ปลดปล่อยมาจากแหล่งกำเนิดใกล้กับแกนของดาว ธาตุหนักจะถูกสังเคราะห์ขึ้นระหว่างการระเบิด ไอโซโทปที่สำคัญส่วนใหญ่ใกล้เคียงกับเหล็ก (หรือธาตุ) การสลายตัวของสารกัมมันตรังสี นิกเกิล-56 ตลอดจนถึงโคบอลต์-56 และเหล็ก-56 ผลิตโปรตอนพลังงานสูงซึ่งกลืนกินปริมาณพลังงานที่ผลิตได้ของสสารแตกกระจายที่ช่วงกลางถึงช่วงปลาย
ความคล้ายคลึงกันของความสว่างสัมบูรณ์ของมหานวดาราประเภท 1เอ เกือบทั้งหมดที่รู้จักได้นำไปสู่การใช้เป็นเทียนมาตรฐานลำดับรองในการศึกษาดาราศาสตร์ระหว่างดาราจักรในดาราศาสตร์ดาราจักรนอกระบบ เหตุที่กราฟความสว่างเหล่านี้สอดคล้องกันยังคงเป็นปริศนา ในปี ค.ศ. 1998 การสังเกตมหานวดาราประเภท 1เอ ที่อยู่ห่างไกลบ่งชี้ถึงผลที่ไม่คาดฝันว่าเอกภพดูเหมือนจะขยายตัวด้วยความเร่ง
การใช้เพื่อวัดระยะทาง
จากทฤษฎีฟิสิกส์ดาวฤกษ์ที่กล่าวว่าดาวแคระขาวทุกดวงมีมวลไม่เกินขีดจำกัดจันทรเศขรและเกิดเป็นมหานวดาราประเภท 1เอ เมื่อดาวแคระขาวมีมวลถึงขีดจำกัดจันทรเศขร ซึ่งหมายความว่า ดาวแคระขาวก่อนเกิดมหานวดาราจะมีมวลเท่ากัน และจะได้ว่ามหานวดาราประเภทนี้จะมีความสว่างสัมบูรณ์เท่ากันด้วย จากสมบัติดังกล่าว ทำให้นักจักรวาลวิทยาสามารถใช้มหานวดาราประเภท 1เอ ในการวัดระยะห่างระหว่างดาราจักรได้
แต่ต่อมา นักวิทยาศาสตร์พบว่ามีมหานวดาราประเภท 1เอ บางดวงมีความสว่างมากผิดปกติ ซึ่งน่าจะเป็นไปได้ว่าดาวแคระขาวก่อนเกิดมหานวดารามีมวลสูงกว่าขีดจำกัดจันทรเศขร โดยนักวิทยาศาสตร์พบมหานวดาราแบบนี้มาแล้ว 4 ดวงนับตั้งแต่ พ.ศ. 2546 และได้ให้ชื่ออย่างไม่เป็นทางการว่า "ซูเปอร์จันทรา" ริชาร์ด สเกลโซ จากมหาวิทยาลัยเยล ได้ระบุถึงมวลดาวแคระขาวที่เป็นต้นกำเนิดมหานวดารา ว่ามีมวล 2.1 เท่าของมวลดวงอาทิตย์ และยังค้นพบด้วยว่าความสว่างนั้นมาจากชั้นแก๊สที่สาดออกมาก่อนและหลังการระเบิดด้วย
ความแตกต่างจากมหานวดาราประเภทอื่น
มหานวดาราประเภท Ib และ Ic
มหานวดาราประเภท Ib และ Ic เป็นการระเบิดของดาวฤกษ์ที่เกิดจากการที่แกนของดาวมวลมากยุบตัวลงที่ได้สูญเสียไฮโดรเจนและฮีเลียมที่ผิวชั้นนอกของดาวฤกษ์ผ่านทางลมหรือการถ่ายโอนมวลไปให้ดาวคู่ของมันเส้นสเปกตรัมของมหานวดาราทั้งประเภทย่อยนี้จะขาดธาตุซิลิกอนที่ความยาวคลื่น 635.5 นาโนเมตร มหานวดาราประเภท 1เอ จะให้เส้นสเปกตรัมของธาตุเหล็กเป็นส่วนใหญ่ ในขณะที่มหานวดาราประเภท Ib และ Ic จะประกอบด้วยหลายธาตุ เช่น ออกซิเจน แคลเซียม และแมกนีเซียม
มหานวดาราประเภท II
ดาวฤกษ์ที่จะเกิดมหานวดาราประเภท II ได้นั้นจะเกิดการยุบตัวของแกนของดาวฤกษ์มวลอย่างน้อย 9 เท่าของมวลดวงอาทิตย์ มหานวดาราประเภท II จะมีเส้นสเปกตรัมของไฮโดรเจนที่เรียกว่า อนุกรมบาลเมอร์ ซึ่งแตกต่างจากมหานวดาราประเภท I อัตราความสว่างที่ลดลงหลังเกิดมหานวดาราเกิดขึ้นช้ากว่ามากเมื่อเทียบกับมหานวดาราประเภท 1เอ
อ้างอิง
- Yoon, S.-C.; Langer, L. (2004). . Astronomy and Astrophysics. 419 (2): 623. doi:10.1051/0004-6361:20035822. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2019-12-13. สืบค้นเมื่อ 2007-05-30.
