ในพระพุทธศาสนา กรรม (สันสกฤต: कर्म กรฺม, บาลี: กมฺม) แปลว่า "การกระทำที่ประกอบด้วยเจตนา" ได้แก่ กระทำทางกาย เรียก กายกรรม ทางวาจา เรียก วจีกรรม และทางใจ เรียก มโนกรรม
กรรม 2
กรรม 2 (การกระทำ, การกระทำที่ประกอบด้วยเจตนา ทางกายก็ตาม ทางวาจาก็ตาม ทางใจก็ตาม - Kamma: action; deed)
- อกุศลกรรม (กรรมที่เป็นอกุศล, กรรมชั่ว, การกระทำที่ไม่ดี ไม่ฉลาด ไม่เกิดจากปัญญา ทำให้เสื่อมเสียคุณภาพชีวิต หมายถึง การกระทำที่เกิดจากอกุศลมูล คือ โลภะ โทสะ หรือโมหะ - Akusala-kamma: unwholesome action; evil deed; bad deed) เป็นบาป กรรมชั่ว ความชั่วร้าย ความเสียหาย ความไม่ถูกต้อง ซึ่งให้ผลเป็นความทุกข์ เป็นสิ่งที่ควรเว้น การกระทำบาป กระทำความชั่ว เรียกว่าทำอกุศลกรรม เรียกย่อว่า ทำอกุศล หรือเรียกว่า ทำบาปอกุศล อกุศลกรรมเกิดมาจากอกุศลมูลอย่างใดอย่างหนึ่งใน 3 อย่างคือ โลภะ โทสะ โมหะ เพราะเมื่อเกิดอย่างใดอย่างหนึ่งเกิดขึ้นแล้วก็เป็นเหตุชักนำใจให้คิดทำอกุศลกรรม เช่นเมื่อโลภะเกิดขึ้นก็เป็นเหตุให้คิดอยากได้ เมื่ออยากได้ก็แสวงหา เมื่อไม่ได้ตามต้องการด้วยวิธีสุจริต ก็เป็นเหตุให้ทำอกุศลกรรมอื่นต่อไป เช่น ลักขโมย ปล้น จี้ ฉ้อโกง เป็นต้น
- กุศลกรรม (กรรมที่เป็นกุศล, กรรมดี, การกระทำที่ดี ฉลาด เกิดจากปัญญา ส่งเสริมคุณภาพของชีวิตจิตใจ หมายถึง การกระทำที่เกิดจากกุศลมูล คืออโลภะ อโทสะ หรืออโมหะ -Kusala-kamma: wholesome action; good deed) เป็นบุญ ความดี ความถูกต้อง ซึ่งให้ผลเป็นความสุขโดยส่วนเดียว การทำบุญ การทำความดี เรียกว่า ทำกุศลกรรม หรือเรียกย่อว่าทำกุศล กุศลกรรมที่ควรทำเป็นประจำได้แก่ ให้ทาน เสียสละ รักษาศีล อบรมจิตใจ เจริญภาวนา เรียกย่อว่าบำเพ็ญทาน ศีล ภาวนา ซึ่งสามารถทำได้โดยบรรเทาความโลภ ความโกรธ ความหลงให้น้อยลง เพราะถ้ายังมีความโลภ ความโกรธ ความหลงเต็มจิตอยู่ ก็ไม่สามารถทำกุศลกรรมอะไรได้
การจำแนกประเภทของกรรม
กรรมดี หรือ กรรมชั่วก็ตาม กระทำทางกาย วาจา หรือทางใจก็ตาม สามารถจำแนกอีก เป็นประเภทต่าง ๆ ได้หลายแบบ ดังนี้
- กรรมจำแนกตามเวลาการให้ผลของกรรม (ปากกาลจตุกะ) 4 อย่าง
- กรรมจำแนกตามหน้าที่ของกรรม (กิจจตุกะ) 4 อย่าง
