กล้องโทรทรรศน์หักเหแสง (อังกฤษ: refracting telescope) เป็นกล้องโทรทรรศน์ประเภทแรกที่ได้รับการคิดค้นขึ้นในปี ค.ศ. 1608 โดย ฮันส์ ลิปเปอร์แฮย์ ช่างทำแว่นตาชาวฮอลันดา ซึ่งค้นพบคุณสมบัติการขยายภาพเมื่อนำเลนส์นูนสองชิ้นมาเรียงกันในระยะที่เหมาะสม ต่อมา กาลิเลโอ กาลิเลอี เป็นบุคคลแรกที่ริเริ่มนำกล้องมาใช้สังเกตดวงดาวเมื่อปี ค.ศ. 1609
หลักการทั่วไปของกล้องโทรทรรศน์แบบหักเหแสง
ใช้เลนส์สองชิ้น คือที่เห็นเป็นท่อนยาว ๆ โดยมากจะเป็นกล้องโทรทรรศน์แบบหักเหแสงเพราะความยาวของกล้องเท่ากับความยาวโฟกัสของเลนส์วัตถุและเลนส์ใกล้ตารวมกัน กล้องโทรทรรศน์แบบหักเหแสงให้ภาพคมชัดที่สุดและสว่างที่สุดในบรรดากล้องโทรทรรศน์
ภาพดาวที่บันทึกด้วยกล้องโทรทรรศน์แบบหักเหแสงจะมีลักษณะเป็นจุดกลมที่สมบูณ์และคมชัดมากนอกจากนี้กล้องโทรทรรศน์แบบหักเหแสงมีเลนส์ทั้งบริเวณหน้ากล้องเข้าไปได้น้อย การดูแลรักษาทำได้ง่าย และการที่เลนส์ยึดอยู่กับตัวท่อของกล้องอย่างมั่นคงทำให้กล้องโทรทรรศน์แบบหักเหแสงไม่มีการวางตัวของระบบเลนส์ (Optical Alignment) ซึ่งเป็นปัญหาสำคัญในกล้องโทรทรรศน์ประเภทอื่นๆ
ข้อจำกัดของกล้องโทรทรรศน์แบบหักเหแสง
- ประการแรก เลนส์นูนทำให้แสงความยาวคลื่นต่างกัน (สีต่างกัน) หักเหผ่านเลนส์เป็นมุมไม่เท่ากันและมีโฟกัสที่จุดต่าง ๆ กัน ไม่รวมเป็นจุดเดียว ภาพที่สังเกตผ่านกล้องจึงมีสีรุ้งอยู่ทั่วไปและไม่ชัดเจนนัก
ได้มีการคิดค้นเลนส์วัตถุเพื่อปรับปรุงจุดโฟกัสของแสงสีต่าง ๆ ให้อยู่ที่จุดเดียวกัน โดยระบบเลนส์ใหม่นี้ถูกเรียกว่า เลนส์อรงค์ (Achromatic Lens) แปลว่า "ไม่มีสีเพราะปัญหาสีรุ้งในภาพจะลดน้อยลงจนแทบสังเกตไม่เห็น" วิธีการใช้เลนส์อรงค์สร้างกล้องเป็นวิธีที่ค่อนข้างใหม่ แต่ในสมัยปี ค.ศ. 1669 ทำให้ปัญหาความคลาดสีปรากฏให้เห็นน้อยลง ซึ่งก็เป็นวิธีหนึ่งที่ช่วยได้ แต่ตัวกล้องจะมีความยาวหลายสิบเมตรทำให้สังเกตได้ไม่คล่องตัวนัก
ความคลาดสี หรือ ความคลาดรงค์ เกิดจากธรรมชาติของแสงที่หักเหผ่านเลนส์ ซึ่งแสงแต่ละความยาวคลื่นจะรวมกันที่จุดโฟกัสต่างกัน ปัญหาความคลาดรงค์สามารถแก้ไข้ได้โดยตินเลนส์เว้าอีกชิ้นหนึ่งเข้ากับเลนส์นูน ซึ่งจะช่วยให้แสงต่างช่วงคลื่น (ต่างสี) มารวมกันที่จุดเดียวกัน เลนส์ประกอบนี้มีชื้อว่า เลนส์อรงค์
- ข้อจำกัดอีกประการหนึ่งของกล้องโทรทรรศน์แบบหักเหแสง คือ แสงแต่ละความยาวคลื่นจะถูกดูดกลืนไปโดยเลนส์ไม่เท่ากัน และแสงบางช่วงคลื่น เช่น รังสีอัตราไวโอเลตไม่สามารถผ่านเลนส์แก้วได้เลย หรือถูกดูดกลืนไปทั้งหมด นักดาราศาสตร์จึงไม่บบหักเหแสงสังเกตวัตถุท้องฟ้าในช่วงคลื่นอัลตราไวโอเลตได้
