กล้องโทรทรรศน์ คืออุปกรณ์ที่ใช้ขยายวัตถุท้องฟ้าโดยอาศัยหลักการรวมแสง หรือ รังสีแม่เหล็กไฟฟ้า เพื่อให้สามารถมองเห็นวัตถุท้องฟ้าที่ไม่สามารถมองเห็นได้ด้วยตาเปล่า หรือทำให้มองเห็นได้ชัดขึ้น และมีขนาดใหญ่ขึ้น กล้องโทรทรรศน์ได้ถูกคิดค้นขึ้นครั้งแรกเมื่อปี ค.ศ. 1608 โดยฮันส์ ลิปเปอร์แฮย์ช่างทำแว่นตาชาวฮอลันดาคนหนึ่ง ซึ่งต่อมาค้นพบว่าหากนำเลนส์มาวางเรียงกับให้ได้ระยะที่ถูกต้องเลนส์สามารถขยายภาพที่อยู่ไกล ๆ ได้ใกล้ขึ้น และ 1 ปีต่อมา กาลิเลโอ กาลิเลอิ ก็ได้นำมาปรับปรุงสร้างในแบบของตัวเองแล้วใช้สำรวจท้องฟ้าเป็นครั้งแรก โดยในตอนนั้นเป็นกล้องโทรทรรศน์แบบหักเหแสงที่มีกำลังขยายไม่ถึง 30 เท่า เท่านั้นแต่ก็ทำให้เห็นรายละเอียดต่าง ๆ มากมายของดวงดาวต่างๆที่ยังไม่เคยเห็นมาก่อนทำให้เป็นจุดเริ่มต้นของการเริ่มมาสำรวจท้องฟ้าโดยใช้กล้องโทรทรรศน์
กล้องโทรทรรศน์ชนิดหักเหแสง
กล้องโทรทรรศน์ชนิดหักเหแสงเป็นกล้องโทรทรรศน์ชนิดแรกที่ฮันส์ ลิปเปอร์แฮย์ได้ประดิษฐ์ขึ้น และกาลิเลโอ กาลิเลอีเป็นคนแรกที่นำมาใช้สังเกตการณ์ท้องฟ้า ตัวกล้องจะประกอบไปด้วยเลนส์ 2 ตัวขึ้นไปคือ เลนส์ใกล้วัตถุ และ เลนส์ใกล้ตา โดยเลนส์ใกล้วัตถุจะทำหน้าที่รับภาพจากวัตถุ แล้วหักเหแสงไปยังเลนส์ใกล้ตา ซึ่งเลนส์ใกล้ตาจะทำหน้าที่ขยายภาพจากเลนส์ใกล้วัตถุอีกทีหนึ่ง โดยลักษณะการวางเลนส์จะใช้เลนส์ใกล้วัตถุที่มีความยาวโฟกัสยาว และเลนส์ใกล้ตาที่มีความยาวโฟกัสสั้น โดยในการวางเลนส์ จะวางเลนส์ใกล้วัตถุ (ความยาวโฟกัสยาว) ไว้ด้านหน้า และเลนส์ใกล้ตา (ความยาวโฟกัสสั้น) ไว้ด้านหลัง โดยระยะห่างของเลนส์ 2 ตัวนี้คือ ความยาวโฟกัสเลนส์ใกล้วัตถุ + ความยาวโฟกัสเลนส์ใกล้ตา เป็นต้น
สำหรับกล้องโทรทรรศน์หักเหแสงของกาลิเลโอนั้น เลนส์ใกล้วัตถุจะเป็นเลนส์นูน และเลนส์ใกล้ตาจะเป็นจากเลนส์เว้า ซึ่งข้อดีของการใช้ระบบเลนส์แบบนี้คือภาพที่ได้จะเป็นภาพหัวตั้งโดยไม่ต้องใช้อุปกรณ์อื่นมาช่วย แต่ข้อเสียของการใช้เลนส์เว้าเป็นเลนส์ใกล้ตาคือระบบกล้องจะมีมุมมองภาพที่แคบมาก ต่อมาโยฮันเนิส เค็พเพลอร์ได้ใช้เลนส์นูนเป็นเลนส์ใกล้ตาของกล้องโทรทรรศน์แทน ซึ่งทำให้ระบบกล้องโทรทรรศน์ให้ภาพกลับหัว และมีมุมมองภาพกว้างขึ้น ระบบเลนส์แบบนี้ได้ถูกพัฒนาอย่างต่อเนื่อง และใช้งานมาจนถึงปัจจุบัน
ความคลาดสีของกล้องโทรทรรศน์หักเหแสง