- กรรมจำแนกตามลำดับการให้ผลของกรรม (ปากทานปริยายจตุกะ) 4 อย่าง
- กรรมจำแนกตามฐานที่ให้เกิดผลของกรรม (ปากฐานจตุกะ) 4 อย่าง
จำแนกตามเวลาการให้ผลของกรรม
การกระทำทางกาย วาจา ใจ ทั้งที่เป็นฝ่ายดีหรือไม่ดีก็ตาม ย่อมตอบสนองแก่ผู้กระทำ ไม่เร็วก็ช้า เวลาใดเวลาหนึ่ง กรรมจำแนกตามเวลาการให้ผลของกรรม (ปากกาลจตุกะ) แสดงกำหนดเวลา แห่งการให้ผลของกรรม มี 4 อย่าง คือ
- ทิฏฐธรรมเวทนียกรรม หมายถึง กรรมที่ให้ผลในปัจจุบัน คือในภพนี้
- อุปปัชชเวทนียกรรม หมายถึง กรรมที่ให้ผลในภพที่จะไปเกิด คือในภพหน้า
- อปราปริเวทนียกรรม หมายถึง กรรมที่ให้ผลในภพต่อ ๆ ไป
- อโหสิกรรม หมายถึง กรรมเลิกให้ผล ไม่มีผลอีก
จำแนกตามหน้าที่ของกรรม
กรรมจำแนกตามหน้าที่การงานของกรรม (กิจจตุกะ) กรรมมีหน้าที่ ที่จะต้องกระทำสี่อย่าง คือ
- ชนกกรรม หมายถึง กรรมที่เป็นตัวนำไปเกิด กรรมแต่งให้เกิด
- อุปัตถัมภกกรรม หมายถึง กรรมสนับสนุน กรรมที่ช่วยสนับสนุนหรือซ้ำเติม ต่อจากชนกกรรม
- อุปปีฬกรรม หมายถึง กรรมบีบคั้น กรรมที่มาให้ผล บีบคั้นผลแห่งชนกกรรมและอุปัตถัมภกกรรมนั้น ให้แปรเปลี่ยนทุเลาลงไป บั่นทอนวิบากมิให้เป็นไปได้นาน
- อุปฆาตกกรรม หมายถึง กรรมตัดรอน กรรมที่แรงฝ่ายตรงข้ามกับชนกกรรมและอุปัตถัมภกกรรม เข้าตัดรอนการให้ผลของกรรมทั้งสองอย่างนั้น ให้ขาดไปเสียทีเดียว
จำแนกลำดับการให้ผลของกรรม
กรรมจำแนกตามลำดับการให้ผลของกรรม (ปากทานปริยายจตุกะ) จำแนกตามความยักเยื้อง หรือ ลำดับความแรงในการให้ผล 4 อย่าง
- ครุกรรม หรือ ครุกกรรม (หนังสือพุทธธรรมสะกดครุกกรรม หนังสือกรรมทีปนีสะกดครุกรรม) หมายถึง กรรมหนัก ให้ผลก่อน เช่น ฌานสมาบัติ 8 หรือ อนันตริยกรรม จัดเป็นกรรมที่หนักที่สุด ให้ผลเร็วและแรง มีทั้งฝ่ายที่เป็นกุศลคือฝ่ายดีและฝ่ายที่เป็นอกุศลคือฝ่ายไม่ดี ครุกรรมที่เป็นกุศลได้แก่ ๘ ผู้ได้ฌานสมาบัติชื่อว่าได้ทำกรรมฝ่ายกุศลที่ดีที่สุด เมื่อสิ้นชีวิตแล้วย่อมได้เกิดในพรหมโลกทันที ส่วนครุกรรมที่เป็นอกุศลได้แก่อนันตริยกรรม ๕ มี ฆ่าบิดา ฆ่ามารดา เป็น ผู้ทำอนันตริยกรรมชื่อว่าได้ทำกรรมฝ่ายอกุศลที่ร้ายแรงที่สุด เมื่อสิ้นชีวิตแล้วย่อมเกิดในนรกทันที ครุกรรมย่อมให้ผลก่อนกรรมอื่นเสมอ อุปมาเหมือนวัวแก่มีกำลังน้อย แต่ยืนอยู่ตรงปากประตูคอกพอดี ย่อมจะออกจากคอกได้ก่อนวัวหนุ่มอื่นๆ ทั้งหลาย ฉะนั้น