{{}}
: CS1 maint: multiple names: authors list () - Mazzali, P. A.; K. Röpke, F. K.; Benetti, S.; Hillebrandt, W. (2007). "A Common Explosion Mechanism for Type Ia Supernovae". Science. 315 (5813): 825–828. doi:10.1126/science.1136259. PMID 17289993.
{{}}
:|access-date=
ต้องการ|url=
((help))CS1 maint: multiple names: authors list () - Khokhlov, A.; Mueller, E.; Hoeflich, P. (1993). "Light curves of Type IA supernova models with different explosion mechanisms". Astronomy and Astrophysics. 270 (1–2): 223–248. สืบค้นเมื่อ 2007-05-22.
{{}}
: CS1 maint: multiple names: authors list () - Staff (2006-09-07). "Introduction to Supernova Remnants". NASA Goddard/SAO. สืบค้นเมื่อ 2007-05-01.
- Matheson, Thomas; Kirshner, Robert; Challis, Pete; Jha, Saurabh (2008). "Optical Spectroscopy of Type Ia Supernovae". Astronomical Journal. 135: 1598–1615. doi:10.1088/0004-6256/135/4/1598. สืบค้นเมื่อ 2008-05-19.
- da Silva, L. A. L. (1993). "The Classification of Supernovae". Astrophysics and Space Science. 202 (2): 215–236. doi:10.1007/BF00626878. สืบค้นเมื่อ 2008-06-04.
- Lieb, E. H.; Yau, H.-T. (1987). "A rigorous examination of the Chandrasekhar theory of stellar collapse". . 323 (1): 140–144. doi:10.1086/165813. สืบค้นเมื่อ 2007-02-01.
- Canal, R.; Gutiérrez, J. (1997). "The possible white dwarf-neutron star connection". Astrophysics and Space Science Library. 214: 49. สืบค้นเมื่อ 2007-02-01.
- Fryer, C. L.; New, K. C. B. (2006-01-24). "2.1 Collapse scenario". Gravitational Waves from Gravitational Collapse. Max-Planck-Gesellschaft. สืบค้นเมื่อ 2007-06-07.
- Wheeler, J. Craig (2000-01-15). Cosmic Catastrophes: Supernovae, Gamma-Ray Bursts, and Adventures in Hyperspace. Cambridge, UK: สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยเคมบริดจ์. p. 96. ISBN .
- Hillebrandt, W.; Niemeyer, J. C. (2000). "Type IA Supernova Explosion Models". Annual Review of Astronomy and Astrophysics. 38: 191–230. doi:10.1146/annurev.astro.38.1.191. สืบค้นเมื่อ 2007-02-01.
- . ASC / Alliances Center for Astrophysical Thermonuclear Flashes. 2001. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2007-01-14. สืบค้นเมื่อ 2006-11-27.
- Röpke, F. K.; Hillebrandt, W. (2004). "The case against the progenitor's carbon-to-oxygen ratio as a source of peak luminosity variations in Type Ia supernovae". Astronomy and Astrophysics. 420: L1–L4. doi:10.1051/0004-6361:20040135.
- Gamezo, V. N.; Khokhlov, A. M.; Oran, E. S.; Chtchelkanova, A. Y.; Rosenberg, R. O. (2003-01-03). "Thermonuclear Supernovae: Simulations of the Deflagration Stage and Their Implications". Science. 299 (5603): 77–81. doi:10.1126/science.1078129. PMID 12446871. สืบค้นเมื่อ 2006-11-28.
- Gilmore, Gerry (2004). "The Short Spectacular Life of a Superstar". Science. 304 (5697): 1915–1916. doi:10.1126/science.1100370. PMID 15218132. สืบค้นเมื่อ 2007-05-01.
- Paczynski, B. (1976). "Common Envelope Binaries". Structure and Evolution of Close Binary Systems. Cambridge, England: Dordrecht, D. Reidel Publishing Co. pp. 75–80. สืบค้นเมื่อ 2007-01-08.
- Postnov, K. A.; Yungelson, L. R. (2006). . Living Reviews in Relativity. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2007-09-26. สืบค้นเมื่อ 2007-01-08.
- "Type Ia Supernova Progenitors". Swinburne University. สืบค้นเมื่อ 2007-05-20.
- . New Scientist. 2007-01-03. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2007-01-06. สืบค้นเมื่อ 2007-01-06.
- . Lawrence Berkeley National Laboratory. 2006-09-20. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2017-10-08. สืบค้นเมื่อ 2006-11-02.
- . New Scientist. 2006-09-20. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2007-05-09. สืบค้นเมื่อ 2007-01-08.