หากว่าเราใช้ปริซึมมาส่องกับแสงแดดจะพบว่า ปริซึมจะกระจายแสงออกเป็น 7 สีด้วยกันเพราะปริซึมจะทำให้เกิดการหักเหแสง และถ้าสังเกตให้ดีเข้าไปอีกจะเห็นว่าสีที่หักเหมานั้นแต่ละสีจะเลี้ยวออกมาจากแท่งแก้วปริซึมไม่เท่ากัน เรียกปรากฏการณ์เหล่านี้ว่าการกระจาย และถ้าหากมาใช้กับเลนส์เราจะทำให้เกิดความคลาดทางทัศนศาสตร์ที่เรียกว่าความคลาดสีขึ้นมา
ความคลาดสีจะพบได้กับเลนส์ที่มีคุณภาพต่ำโดยเกิดจากการที่สีของแสงต่างมีดรรชนีหักเหแสงไม่เท่ากันทำให้สีแต่ละสีไม่สามารถมารวมกันที่จุดรวมภาพจุดเดียวกันได้และทำให้เกิดสีรุ้งที่ขอบภาพ และในที่สุดภาพที่ได้มีแสงสีไม่ครบในภาพ และแสงที่หายไปจะเกินออกตรงขอบภาพ
ในอดีตได้มีการพยายามแก้ความคลาดสีด้วยการเพิ่มความยาวโฟกัสของเลนส์ใกล้วัตถุขึ้นแต่จะทำให้กล้องยาวมากหลายสิบเมตรทำให้การที่จะขยายกล้องหันหาดาวที่ต้องการศึกษาเป็นไปด้วยความยุ่งยากและคุณภาพที่ได้ก็ไม่ดีเท่าที่ควร
ปัจจุบัน เราแก้ปัญหาความคลาดสีของกล้องโทรทรรศน์หักเหแสงได้โดยการใช้เลนส์เว้า และเลนส์นูน ที่มีดรรชนีหักเหแสงแตกต่างกันมาประกอบ เป็นเลนส์ 2 ชิ้นที่สามารถแก้ให้แสงสีเขียวและแดงมีจุดโฟกัสใกล้กันมากขึ้นได้ เรียกว่า เลนส์อรงค์ และอาจมีการใช้เลนส์ถึง 3 ชิ้นหรือมากกว่านั้นได้ หรืออาจมีการใช้ชิ้นเลนส์ที่ทำจากแก้วชนิดพิเศษเช่น หรือ เพื่อให้ภาพที่มีความคลาดสีน้อยที่สุด แต่การใช้เลนส์จำนวนมาก หรือชิ้นเลนส์พิเศษเหล่านี้ ก็ทำให้กล้องโทรทรรศน์มีราคาสูงขึ้นมากเช่นกัน
กล้องโทรทรรศน์ชนิดสะท้อนแสง
กล้องโทรทรรศน์ชนิดสะท้อนแสง สร้างได้สำเร็จครั้งแรกในปี ค.ศ. 1668 โดย ไอแซก นิวตันซึ่งในตอนนั้นถือเป็นเรื่องที่ใหม่มากสำหรับวงการดาราศาสตร์ในสมัยนั้น หลักการทำงานของกล้องสะท้อนแสงจะใช้กระจกเงาเว้าสะท้อนแสงแทนที่จะใช้เลนส์ในการหักเหแสง โดยยังมีหลักการที่คล้ายคลึงอยู่บ้างคือ จะใช้กระจกเงาเว้าที่มีความยาวโฟกัสยาว (เหมือนเลนส์ใกล้วัตถุของกล้องโทรทรรศน์หักเหแสง) สะท้อนแสงจากวัตถุเข้าที่กระจกเงาทุติยภูมิซึ่งจะสะท้อนแสงของวัตถุเข้าที่เลนส์ใกล้ตาและเข้าตาของผู้ใช้ในที่สุด โดยกล้องชนิดนี้มีข้อดีคือกล้องสามารถที่จะผลิตให้มีขนาดหน้ากล้องใหญ่มาก ๆ ได้ซึ่งจะทำให้สำรวจวัตถุที่จางบนท้องฟ้าได้ดีขึ้น และเมื่อเทียบกับกล้องหักเหแสงหากหน้ากล้องเท่ากันแล้วกล้องแบบสะท้อนแสงจะมีราคาถูกกว่ามาก