- พหุลกรรม หรือ อาจิณกรรม หมายถึง กรรมที่ทำมาก หรือ ทำจนเคยชิน ให้ผลรองจากครุกรรม
- อาสันนกรรม หมายถึง กรรมจวนเจียน หรือ กรรมใกล้ตาย คือกรรมที่ทำเมื่อจวนจะตาย จับใจอยู่ใหม่ ๆ ถ้าไม่มีสองข้อก่อน ก็จะให้ผลก่อนอื่น
- กตัตตากรรม หรือ กตัตตาวาปนกรรม (กตตฺตา-สิ่งที่เคยทำไว้, วา ปน-ก็หรือว่า, กมฺม-กรรม) หมายถึง กรรมอื่นที่เคยทำไว้แล้ว นอกจากกรรม 3 อย่างข้างต้น, ฏีกากล่าวว่า กรรมนี้ให้ผลในชาติที่ 3 เป็นต้นไป กรรมนี้จึงจะให้ผล เป็นกรรมทั้งฝ่ายดีและไม่ดีที่ทำไปโดยไม่ได้ตั้งใจ ไม่มีเจตนาจะให้เป็นอย่างนั้น กรรมที่ทำไว้ด้วยเจตนาอันอ่อน หรือมิใช่เจตนาอย่างนั้นโดยตรง ภาษาวินัยว่าเป็นอจิตตกะ ทำไปก็สักแต่ว่าทำ แม้มีโทษก็ไม่รุนแรง ถือว่าเป็นกรรมที่มีโทษเบาที่สุดในบรรดากรรมทั้งหลาย ถ้าไม่มีกรรมที่หนักกว่าเช่นพหุลกรรม หรือต่อเมื่อไม่มีกรรมอันอื่นให้ผลแล้ว กรรมนี้จึงจะให้ผล กรรมข้อนี้ ท่านเปรียบเหมือนคนบ้ายิงลูกศร เพราะคนปกติที่ไม่มีฤทธิ์จะไม่รู้เลยว่า เป็นกรรมอะไรที่จะมาให้ผลนำเกิด เนื่องจากทำไว้ในอดีตชาตินั่นเอง
จำแนกตามฐานที่ให้เกิดผลของกรรม
กรรมจำแนกตามฐานที่ให้เกิดผลของกรรม (ปากฐานจตุกะ) แสดงที่ตั้งแห่งผลของกรรมสี่อย่าง เป็นการแสดงกรรมโดยอภิธรรมนัย (ข้ออื่น ๆ ข้างต้นเป็นการแสดงกรรมโดยสุตตันตนัย)
- อกุศลกรรม
- กามาวจรกุศลกรรม
- รูปาวจรกุศลกรรม
- อรูปาวจรกุศลกรรม
จำแนกตามการกระทำ
- กายกรรม หมายถึง การกระทำทางกาย คือทำกรรมด้วยกาย ไม่ว่าจะทำกรรมชั่วหรือกรรมดี กายกรรมทางชั่ว มี 3 อย่าง คือ ฆ่าสัตว์ ลักทรัพย์ ประพฤติผิดในกาม เรียกอีกอย่างหนึ่งว่า กายทุจริต แปลว่า ประพฤติชั่วทางกาย กายกรรมทางดี มี 3 อย่างคือ ไม่ฆ่าสัตว์ ไม่ลักทรัพย์ ไม่ประพฤติผิดในกาม เรียกอีกอย่างหนึ่งว่า กายสุจริต แปลว่า ประพฤติชอบทางกาย
- วจีกรรม หมายถึง การกระทำทางวาจา วจีกรรมที่เป็นกุศล มี4 อย่าง.คือ.ไม่พูดเท็จ,ไม่พูดส่อเสียด,ไม่พูดคำหยาบคาย และไม่พูดเพ้อเจ้อ..ส่วนวจีกรรมที่เป็นอกุศลจะตรงกันข้าม.