- Whipple, Fred L. (1939). "Supernovae and Stellar Collisions". Proceedings of the National Academy of Sciences of the United States of America. 25 (3): 118–125. doi:10.1073/pnas.25.3.118. สืบค้นเมื่อ 2007-02-01.
- Rubin, V. C.; Ford, W. K. J. (1999). . Mercury. 28: 26. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2006-05-21. สืบค้นเมื่อ 2006-06-02.
- Middleditch, J. (2004). "A White Dwarf Merger Paradigm for Supernovae and Gamma-Ray Bursts". The Astrophysical Journal. 601 (2): L167–L170. doi:10.1086/382074. สืบค้นเมื่อ 2007-02-01.
- Langer, N.; Yoon, S.-C.; Wellstein, S.; Scheithauer, S. (2002). "On the evolution of interacting binaries which contain a white dwarf". ใน Gänsicke, B. T.; Beuermann, K.; Rein, K. (บ.ก.). The Physics of Cataclysmic Variables and Related Objects, ASP Conference Proceedings. San Francisco, California: Astronomical Society of the Pacific. p. 252. สืบค้นเมื่อ 2007-05-25.
- van Dyk, Schuyler D. (1992). "Association of supernovae with recent star formation regions in late type galaxies". Astronomical Journal. 103 (6): 1788–1803. doi:10.1086/116195. สืบค้นเมื่อ 2007-02-01.
- Langer, N.; Deutschmann, A.; Wellstein, S.; Höflich, P. (1999). "The evolution of main sequence star + white dwarf binary systems towards Type Ia supernovae". Astronomy and Astrophysics. 362: 1046–1064. สืบค้นเมื่อ 2007-02-01.
- Macri, L. M.; Stanek, K. Z.; Bersier, D.; Greenhill, L. J.; Reid, M. J. (2006). "A New Cepheid Distance to the Maser-Host Galaxy NGC 4258 and Its Implications for the Hubble Constant". Astrophysical Journal. 652 (2): 1133–1149. doi:10.1086/508530. สืบค้นเมื่อ 2007-02-01.
- Colgate, S. A. (1979). "Supernovae as a standard candle for cosmology". Astrophysical Journal. 232 (1): 404–408. doi:10.1086/157300. สืบค้นเมื่อ 2007-02-01.
- (1999). "Measurements of Omega and Lambda from 42 high redshift supernovae" (subscription required). Astrophysical Journal. 517: 565–86. doi:10.1086/307221.
- (1998). "Observational evidence from supernovae for an accelerating Universe and a cosmological constant" (subscription required). Astronomical Journal. 116: 1009–38. doi:10.1086/300499.
- Leibundgut, B.; Sollerman, J. (2001). "A cosmological surprise: the universe accelerates". Europhysics News. 32 (4): 121. doi:10.1051/epn:2001401. สืบค้นเมื่อ 2007-02-01.
- "Confirmation of the accelerated expansion of the Universe". Centre National de la Recherche Scientifique. 2003-09-19. สืบค้นเมื่อ 2006-11-03.
- วิมุติ วสะหลาย. (23 มีนาคม 2553). ซูเปอร์มหานวดารา. สมาคมดาราศาสตร์ไทย. สืบค้น 17-10-2553.
- Filippenko, A.V. (2004). "Supernovae and Their Massive Star Progenitors". :astro-ph/0412029.
- "Type Ib Supernova Spectra". COSMOS - The SAO Encyclopedia of Astronomy. Swinburne University of Technology. สืบค้นเมื่อ 2010-05-05.
แหล่งข้อมูลอื่น
- Falck, Bridget (2006). "Type Ia Supernova Cosmology with ADEPT". Johns Hopkins University. สืบค้นเมื่อ 2007-05-20.
- Staff (February 27, 2007). "Sloan Supernova Survey". Sloan Digital Sky Survey. สืบค้นเมื่อ 2007-05-25.
- "Novae and Supernovae". peripatus.gen.nz. สืบค้นเมื่อ 2007-05-25.
- "Source for major type of supernova". Pole Star Publications Ltd. August 6, 2003. สืบค้นเมื่อ 2007-11-25. (A Type Ia progenitor found)
- "Novae and Supernovae explosions found". peripatus.gen.nz. สืบค้นเมื่อ 2007-05-25.