แต่ทั้งนี้ก็มีราคาเริ่มต้นที่ไม่ถูกนักเหมือนกับกล้องหักเหแสง และกล้องชนิดนี้ยังสามารถใช้สำรวจช่วงคลื่นได้หลากหลายกว่ากล้องหักเหแสง เพราะช่วงคลื่นเหล่านั้นจะไม่ถูกดูดซับโดยแก้วของเลนส์อีกทั้งยังไม่พบปัญหาเรื่องความคลาดสีของกล้องหักเหแสงออกไปจนหมดเพราะกล้องใช้หลักการการสะท้อนจะไม่มีปัญหาเรื่องความคลาดสีเข้ามาเกี่ยวข้อง
แต่กล้องชนิดนี้มีข้อเสียคือตรงหน้ากล้องจะมีกระจกเงาทุติยภูมิบังหน้ากล้องอยู่ (เพื่อสะท้อนแสงจากกระจกเงาเว้าเข้าสู่เลนส์ใกล้ตา) จึงทำให้แสงผ่านเข้าได้น้อยลงและทำให้ภาพมืดลงด้วยด้วยสาเหตุนี่กล้องชนิดสะท้อนแสงจะต้องมีขนาดหน้ากล้องใหญ่เพื่อชดเชยข้อเสียดังกล่าวและจะทำให้ราคาแพงขึ้นด้วยแต่ถึงอย่างไรก็ดีผู้ศึกษามักจะนิยมใช้กล้องสะท้อนแสงมากกว่ากล้องหักเหแสงเพราะมีราคาที่ถูกกว่าเมื่อหน้ากล้องเท่ากันและสามารถเลือกซื้อกล้องที่มีหน้ากล้องใหญ่ ๆ ได้
ระบบฐานตั้งกล้องดูดาว
ในการใช้กล้องดูดาวอุปกรณ์ที่สำคัญไม่แพ้กันเลยคือ ซึ่งจะทำหน้าที่ตั้งกล้องไว้ และหันกล้องไปในทิศทางที่ถูกต้องและตรึงอยู่ที่วัตถุนั้นเพื่อให้ผู้ศึกษาสามารถที่จะศึกษาวัตถุนั้นได้อย่างง่ายดาย แต่ในการสำรวจท้องฟ้านั้นฐานตั้งกล้องจะต้องมีความแม่นยำและเที่ยงตรง รวมทั้งมั่นคงเป็นพิเศษทั้งนี้เพราะการสำรวจดวงดาวนั้นมีมุมในการหันฐานตั้งกล้องที่สั้นมากๆอีกทั้งหากกล้องมีกำลังขยายที่สูงเข้าไปอีกการสั่นเพียงเล็กน้อยของฐานตั้งกล้องจะทำให้ภาพนั้นสั่นไหวมากและไม่สามารถที่จะสำรวจท้องฟ้าได้เลยยังไม่รวมถึงการที่ดาวจะเคลื่อนที่ไปเรื่อย ๆ บนท้องฟ้าตามการหมุนของโลก ซึ่งหากสังเกตด้วยตาเปล่าก็จะไม่สามารถสังเกตเห็นได้แต่ในกำลังขยายสูงๆจะเห็นได้ว่าดาว กำลังเคลื่อนที่อยู่ซึ่งการเคลื่อนที่นี้จะทำให้ดาวหลุดออกนอกกล้องอย่างรวดเร็วและไม่สามารถสำรวจวัตถุนั้นได้จึงต้องใช้ฐานตั้งกล้องที่มีความสามารถต่าง ๆ เข้ามาทดแทนปัญหานี้ต่อไป
ฐานตั้งระบบขอบฟ้า ฐานตั้งกล้องชนิดนี้จะคุ้นเคยกันดีเพราะเป็นฐานตั้งกล้องชนิดเดียวกับฐานตั้งกล้องถ่ายภาพโดยทั่วไป ฐานตั้งกล้องชนิดนี้มีแกนหมุน 2 แกน คือแกนหมุนในแนวราบเพื่อปรับมุมทิศ และแกนหมุนในแนวดิ่งเพื่อปรับมุมเงย ข้อดีของขาตั้งชนิดนี้คือใช้งานง่ายและมีราคาถูก ส่วนข้อเสียสำคัญคือ ฐานตั้งกล้องชนิดนี้ ต้องใช้การหมุนมอเตอร์ทั้ง 2 แกน เพื่อติดตามการเคลื่อนที่ขึ้นตกของวัตถุท้องฟ้า ทำให้ไม่สามารถติดตามวัตถุท้องฟ้าได้นิ่ง พอที่จะใช้ในงานถ่ายภาพทางดาราศาสตร์ได้ และทำให้เกิดปัญหาการหมุนของภาพ (Field Rotation) เมื่อใช้ถ่ายภาพเป็นระยะเวลานานอีกด้วย