- มโนกรรม หมายถึง การกระทำทางใจ คือ ทำกรรมด้วยการคิด ไม่ว่าจะทำกรรมชั่วหรือกรรมดี มโนกรรมทางชั่ว มี 3 อย่าง คือ โลภ อยากได้ของเขา พยาบาทปองร้ายเขา เห็นผิดจากคลองธรรม เรียกอีกอย่างว่า มโนทุจริต (แปลว่า ประพฤติชั่วด้วยใจ) มโนกรรมทางดี มี 3 อย่าง คือ ไม่โลภอยากได้ของเขา ไม่พยาบาทปองร้ายเขา เห็นชอบตามคลองธรรม เรียกอีกอย่างหนึ่งว่า มโนสุจริต (แปลว่า ประพฤติชอบด้วยใจ)
กรรมดำ กรรมขาว
นอกจากเรื่องของกรรมดีกรรมชั่วแล้ว ยังมีการอธิบายกรรมอีกนัยหนึ่ง โดยอธิบายถึงกรรมดำกรรมขาว จำแนกเป็นกรรม 4 ประการ คือ
- กรรมดำมีวิบากดำ ได้แก่ บุคคลบางคนในโลกนี้ ย่อมปรุงแต่งกาย วาจา ใจ อันมีความเบียดเบียนบุคคลอื่น ย่อมได้เสวยเวทนาที่มีความเบียดเบียน เป็นทุกข์โดยส่วนเดียว เช่น เป็นผู้ฆ่ามารดา ฆ่าบิดา ฆ่าพระอรหันต์ มีจิตประทุษร้ายต่อพระตถาคต ยังพระโลหิตให้ห้อขึ้น ทำลายสงฆ์ให้แตกกัน ฆ่าสัตว์ ลักทรัพย์ ประพฤติผิดในกาม พูดเท็จ ดื่มน้ำเมา
- กรรมขาวมีวิบากขาว ได้แก่ บุคคลบางคนในโลกนี้ ย่อมปรุงแต่งกาย วาจา ใจ อันมีไม่ความเบียดเบียนบุคคลอื่น ย่อมได้เสวยเวทนาที่ไม่มีความเบียดเบียน เป็นสุขโดยส่วนเดียว เช่น เป็นผู้งดเว้นจากการฆ่าสัตว์ จากการลักทรัพย์ จากการประพฤติผิดในกาม จากการพูดเท็จ จากการพูดส่อเสียด จากการพูดคำหยาบ จากการพูดเพ้อเจ้อ ไม่มากไปด้วยความเพ่งเล็งอยากได้ มีจิตไม่พยาบาท มีความเห็นชอบ
- กรรมทั้งดำทั้งขาวมีวิบากทั้งดำทั้งขาว ได้แก่ บุคคลบางคนในโลกนี้ ย่อมปรุงแต่งกาย วาจา ใจ อันมีความเบียดเบียนบุคคลอื่นบ้าง ไม่ความเบียดเบียนบุคคลอื่นบ้าง ย่อมได้เสวยเวทนาที่มีความเบียดเบียนบ้าง ไม่ความเบียดเบียนบ้าง มีทั้งสุขและทั้งทุกข์ระคนกัน
- กรรมไม่ดำไม่ขาวมีวิบากไม่ดำไม่ขาว ได้แก่ เจตนาใดเพื่อละกรรมดำอันมีวิบากดำ เจตนาใดเพื่อละกรรมขาวอันมีวิบากขาว และเจตนาใดเพื่อละกรรมทั้งดำทั้งขาวมีวิบากทั้งดำทั้งขาว ย่อมเป็นไปเพื่อความสิ้นกรรม เช่น ผู้ปฏิบัติตามมรรคมีองค์แปด โพชฌงค์เจ็ด