wikipedia, แบบไทย, วิกิพีเดีย, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด, บทความ, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม, มือถือ, โทรศัพท์, Android, iOS, Apple, โทรศัพท์โมบิล, Samsung, iPhone, Xiomi, Xiaomi, Redmi, Honor, Oppo, Nokia, Sonya, MI, PC, พีซี, web, เว็บ, คอมพิวเตอร์
mhanwdarapraephth 1ex epnpraephthyxykhxngsakdawaepraesngpraephthhnungthiekidcakkarraebidxyangrunaerngkhxngdawaekhrakhaw dawaekhrakhawniepnsakdawvkssungsinsudxayukhyaelw aelaimsamarthsrangptikiriyaniwekhliyrfiwchnidxiktxip xyangirkdi dawaekhrakhawthiyngmikharbxn xxksiecnxyuxacsamarththaptikiriyafiwchntxipidxik sungcapldplxyphlngnganmhasalxxkmahakxunhphumikhxngmnsungmakphx inthangkayphaphaelw dawaekhrakhawthimikarxtrahmunrxbtwexngta camimwlcakdthitakwakhidcakdcnthreskhr khux praman 1 38 ethakhxngmwldwngxathity nikhuxkhidcakdmwlmakthisudsungkhwamdnsthanaesuxmkhxngxielktrxnyngsamarthrxngrbid hakphncakkhidcakdmwlni dawaekhrakhawcaerimyubtw thadawaekhrakhawerimsasmmwlcakdawkhukhxngmn echuxknwaaeknklangcamixunhphumisungcnsamartherimkrabwnkarephaihmkharbxnidemuxthungkhidcakd thadawaekhrakhawrwmtwekhakbdawvksxun epnehtukarnthiphbnxymak mnkcamimwlsungkwakhidcakdaelaerimyubtwlng sungkcamixunhphumisungkhuncnekinkhidcakdkarcudraebidkhxngniwekhliyrfiwchnechnediywkn phayinewlaimkiwinathihlngcakerimkrabwnkarniwekhliyrfiwchn essssarkhxngdawaekhrakhawcathaptikiriya sungcapldplxyphlngnganxxkmamakphx 1 2 1044cul inkarthaihdawraebidxxkklayepnmhanwdaraid mhanwdarapraephthnicaihkhwamsxngswangsungsudkhxnkhangkhngthi ephraamwlkhxngdawaekhrakhawthiraebiddwyklikkarphxkphunmwlnnepnmwlthismaesmx karthikhanikhxnkhangesthiyrthaiheraniymnakarraebidniipichepnethiynmatrthan ephuxichwdrayahangkhxngdarackraemkhxngmn enuxngcakkhwamsxngswangpraktkhxngmhanwdaracakhunxyukbrayahangepnhlkaebbcalxngthiepnthiyxmrbsepktrmkhxng SN1998aq mhanwdarapraephth 1ex hnungwnhlngcakprimanaesngmakthisudinaethbbi mhanwdarapraephth 1ex epnpraephthyxytamkarcdpraephthmhanwdaraaebbmingkhxfski swikhkhi sungkhidkhnkhunodynkdarasastrchaweyxrmn rudxlf mingkhxfski aelankwithyasastrchawswis friths swikhkhi mhanwdarapraephthniekidkhunidcakhlaywithi aetkmiklikphunthanrwmknxyuswnhnung emuxdawaekhrakhawkharbxn xxksiecnsunghmunrxbtwexngxyangcha phxkphunmwlsarcakdawkhukhxngmn mnimsamarthephimmwlcnekinkhidcakdcnthreskhrthiraw 1 38 ethakhxngmwldwngxathityid hakekinkwann mncaimsamarthrxngrbnahnkkhxngtwexngodyxasykhwamdnsthanaesuxmkhxngxielktrxnid aelacaerimyubtwlng hakimekidkrabwnkarchdechyaerng dawaekhrakhawcayubtwlngklayipepndawniwtrxn dngechnthiekidkhunthwipkbdawaekhrakhawsungmiswnprakxbkhxngaemkniesiym nixxn aelaxxksiecnepnhlk xyangirktam mummxngpccubninhmunkdarasastrphuxxkaebbaebbcalxngkarraebidmhanwdarapraephth 1ex khux khidcakdniimsamarthbrrluidelyinkhwamepncring dngnn karyubtwcungimekhyekidkhun thwaklbekidaerngdnaelakhwamhnaaennephimkhunaethn xnenuxngmacaknahnkthiephimkhunthaihxunhphumithiaeknklangephimsungkhun aelaemuxdawaekhrakhawekhaiklraw 1 khxngkhidcakd cathaihekidchwngkarphakhwamrxn sungkinewlaxyangnxy 1 000 pi inbangcudkhxngrayakhukrunni karephaihmexngkcaekidkhun odyidrbphlngngancakkarfiwchnkharbxn raylaexiydkhxngkarcudraebidyngkhngimepnthithrabkn rwmipthungtaaehnngaelacanwnkhxngcudthierimmiifekidkhunkarfiwchnxxksiecnerimtnkhunimnanhlngcaknn aetechuxephlingniimthukephaphlayodysmburnethakbkharbxn emuxkarfiwchnerimtnkhun xunhphumikhxngdawaekhrakhawcaerimsungkhun dawvksinaethbladbhlksungmiaerngdnkhwamrxncakhyaytwaelaeyntwlngephuxchdechyaelaprbsmdulkbphlngngankhwamrxnthiephimsungkhun xyangirktam aerngdnthiesuxmlngcaimkhunxyukbxunhphumi