ฐานตั้งระบบศูนย์สูตร ฐานตั้งกล้องชนิดนี้ออกแบบมาสำหรับการใช้งานทางดาราศาสตร์โดยเฉพาะ ประกอบไปด้วยแกนหมุน 2 แกนที่มีแกนหนึ่งชี้ไปที่ขั้วฟ้าเหนือ (ใกล้กับดาวเหนือ) เรียกว่าแกนขั้ว (Polar Axis) และอีกแกนหนึ่งที่หมุนตั้งฉากกัน เรียกว่าแกนเดคลิเนชัน (Declination Axis) ฐานตั้งกล้องชนิดนี้มีการใช้งานอ้างอิงกับระบบพิกัดศูนย์สูตรฟ้า ซึ่งแกนขั้วนั้น ทำหน้าที่เปลี่ยนพิกัดไรต์แอสเซนชัน และ แกนเดคลิเนชั่นทำหน้าที่เปลี่ยนพิกัดเดคลิเนชัน เพื่อเล็งไปที่วัตถุท้องฟ้าที่ต้องการ และเมื่อเวลาผ่านไป ดาวจะเคลื่อนที่รอบขั้วฟ้าเหนือ ทำให้เราสามารถติดตามดาวด้วยการหมุนแกนขั้วเพียงแกนเดียวได้ ทำให้ฐานตั้งชนิดนี้สามารถติดตามวัตถุท้องฟ้าได้แม่นยำกว่า และเหมาะกับการใช้งานทางดาราศาสตร์มากกว่าแบบแรก ในการใช้งานจริง เราจะติดมอเตอร์เพื่อขับแกนขั้วเพื่อให้กล้องตามดาวได้ตลอดเวลา
ฐานตั้งกล้องแบบคอมพิวเตอร์ (Computerized Mount) เป็นฐานตั้งกล้องที่มีการฝังระบบคอมพิวเตอร์ลงไป ทำให้สามารถชี้ไปที่วัตถุท้องฟ้าที่กำหนดได้อัตโนมัติ โดยการระบุวัตถุที่ต้องการลงไปบนระบบควบคุม ซึ่งอาจเป็นรีโมต หรือโปรแกรมคอมพิวเตอร์ ฐานตั้งกล้องจะรับพิกัดของวัตถุนั้นจากฐานข้อมูล และหมุนกล้องไปที่วัตถุนั้น
กำลังขยาย
ของกล้องโทรทรรศน์จะเท่ากับ ความยาวโฟกัสเลนส์ใกล้วัตถุหรือกระจกเงาเว้า / โฟกัสเลนส์ใกล้ตา และเท่ากับ ความยาวโฟกัส / ขนาดหน้ากล้อง
ดูเพิ่ม
อ้างอิง
- Company, Houghton Mifflin Harcourt Publishing. "The American Heritage Dictionary entry: TELESCOPE". www.ahdictionary.com. จากแหล่งเดิมเมื่อ 11 March 2020. สืบค้นเมื่อ 12 July 2018.
- galileo.rice.edu The Galileo Project > Science > The Telescope by Al Van Helden: The Hague discussed the patent applications first of Hans Lipperhey of Middelburg, and then of 23 มิถุนายน 2004 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน
- "NASA – Telescope History". www.nasa.gov. จากแหล่งเดิมเมื่อ 14 February 2021. สืบค้นเมื่อ 11 July 2017.