กฎแห่งกรรม
กฎแห่งกรรม คือ กฎธรรมชาติ ข้อหนึ่ง ที่ว่าด้วยการกระทำ และผลแห่งการกระทำ ซึ่ง การกระทำและ ผลแห่งการกระทำนั้น ย่อมสมเหตุ สมผลกัน คือ บุคคลทำกรรมเช่นไรย่อมได้รับ"ผลของกรรม"เช่นนั้น เป็นต้น
- กรรมใดใครก่อ ตนเองเท่านั้นที่จะได้รับผลของสิ่งที่กระทำ
- ผลกรรมในปัจจุบันเป็นกรรมคือเจตนาที่ทำมาในอดีต และกรรมคือเจตนาที่ก่อไว้ในปัจจุบันเป็นเหตุที่จะส่งผลสืบเนื่องต่อไปยังอนาคต
- กรรมเกิดจากผัสสะ ดับกรรมดับที่ผัสสะ
"กรรมที่ทำให้ส่งผลมีอยู่ กรรมที่ช่วยสนันสนุนมีอยู่ กรรมที่ผ่อนหนักให้เบามีอยู่ กรรมที่ส่งผลแรงตรงกันข้ามตัดกรรมที่จะส่งผลเดิมมีอยู่"
"กรรมไม่ได้เกิดจากผู้อื่นดลบรรดาล ไม่ได้เกิดจากตนเองดลบรรดาล ไม่ได้เกิดจากทั้งตนเองและผู้อื่นดลบรรดาล ไม่ได้เกิดขึ้นมาลอยๆ"
"ขันธ์5คือกายนี้ กายนี้คือกรรมเก่า กายนี้ไม่ใช่ของเธอเธอจงละมันเสีย อารมไม่ใช่ของเธอเธอจงละมันเสีย ความจำไม่ใช่ของเธอเธอจงละมันเสีย การปรุงแต่งทั้งหลายไม่ใช่ของเธอเธอจงละมันเสีย ใจนี้ไม่ใช่ของเธอเธอจงละมันเสีย ผู้ไม่ยึดเอาว่ากรรมนี้หรือขันธ์5นี้ว่าเป็นของเรา ใครเล่าจะรับผลของกรรมนั้น" (R-non Infor)..
ว่าเดิม)
สัตว์ทั้งหลายเป็นทายาทแห่งกรรม มีกรรมเป็นกำเนิด มีกรรมเป็นเผ่าพันธุ์ มีกรรมเป็นที่พึ่งอาศัย กรรมย่อมจำแนกสัตว์ให้เลวและประณีตได้
กมฺมุนา วตฺตติโลโก สัตว์โลกย่อมเป็นไปตามกรรม
— พุทธสุภาษิต
อ้างอิง
- องฺ.ติก.20/445/131,551/338; ขุ.อิติ.25/208/248;242/272.
- พระธรรมกิตติวงศ์ (ทองดี สุรเตโช) ป.ธ. ๙ ราชบัณฑิต พจนานุกรมเพื่อการศึกษาพุทธศาสน์ ชุด คำวัด, วัดราชโอรสาราม กรุงเทพฯ พ.ศ. 2548
- (จูฬกัมมวิภังคสูตร พระไตรปิฎก เล่มที่ ๑๔)
- "พระอภิธัมมัตถสังคหะ".และ"อภิธัมมัตถวิภาวินีฎีกา".
- พระพุทธโฆษาจารย์. "คัมภีร์พระวิสุทธิมรรค".
- พระธรรมปิฎก (ประยุทธ์ ปยุตฺโต). "พจนานุกรมพุทธศาสน์ ฉบับประมวลธรรม".
- พระพรหมโมลี (วิลาศ ญาณวโร). "กรรมทีปนี".
- "อัฏฐสาลินีอรรถกถา".