dawaekhrakhawimsamarthkhwbkhumkrabwnkarephaihmehmuxnkbdawvksthwip aelaimmnkhngtxptikiriyafiwchnechiybphlnid ifcathukerngihekidkhunxyangrwderw sungepnswnthiekidkhuncak aelaptikiriyakbkhwampnpwn pccubnni yngkhngepnthiotethiyngknwaifdngklawepliynipepnkarraebidehnuxesiyng detonation cakkarephaihmitesiyng deflagration hruxim hakimsnicraylaexiydthichdecnkhxngkarephaihmniwekhliyr kepnthiyxmrbknodythwipwaesschinswncanwnmakkhxngkharbxnaelaxxksiecnindawaekhrakhawcathukephaihmklayepnthatuthihnkkwaphayinrayaewlaimkiwinathi thaihxunhphumiphayindawephimkhunipthunghlayphnlanxngsa phlngnganthithukpldplxycakkarephaihmniwekhliyrkhwamrxn 1 2 1044 cul nimakekinphxthicaslayphlngnganyudehniywonmthwngkhxngdaw sungkkhux xnuphakhthnghmdsungprakxbkhunepndawaekhrakhawcamiphlngnganclnmakphxthicaekhluxnthihnixxkcakkn dawcaraebidxyangrunaerngaelapldplxykhlunkraaethksungmikhwamerwrahwang 5 20 000 kiolemtrtxwinathi hruxraw 3 khxngkhwamerwaesng phlngnganthithukpldplxyxxkmainkarraebidcathaihkhwamswangephimkhunxyangmak khwamsxngswangsmburnthimxngehnidkhxngmhanwdarapraephth 1ex xyuthi Mv 19 3 swangkwadwngxathitypraman 5 phnlanetha odymikhwamaeprprwnelknxy sakmhanwdaracaxyukbdawkhukhxngmnhruximnnkhunxyukbprimankhxngmwlthithukdidxxkma thvsdikhxngmhanwdarapraephthnikhlaykhlungkbthvsdikhxngonwa ephiyngaetdawaekhrakhawcaphxkphunssarchakwamakaelaimthungkhidcakdcnthreskhr inkrnikhxngonwa ssarthithukdungdudekhamadwyaerngonmthwngcakxihekidfiwchnihodrecnkarraebidthiphunphiwsungcaimsngphlkrathbtxdawaekhrakhaw mhanwdarapraephthniaetktangcak sungekidkhuncakkarraebidxyangrunaerngkhxngphunphiwchnnxkkhxngdawmwlmakemuxaeknkhxngmnekidkarraebidkarkxtwaebbcalxnghnungthixthibaykarkxtwkhxngmhanwdarapraephthni khux rabbdawkhuthikrachbaenn rabbdawkhutnkaenidprakxbdwydawvksinaethbladbhlk sungdawvkshlkmimwlmakkwadawvksrxng aeladwykhwamthimimwlmakkwa dawvkshlkcawiwthnakarklayepnaekhnngdawyksechingesnkakbkxnkhukhxngmn odyphiwhxhumkhxngdawcakhyaytwxyangmak hakdawvksthngsxngichphiwhxhumrwmknaelw rabbdawkhucasuyesiymwlipepncanwnmak sungthaihomemntmechingmum rsmiwngokhcr aelakhabkhxngkarokhcrldlng hlngcakdawvkshlkesuxmslayipepndawaekhrakhaw dawvksrxngcawiwthnakaripepndawyksaedngaelaekhasukhnkarphxkphunmwlihaekdawhlk rahwangchwngewlasudthaysungichphiwhxhumrwmknni dawvksthngsxngcahmunekhamaiklknmakkhunenuxngcaksuyesiyomemntmechingmumip wngokhcrthiekidkhunnixacmikhabthisnephiyngimkichwomngethann hakkarphxkphunmwldaeninipidnanphx dawaekhrakhawxacmimwlthungkhidcakdcnthreskhrid rupaebbthisxngthiepnipidnxykwa khuxkliksahrbcudraebidmhanwdarapraephth 1ex ekidcakkarrwmtwkhxngdawaekhrakhawsxngdwngthimimwlrwmknaelwmakkwakhidcakdcnthreskhr eriykwa dawaekhrakhawmwlsuepxrcnthreskhr inkrniechnni mwlthnghmdcaimxyuitkhidcakdcnthreskhr niepnkhaxthibayhnunginhlay khxthiphyayamxthibaythungtnkaeniddawvksmwlmak 2 ethakhxngmwldwngxathity sungthaihekidmhanwdara khadknwadawoddediywindarackrthangchangephuxkcaekidkarchnknkhunhnungkhrngthuk 107 1013 pi sungekidnxykhrngkwakarekidonwamak xyangirktam inbriewnicklangxnhnaaennkhxngkracukdawthrngklmmikarchnknbxykhrngkwamak duepriybethiybkb dawaeplkphwksinaengin krnithinacaekidkhun idaek karchnkninrabbdawkhu hruxrahwangrabbdawkhusxngrabbsungmidawaekhrakhawxyuinrabb karchndngklawsamarthklaymaepnrabbdawkhuthikrachbaennrabbediywsungmidawaekhrakhawsxngdwng wngokhcrkhxngphwkmncakhxy esuxmlngaelarwmtwekhadwyknphanphunphiwhxhumthiichrwmkn dawaekhrakhawsamarthphxkphunmwlcakdawkhuchnidxun iddwyechnkn sungrwmipthungdawykselk hruxaemkrathngdawvksinaethbladbhlk thawngokhcrxyuiklknmakphx krabwnkarwiwthnakaraethcringinrayakarphxkphunmwlniyngkhngimaennxn