- Loker, Aleck (20 November 2017). Profiles in Colonial History. Aleck Loker. ISBN . จากแหล่งเดิมเมื่อ 27 May 2016. สืบค้นเมื่อ 12 December 2015 – โดยทาง Google Books.
wikipedia, แบบไทย, วิกิพีเดีย, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด, บทความ, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม, มือถือ, โทรศัพท์, Android, iOS, Apple, โทรศัพท์โมบิล, Samsung, iPhone, Xiomi, Xiaomi, Redmi, Honor, Oppo, Nokia, Sonya, MI, PC, พีซี, web, เว็บ, คอมพิวเตอร์
klxngothrthrrsn khuxxupkrnthiichkhyaywtthuthxngfaodyxasyhlkkarrwmaesng hrux rngsiaemehlkiffa ephuxihsamarthmxngehnwtthuthxngfathiimsamarthmxngehniddwytaepla hruxthaihmxngehnidchdkhun aelamikhnadihykhun klxngothrthrrsnidthukkhidkhnkhunkhrngaerkemuxpi kh s 1608 odyhns lipepxraehychangthaaewntachawhxlndakhnhnung sungtxmakhnphbwahaknaelnsmawangeriyngkbihidrayathithuktxngelnssamarthkhyayphaphthixyuikl idiklkhun aela 1 pitxma kalielox kalielxi kidnamaprbprungsranginaebbkhxngtwexngaelwichsarwcthxngfaepnkhrngaerk odyintxnnnepnklxngothrthrrsnaebbhkehaesngthimikalngkhyayimthung 30 etha ethannaetkthaihehnraylaexiydtang makmaykhxngdwngdawtangthiyngimekhyehnmakxnthaihepncuderimtnkhxngkarerimmasarwcthxngfaodyichklxngothrthrrsnklxngothrthrrsnklxngothrthrrsnchnidhkehaesngklxngothrthrrsnchnidhkehaesngepnklxngothrthrrsnchnidaerkthihns lipepxraehyidpradisthkhun aelakalielox kalielxiepnkhnaerkthinamaichsngektkarnthxngfa twklxngcaprakxbipdwyelns 2 twkhunipkhux elnsiklwtthu aela elnsiklta odyelnsiklwtthucathahnathirbphaphcakwtthu aelwhkehaesngipyngelnsiklta sungelnsikltacathahnathikhyayphaphcakelnsiklwtthuxikthihnung odylksnakarwangelnscaichelnsiklwtthuthimikhwamyawofksyaw aelaelnsikltathimikhwamyawofkssn odyinkarwangelns cawangelnsiklwtthu khwamyawofksyaw iwdanhna aelaelnsiklta khwamyawofkssn iwdanhlng odyrayahangkhxngelns 2 twnikhux khwamyawofkselnsiklwtthu khwamyawofkselnsiklta epntntwxyangphaphdwngcnthrthiidcakklxngothrthrrsn sahrbklxngothrthrrsnhkehaesngkhxngkalieloxnn elnsiklwtthucaepnelnsnun aelaelnsikltacaepncakelnsewa sungkhxdikhxngkarichrabbelnsaebbnikhuxphaphthiidcaepnphaphhwtngodyimtxngichxupkrnxunmachwy aetkhxesiykhxngkarichelnsewaepnelnsikltakhuxrabbklxngcamimummxngphaphthiaekhbmak txmaoyhnenis ekhphephlxridichelnsnunepnelnsikltakhxngklxngothrthrrsnaethn sungthaihrabbklxngothrthrrsnihphaphklbhw aelamimummxngphaphkwangkhun rabbelnsaebbniidthukphthnaxyangtxenuxng aelaichnganmacnthungpccubnkhwamkhladsikhxngklxngothrthrrsnhkehaesnghakwaeraichprisummasxngkbaesngaeddcaphbwa prisumcakracayaesngxxkepn 7 sidwyknephraaprisumcathaihekidkarhkehaesng aelathasngektihdiekhaipxikcaehnwasithihkehmannaetlasicaeliywxxkmacakaethngaekwprisumimethakn eriykpraktkarnehlaniwakarkracay aelathahakmaichkbelnseracathaihekidkhwamkhladthangthsnsastrthieriykwakhwamkhladsikhunma khwamkhladsicaphbidkbelnsthimikhunphaphtaodyekidcakkarthisikhxngaesngtangmidrrchnihkehaesngimethaknthaihsiaetlasiimsamarthmarwmknthicudrwmphaphcudediywknidaelathaihekidsirungthikhxbphaph