- ข้อจำกัดประการสุดท้าย คือ กล้องโทรทรรศน์แบบหักเหแสงมีราคาแพงมาก เมื่อเทียบกับกล้องโทรทรรศน์แบบสะท้อนแสงที่มีขนาดเท่ากัน ทั้งนี้เนื่องมาจากขั้นตอนที่ค่อนข้างซับซ้อนของการขัดเลนส์สำหรับสร้างกล้อง (การขัดเลนส์สำหรับกล้องโทรทรรศน์แบบหักเหแสงจำเป็นต้องขัดผิวแก้วทั้งสองด้าน ในขณะที่การขัดกระจกสำหรับกล้องโทรทรรศน์แบบสะท้อนแสงจะขัดเพียงด้านเดียวเท่ากันอีกที้งแก้วที่เลือกใช้เป็นวัสดุจะต้องเป็นแก้วคุณภาพสูงที่ปราศจากตำหนิใดๆ กล้องโทรทรรศน์แบบหักเหแสงส่วนใหญ่ในท้องตลาดจึงมีขนาดไม่เกิน180นิ้ว
กล้องโทรทรรศน์แบบหักเหแสงที่ใหญ่ทีสุดในโลกตั้งอยู่ที่หอดูดาว Yerkes Observatory ประเทศสหรัฐอเมริกา โดยมีขนาดหน้ากล้อง3.69 เมตร (90นิ้ว) และมีความยาวกล้อง 700.2 เมตร
อ้างอิง
- วิภู รุโจปการ. เอกภพเพื่อความเข้าใจในธรรมชาติของจักรวาล. กรุงเทพฯ : สำนักพิมพ์ บริษัทนานมีบุ๊คส์พับลิเคชั้นส์ จำกัด. 2546
wikipedia, แบบไทย, วิกิพีเดีย, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด, บทความ, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม, มือถือ, โทรศัพท์, Android, iOS, Apple, โทรศัพท์โมบิล, Samsung, iPhone, Xiomi, Xiaomi, Redmi, Honor, Oppo, Nokia, Sonya, MI, PC, พีซี, web, เว็บ, คอมพิวเตอร์
klxngothrthrrsnhkehaesng xngkvs refracting telescope epnklxngothrthrrsnpraephthaerkthiidrbkarkhidkhnkhuninpi kh s 1608 ody hns lipepxraehy changthaaewntachawhxlnda sungkhnphbkhunsmbtikarkhyayphaphemuxnaelnsnunsxngchinmaeriyngkninrayathiehmaasm txma kalielox kalielxi epnbukhkhlaerkthirierimnaklxngmaichsngektdwngdawemuxpi kh s 1609klxngothrthrrsnhkehaesnghlkkarthwipkhxngklxngothrthrrsnaebbhkehaesngichelnssxngchin khuxthiehnepnthxnyaw odymakcaepnklxngothrthrrsnaebbhkehaesngephraakhwamyawkhxngklxngethakbkhwamyawofkskhxngelnswtthuaelaelnsikltarwmkn klxngothrthrrsnaebbhkehaesngihphaphkhmchdthisudaelaswangthisudinbrrdaklxngothrthrrsn phaphdawthibnthukdwyklxngothrthrrsnaebbhkehaesngcamilksnaepncudklmthismbunaelakhmchdmaknxkcakniklxngothrthrrsnaebbhkehaesngmielnsthngbriewnhnaklxngekhaipidnxy karduaelrksathaidngay aelakarthielnsyudxyukbtwthxkhxngklxngxyangmnkhngthaihklxngothrthrrsnaebbhkehaesngimmikarwangtwkhxngrabbelns Optical Alignment sungepnpyhasakhyinklxngothrthrrsnpraephthxunkhxcakdkhxngklxngothrthrrsnaebbhkehaesngprakaraerk