sungxackhunxyukbxtrakarphxkphunmwlaelakarthayethomemntmechingmumipihkbkhudawaekhrakhaw mhanwdarapraephth 1ex aetktangcakmhanwdarapraephthxun ephraamnekidkhunthwipindarackrthukpraephthrwmthungdarackrri phwkmnimaesdngwacaekidkhuninbriewnkxtwkhxngdawvksinpccubnaetxyangid enuxngcakdawaekhrakhawekidkhuninrayasudthaykhxngchwngwiwthnakardawvksinaethbladbhlk rabbdawthixyumananaesnnannicungxacedinthangmaiklcakbriewnthikxtwkhunaetdngedimmak hlngcaknnrabbdawkhuxnkrachbaennxacichewlaxikhlaylanpiinkhntxnkarthayethmwl sungmikhwamepnipidthicathaihekidkarraebidonwa kxnthienguxnikhcaehmaasmkbkarekidmhanwdarapraephth 1ex khun krabwnkarkxtw aekskalngthukdungxxkcakdawyksihyephuxsrangcanphxkphunmwlrxbkhukhxngmn echn dawaekhrakhaw Gas phaphcak NASA ladbphaphthaydawvks V445 Puppis sungnacaepndawvkstnkaenidmhanwdarapraephth 1ex khrxbkhlumewlanankwasxngpi epluxksxngkhwthukdidxxkdwykhwamerw 24 lankiolemtrtxchwomnghlngcakmikarphxkphunmwlcakkhukhxngmn phaphcak ESO source source source source source source source phaphwadmhanwdarapraephth 1ex khxngcitrkrkrafaesngkrafkhwamswang ethiybkbdwngxathity L0 txewlasungaesdngthunglksnaphiesskhxngkrafaesngkhxngmhanwdarapraephth 1ex krafthicudsungsudepnkarslaytwkhxngnikekil inkhnathichwnghlngichokhbxltepnaehlngphlngngan mhanwdarapraephth 1ex mi krafkhxngkhwamswangethiybkbewlahlngcakkarraebid thimilksnaphiess emuxiklchwngewlathimikhwamswangmakthisud sepktrmcaprakxbdwyesnkhxngthatumwlpanklangtngaetxxksiecnthungaekhlesiym sungepnxngkhprakxbhlkkhxngphunphiwchnnxkkhxngdawvks hlayeduxnhlngcakkarraebid emuxphunphiwchnnxkkhyaytwipcnthungcudoprngaesng sepktrmcathukklbodyaesngthipldplxymacakaehlngkaenidiklkbaeknkhxngdaw thatuhnkcathuksngekhraahkhunrahwangkarraebid ixosothpthisakhyswnihyiklekhiyngkbehlk hruxthatu karslaytwkhxngsarkmmntrngsi nikekil 56 tlxdcnthungokhbxlt 56 aelaehlk 56 phlitoprtxnphlngngansungsungklunkinprimanphlngnganthiphlitidkhxngssaraetkkracaythichwngklangthungchwngplay khwamkhlaykhlungknkhxngkhwamswangsmburnkhxngmhanwdarapraephth 1ex ekuxbthnghmdthiruckidnaipsukarichepnethiynmatrthanladbrxnginkarsuksadarasastrrahwangdarackrindarasastrdarackrnxkrabb ehtuthikrafkhwamswangehlanisxdkhlxngknyngkhngepnprisna inpi kh s 1998 karsngektmhanwdarapraephth 1ex thixyuhangiklbngchithungphlthiimkhadfnwaexkphphduehmuxncakhyaytwdwykhwamerngkarichephuxwdrayathangcakthvsdifisiksdawvksthiklawwadawaekhrakhawthukdwngmimwlimekinkhidcakdcnthreskhraelaekidepnmhanwdarapraephth 1ex emuxdawaekhrakhawmimwlthungkhidcakdcnthreskhr sunghmaykhwamwa dawaekhrakhawkxnekidmhanwdaracamimwlethakn aelacaidwamhanwdarapraephthnicamikhwamswangsmburnethakndwy caksmbtidngklaw thaihnkckrwalwithyasamarthichmhanwdarapraephth 1ex inkarwdrayahangrahwangdarackrid aettxma nkwithyasastrphbwamimhanwdarapraephth 1ex bangdwngmikhwamswangmakphidpkti sungnacaepnipidwadawaekhrakhawkxnekidmhanwdaramimwlsungkwakhidcakdcnthreskhr odynkwithyasastrphbmhanwdaraaebbnimaaelw 4 dwngnbtngaet ph s 2546 aelaidihchuxxyangimepnthangkarwa suepxrcnthra richard seklos cakmhawithyalyeyl idrabuthungmwldawaekhrakhawthiepntnkaenidmhanwdara wamimwl 2 1 ethakhxngmwldwngxathity aelayngkhnphbdwywakhwamswangnnmacakchnaeksthisadxxkmakxnaelahlngkarraebiddwykhwamaetktangcakmhanwdarapraephthxunmhanwdarapraephth Ib aela Ic mhanwdarapraephth Ib aela Ic epnkarraebidkhxngdawvksthiekidcakkarthiaeknkhxngdawmwlmakyubtwlngthiidsuyesiyihodrecnaelahieliymthiphiwchnnxkkhxngdawvksphanthanglmhruxkarthayoxnmwlipihdawkhukhxngmnesnsepktrmkhxngmhanwdarathngpraephthyxynicakhadthatusilikxnthikhwamyawkhlun 635 5 naonemtr mhanwdarapraephth 1ex