aelainthisudphaphthiidmiaesngsiimkhrbinphaph aelaaesngthihayipcaekinxxktrngkhxbphaph inxditidmikarphyayamaekkhwamkhladsidwykarephimkhwamyawofkskhxngelnsiklwtthukhunaetcathaihklxngyawmakhlaysibemtrthaihkarthicakhyayklxnghnhadawthitxngkarsuksaepnipdwykhwamyungyakaelakhunphaphthiidkimdiethathikhwr pccubn eraaekpyhakhwamkhladsikhxngklxngothrthrrsnhkehaesngidodykarichelnsewa aelaelnsnun thimidrrchnihkehaesngaetktangknmaprakxb epnelns 2 chinthisamarthaekihaesngsiekhiywaelaaedngmicudofksiklknmakkhunid eriykwa elnsxrngkh aelaxacmikarichelnsthung 3 chinhruxmakkwannid hruxxacmikarichchinelnsthithacakaekwchnidphiessechn hrux ephuxihphaphthimikhwamkhladsinxythisud aetkarichelnscanwnmak hruxchinelnsphiessehlani kthaihklxngothrthrrsnmirakhasungkhunmakechnknklxngothrthrrsnchnidsathxnaesngklxngothrthrrsnchnidsathxnaesng srangidsaerckhrngaerkinpi kh s 1668 ody ixaesk niwtnsungintxnnnthuxepneruxngthiihmmaksahrbwngkardarasastrinsmynn hlkkarthangankhxngklxngsathxnaesngcaichkrackengaewasathxnaesngaethnthicaichelnsinkarhkehaesng odyyngmihlkkarthikhlaykhlungxyubangkhux caichkrackengaewathimikhwamyawofksyaw ehmuxnelnsiklwtthukhxngklxngothrthrrsnhkehaesng sathxnaesngcakwtthuekhathikrackengathutiyphumisungcasathxnaesngkhxngwtthuekhathielnsikltaaelaekhatakhxngphuichinthisud odyklxngchnidnimikhxdikhuxklxngsamarththicaphlitihmikhnadhnaklxngihymak idsungcathaihsarwcwtthuthicangbnthxngfaiddikhun aelaemuxethiybkbklxnghkehaesnghakhnaklxngethaknaelwklxngaebbsathxnaesngcamirakhathukkwamak aetthngnikmirakhaerimtnthiimthuknkehmuxnkbklxnghkehaesng aelaklxngchnidniyngsamarthichsarwcchwngkhlunidhlakhlaykwaklxnghkehaesng ephraachwngkhlunehlanncaimthukdudsbodyaekwkhxngelnsxikthngyngimphbpyhaeruxngkhwamkhladsikhxngklxnghkehaesngxxkipcnhmdephraaklxngichhlkkarkarsathxncaimmipyhaeruxngkhwamkhladsiekhamaekiywkhxng aetklxngchnidnimikhxesiykhuxtrnghnaklxngcamikrackengathutiyphumibnghnaklxngxyu ephuxsathxnaesngcakkrackengaewaekhasuelnsiklta cungthaihaesngphanekhaidnxylngaelathaihphaphmudlngdwydwysaehtuniklxngchnidsathxnaesngcatxngmikhnadhnaklxngihyephuxchdechykhxesiydngklawaelacathaihrakhaaephngkhundwyaetthungxyangirkdiphusuksamkcaniymichklxngsathxnaesngmakkwaklxnghkehaesngephraamirakhathithukkwaemuxhnaklxngethaknaelasamartheluxksuxklxngthimihnaklxngihy idrabbthantngklxngdudawinkarichklxngdudawxupkrnthisakhyimaephknelykhux sungcathahnathitngklxngiw aelahnklxngipinthisthangthithuktxngaelatrungxyuthiwtthunnephuxihphusuksasamarththicasuksawtthunnidxyangngayday aetinkarsarwcthxngfannthantngklxngcatxngmikhwamaemnyaaelaethiyngtrng rwmthngmnkhngepnphiessthngniephraakarsarwcdwngdawnnmimuminkarhnthantngklxngthisnmakxikthnghakklxngmikalngkhyaythisungekhaipxikkarsnephiyngelknxykhxngthantngklxngcathaihphaphnnsnihwmakaelaimsamarththicasarwcthxngfaidelyyngimrwmthungkarthidawcaekhluxnthiiperuxy bnthxngfatamkarhmunkhxngolk