elnsnunthaihaesngkhwamyawkhluntangkn sitangkn hkehphanelnsepnmumimethaknaelamiofksthicudtang kn imrwmepncudediyw phaphthisngektphanklxngcungmisirungxyuthwipaelaimchdecnnkphaphpyhakhwamkhladsikhxngelnsnunkhxngklxngothrthrrsnhkehaesng idmikarkhidkhnelnswtthuephuxprbprungcudofkskhxngaesngsitang ihxyuthicudediywkn odyrabbelnsihmnithukeriykwa elnsxrngkh Achromatic Lens aeplwa immisiephraapyhasirunginphaphcaldnxylngcnaethbsngektimehn withikarichelnsxrngkhsrangklxngepnwithithikhxnkhangihm aetinsmypi kh s 1669 thaihpyhakhwamkhladsipraktihehnnxylng sungkepnwithihnungthichwyid aettwklxngcamikhwamyawhlaysibemtrthaihsngektidimkhlxngtwnk phaphkarichelnsxrngkhaekpyhakhwamkhladrngkhkhxngelnsnunkhxngklxngothrthrrsnhkehaesng khwamkhladsi hrux khwamkhladrngkh ekidcakthrrmchatikhxngaesngthihkehphanelns sungaesngaetlakhwamyawkhluncarwmknthicudofkstangkn pyhakhwamkhladrngkhsamarthaekikhidodytinelnsewaxikchinhnungekhakbelnsnun sungcachwyihaesngtangchwngkhlun tangsi marwmknthicudediywkn elnsprakxbnimichuxwa elnsxrngkh khxcakdxikprakarhnungkhxngklxngothrthrrsnaebbhkehaesng khux aesngaetlakhwamyawkhluncathukdudklunipodyelnsimethakn aelaaesngbangchwngkhlun echn rngsixtraiwoxeltimsamarthphanelnsaekwidely hruxthukdudklunipthnghmd nkdarasastrcungimbbhkehaesngsngektwtthuthxngfainchwngkhlunxltraiwoxeltid khxcakdprakarsudthay khux klxngothrthrrsnaebbhkehaesngmirakhaaephngmak emuxethiybkbklxngothrthrrsnaebbsathxnaesngthimikhnadethakn thngnienuxngmacakkhntxnthikhxnkhangsbsxnkhxngkarkhdelnssahrbsrangklxng karkhdelnssahrbklxngothrthrrsnaebbhkehaesngcaepntxngkhdphiwaekwthngsxngdan inkhnathikarkhdkracksahrbklxngothrthrrsnaebbsathxnaesngcakhdephiyngdanediywethaknxikthingaekwthieluxkichepnwsducatxngepnaekwkhunphaphsungthiprascaktahniid klxngothrthrrsnaebbhkehaesngswnihyinthxngtladcungmikhnadimekin180niw klxngothrthrrsnaebbhkehaesngthiihythisudinolktngxyuthihxdudaw Yerkes Observatory praethsshrthxemrika odymikhnadhnaklxng3 69 emtr 90niw aelamikhwamyawklxng 700 2 emtrxangxingwiphu ruocpkar exkphphephuxkhwamekhaicinthrrmchatikhxngckrwal krungethph sankphimph bristhnanmibukhsphbliekhchns cakd 2546