caihesnsepktrmkhxngthatuehlkepnswnihy inkhnathimhanwdarapraephth Ib aela Ic caprakxbdwyhlaythatu echn xxksiecn aekhlesiym aelaaemkniesiym mhanwdarapraephth II dawvksthicaekidmhanwdarapraephth II idnncaekidkaryubtwkhxngaeknkhxngdawvksmwlxyangnxy 9 ethakhxngmwldwngxathity mhanwdarapraephth II camiesnsepktrmkhxngihodrecnthieriykwa xnukrmbalemxr sungaetktangcakmhanwdarapraephth I xtrakhwamswangthildlnghlngekidmhanwdaraekidkhunchakwamakemuxethiybkbmhanwdarapraephth 1exxangxingYoon S C Langer L 2004 Astronomy and Astrophysics 419 2 623 doi 10 1051 0004 6361 20035822 khlngkhxmulekaekbcakaehlngedimemux 2019 12 13 subkhnemux 2007 05 30 a href wiki E0 B9 81 E0 B8 A1 E0 B9 88 E0 B9 81 E0 B8 9A E0 B8 9A Cite journal title aemaebb Cite journal cite journal a CS1 maint multiple names authors list lingk Mazzali P A K Ropke F K Benetti S Hillebrandt W 2007 A Common Explosion Mechanism for Type Ia Supernovae Science 315 5813 825 828 doi 10 1126 science 1136259 PMID 17289993 a href wiki E0 B9 81 E0 B8 A1 E0 B9 88 E0 B9 81 E0 B8 9A E0 B8 9A Cite journal title aemaebb Cite journal cite journal a access date txngkar url help CS1 maint multiple names authors list lingk Khokhlov A Mueller E Hoeflich P 1993 Light curves of Type IA supernova models with different explosion mechanisms Astronomy and Astrophysics 270 1 2 223 248 subkhnemux 2007 05 22 a href wiki E0 B9 81 E0 B8 A1 E0 B9 88 E0 B9 81 E0 B8 9A E0 B8 9A Cite journal title aemaebb Cite journal cite journal a CS1 maint multiple names authors list lingk Staff 2006 09 07 Introduction to Supernova Remnants NASA Goddard SAO subkhnemux 2007 05 01 Matheson Thomas Kirshner Robert Challis Pete Jha Saurabh 2008 Optical Spectroscopy of Type Ia Supernovae Astronomical Journal 135 1598 1615 doi 10 1088 0004 6256 135 4 1598 subkhnemux 2008 05 19 da Silva L A L 1993 The Classification of Supernovae Astrophysics and Space Science 202 2 215 236 doi 10 1007 BF00626878 subkhnemux 2008 06 04 Lieb E H Yau H T 1987 A rigorous examination of the Chandrasekhar theory of stellar collapse 323 1 140 144 doi 10 1086 165813 subkhnemux 2007 02 01 Canal R Gutierrez J 1997 The possible white dwarf neutron star connection Astrophysics and Space Science Library 214 49 subkhnemux 2007 02 01 Fryer C L New K C B 2006 01 24 2 1 Collapse scenario Gravitational Waves from Gravitational Collapse Max Planck Gesellschaft subkhnemux 2007 06 07 Wheeler J Craig 2000 01 15 Cosmic Catastrophes Supernovae Gamma Ray Bursts and Adventures in Hyperspace Cambridge UK sankphimphmhawithyalyekhmbridc p 96 ISBN 0521651956 Hillebrandt W Niemeyer J C 2000 Type IA Supernova Explosion Models Annual Review of Astronomy and Astrophysics 38 191 230 doi 10 1146 annurev astro 38 1 191 subkhnemux 2007 02 01 ASC Alliances Center for Astrophysical Thermonuclear Flashes 2001 khlngkhxmulekaekbcakaehlngedimemux 2007 01 14 subkhnemux 2006 11 27 Ropke F K Hillebrandt W 2004 The case against the progenitor s carbon to oxygen ratio as a source of peak luminosity variations in Type Ia supernovae Astronomy and Astrophysics 420 L1 L4 doi 10 1051 0004 6361 20040135 Gamezo V N Khokhlov A M Oran E S Chtchelkanova A Y Rosenberg R O 2003 01 03 Thermonuclear Supernovae Simulations of the Deflagration Stage and Their Implications Science 299 5603 77 81 doi 10 1126 science 1078129 PMID 12446871 subkhnemux 2006 11 28 Gilmore Gerry 2004 The Short Spectacular Life of a Superstar Science 304 5697 1915 1916 doi 10 1126 science 1100370 PMID 15218132 subkhnemux 2007 05 01 Paczynski B 1976 Common Envelope Binaries Structure and Evolution of Close