sunghaksngektdwytaeplakcaimsamarthsngektehnidaetinkalngkhyaysungcaehnidwadaw kalngekhluxnthixyusungkarekhluxnthinicathaihdawhludxxknxkklxngxyangrwderwaelaimsamarthsarwcwtthunnidcungtxngichthantngklxngthimikhwamsamarthtang ekhamathdaethnpyhanitxip thantngrabbkhxbfa thantngklxngchnidnicakhunekhykndiephraaepnthantngklxngchnidediywkbthantngklxngthayphaphodythwip thantngklxngchnidnimiaeknhmun 2 aekn khuxaeknhmuninaenwrabephuxprbmumthis aelaaeknhmuninaenwdingephuxprbmumengy khxdikhxngkhatngchnidnikhuxichnganngayaelamirakhathuk swnkhxesiysakhykhux thantngklxngchnidni txngichkarhmunmxetxrthng 2 aekn ephuxtidtamkarekhluxnthikhuntkkhxngwtthuthxngfa thaihimsamarthtidtamwtthuthxngfaidning phxthicaichinnganthayphaphthangdarasastrid aelathaihekidpyhakarhmunkhxngphaph Field Rotation emuxichthayphaphepnrayaewlananxikdwy thantngrabbsunysutr thantngklxngchnidnixxkaebbmasahrbkarichnganthangdarasastrodyechphaa prakxbipdwyaeknhmun 2 aeknthimiaeknhnungchiipthikhwfaehnux iklkbdawehnux eriykwaaeknkhw Polar Axis aelaxikaeknhnungthihmuntngchakkn eriykwaaeknedkhlienchn Declination Axis thantngklxngchnidnimikarichnganxangxingkbrabbphikdsunysutrfa sungaeknkhwnn thahnathiepliynphikdirtaexsesnchn aela aeknedkhlienchnthahnathiepliynphikdedkhlienchn ephuxelngipthiwtthuthxngfathitxngkar aelaemuxewlaphanip dawcaekhluxnthirxbkhwfaehnux thaiherasamarthtidtamdawdwykarhmunaeknkhwephiyngaeknediywid thaihthantngchnidnisamarthtidtamwtthuthxngfaidaemnyakwa aelaehmaakbkarichnganthangdarasastrmakkwaaebbaerk inkarichngancring eracatidmxetxrephuxkhbaeknkhwephuxihklxngtamdawidtlxdewla thantngklxngaebbkhxmphiwetxr Computerized Mount epnthantngklxngthimikarfngrabbkhxmphiwetxrlngip thaihsamarthchiipthiwtthuthxngfathikahndidxtonmti odykarrabuwtthuthitxngkarlngipbnrabbkhwbkhum sungxacepnriomt hruxopraekrmkhxmphiwetxr thantngklxngcarbphikdkhxngwtthunncakthankhxmul aelahmunklxngipthiwtthunnkalngkhyaykhxngklxngothrthrrsncaethakb khwamyawofkselnsiklwtthuhruxkrackengaewa ofkselnsiklta aelaethakb khwamyawofks khnadhnaklxngduephimklxngothrthrrsnkrackengaehlw klxngothrthrrsnhkehaesng klxngothrthrrsnsathxnaesng klxngothrthrrsnaebbphsm klxngothrthrrsnwithyu klxngothrthrrsnechingaesngxangxingCompany Houghton Mifflin Harcourt Publishing The American Heritage Dictionary entry TELESCOPE www ahdictionary com cakaehlngedimemux 11 March 2020 subkhnemux 12 July 2018 galileo rice edu The Galileo Project gt Science gt The Telescope by Al Van Helden The Hague discussed the patent applications first of Hans Lipperhey of Middelburg and then of 23 mithunayn 2004 thi ewyaebkaemchchin NASA Telescope History www nasa gov cakaehlngedimemux 14 February 2021 subkhnemux 11 July 2017 Loker Aleck 20 November 2017 Profiles in Colonial History Aleck Loker ISBN 978 1 928874 16 4 cakaehlngedimemux 27 May 2016 subkhnemux 12 December 2015 odythang Google Books wikimiediykhxmmxnsmisuxthiekiywkhxngkb klxngothrthrrsn