Binary Systems Cambridge England Dordrecht D Reidel Publishing Co pp 75 80 subkhnemux 2007 01 08 Postnov K A Yungelson L R 2006 Living Reviews in Relativity khlngkhxmulekaekbcakaehlngedimemux 2007 09 26 subkhnemux 2007 01 08 Type Ia Supernova Progenitors Swinburne University subkhnemux 2007 05 20 New Scientist 2007 01 03 khlngkhxmulekaekbcakaehlngedimemux 2007 01 06 subkhnemux 2007 01 06 Lawrence Berkeley National Laboratory 2006 09 20 khlngkhxmulekaekbcakaehlngedimemux 2017 10 08 subkhnemux 2006 11 02 New Scientist 2006 09 20 khlngkhxmulekaekbcakaehlngedimemux 2007 05 09 subkhnemux 2007 01 08 Whipple Fred L 1939 Supernovae and Stellar Collisions Proceedings of the National Academy of Sciences of the United States of America 25 3 118 125 doi 10 1073 pnas 25 3 118 subkhnemux 2007 02 01 Rubin V C Ford W K J 1999 Mercury 28 26 khlngkhxmulekaekbcakaehlngedimemux 2006 05 21 subkhnemux 2006 06 02 Middleditch J 2004 A White Dwarf Merger Paradigm for Supernovae and Gamma Ray Bursts The Astrophysical Journal 601 2 L167 L170 doi 10 1086 382074 subkhnemux 2007 02 01 Langer N Yoon S C Wellstein S Scheithauer S 2002 On the evolution of interacting binaries which contain a white dwarf in Gansicke B T Beuermann K Rein K b k The Physics of Cataclysmic Variables and Related Objects ASP Conference Proceedings San Francisco California Astronomical Society of the Pacific p 252 subkhnemux 2007 05 25 van Dyk Schuyler D 1992 Association of supernovae with recent star formation regions in late type galaxies Astronomical Journal 103 6 1788 1803 doi 10 1086 116195 subkhnemux 2007 02 01 Langer N Deutschmann A Wellstein S Hoflich P 1999 The evolution of main sequence star white dwarf binary systems towards Type Ia supernovae Astronomy and Astrophysics 362 1046 1064 subkhnemux 2007 02 01 Macri L M Stanek K Z Bersier D Greenhill L J Reid M J 2006 A New Cepheid Distance to the Maser Host Galaxy NGC 4258 and Its Implications for the Hubble Constant Astrophysical Journal 652 2 1133 1149 doi 10 1086 508530 subkhnemux 2007 02 01 Colgate S A 1979 Supernovae as a standard candle for cosmology Astrophysical Journal 232 1 404 408 doi 10 1086 157300 subkhnemux 2007 02 01 1999 Measurements of Omega and Lambda from 42 high redshift supernovae subscription required Astrophysical Journal 517 565 86 doi 10 1086 307221 1998 Observational evidence from supernovae for an accelerating Universe and a cosmological constant subscription required Astronomical Journal 116 1009 38 doi 10 1086 300499 Leibundgut B Sollerman J 2001 A cosmological surprise the universe accelerates Europhysics News 32 4 121 doi 10 1051 epn 2001401 subkhnemux 2007 02 01 Confirmation of the accelerated expansion of the Universe Centre National de la Recherche Scientifique 2003 09 19 subkhnemux 2006 11 03 wimuti wsahlay 23 minakhm 2553 suepxrmhanwdara smakhmdarasastrithy subkhn 17 10 2553 Filippenko A V 2004 Supernovae and Their Massive Star Progenitors astro ph 0412029 Type Ib Supernova Spectra COSMOS The SAO Encyclopedia of Astronomy Swinburne University of Technology subkhnemux 2010 05 05 aehlngkhxmulxunFalck Bridget 2006 Type Ia Supernova Cosmology with ADEPT Johns Hopkins University subkhnemux 2007 05 20 Staff February 27 2007 Sloan Supernova Survey Sloan Digital Sky Survey subkhnemux 2007 05 25 Novae and Supernovae peripatus gen nz subkhnemux 2007 05 25 Source for major type of supernova Pole Star Publications Ltd August 6 2003 subkhnemux 2007 11 25 A Type Ia progenitor found Novae and Supernovae explosions found peripatus gen nz subkhnemux 2007 05 25