- อังคุตตรนิกาย จตุกกนิบาต กรรมวรรค
- จูฬกัมมวิภังคสูตร
- วาเสฏฐสูตร
- พระอภิธรรมออนไลน์.
แหล่งข้อมูลอื่น
- Trikaya del Lama Kunsal Kassapa 2011-10-05 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน
- Karma by
- Dhammapada Verse 128 Suppabuddhasakya Vatthu Story about the Buddha and Suppabuddha, father of the Buddha's former wife
- Misunderstandings of the Law of Kamma by
- Five Conditions or Laws of Dhamma in Buddhism 2011-10-12 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน by Lakshan Bandara
- อ่านกฎแห่งกรรม
wikipedia, แบบไทย, วิกิพีเดีย, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด, บทความ, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม, มือถือ, โทรศัพท์, Android, iOS, Apple, โทรศัพท์โมบิล, Samsung, iPhone, Xiomi, Xiaomi, Redmi, Honor, Oppo, Nokia, Sonya, MI, PC, พีซี, web, เว็บ, คอมพิวเตอร์
inphraphuththsasna krrm snskvt कर म kr m bali km m aeplwa karkrathathiprakxbdwyectna idaek krathathangkay eriyk kaykrrm thangwaca eriyk wcikrrm aelathangic eriyk monkrrmkrrm 2krrm 2 karkratha karkrathathiprakxbdwyectna thangkayktam thangwacaktam thangicktam Kamma action deed xkuslkrrm krrmthiepnxkusl krrmchw karkrathathiimdi imchlad imekidcakpyya thaihesuxmesiykhunphaphchiwit hmaythung karkrathathiekidcakxkuslmul khux olpha othsa hruxomha Akusala kamma unwholesome action evil deed bad deed epnbap krrmchw khwamchwray khwamesiyhay khwamimthuktxng sungihphlepnkhwamthukkh epnsingthikhwrewn karkrathabap krathakhwamchw eriykwathaxkuslkrrm eriykyxwa thaxkusl hruxeriykwa thabapxkusl xkuslkrrmekidmacakxkuslmulxyangidxyanghnungin 3 xyangkhux olpha othsa omha ephraaemuxekidxyangidxyanghnungekidkhunaelwkepnehtuchknaicihkhidthaxkuslkrrm echnemuxolphaekidkhunkepnehtuihkhidxyakid emuxxyakidkaeswngha emuximidtamtxngkardwywithisucrit kepnehtuihthaxkuslkrrmxuntxip echn lkkhomy pln ci chxokng epntn kuslkrrm krrmthiepnkusl krrmdi karkrathathidi chlad ekidcakpyya sngesrimkhunphaphkhxngchiwitcitic hmaythung karkrathathiekidcakkuslmul khuxxolpha xothsa hruxxomha Kusala kamma wholesome action good deed epnbuy khwamdi khwamthuktxng sungihphlepnkhwamsukhodyswnediyw karthabuy karthakhwamdi eriykwa thakuslkrrm hruxeriykyxwathakusl kuslkrrmthikhwrthaepnpracaidaek ihthan esiysla rksasil xbrmcitic ecriyphawna eriykyxwabaephythan sil phawna sungsamarththaidodybrrethakhwamolph khwamokrth khwamhlngihnxylng ephraathayngmikhwamolph khwamokrth khwamhlngetmcitxyu kimsamarththakuslkrrmxairidkarcaaenkpraephthkhxngkrrmkrrmdi hrux krrmchwktam krathathangkay waca hruxthangicktam samarthcaaenkxik epnpraephthtang idhlayaebb dngni krrmcaaenktamewlakarihphlkhxngkrrm pakkalctuka 4 xyang krrmcaaenktamhnathikhxngkrrm kicctuka 4 xyang krrmcaaenktamladbkarihphlkhxngkrrm pakthanpriyayctuka 4 xyang krrmcaaenktamthanthiihekidphlkhxngkrrm pakthanctuka 4 xyangcaaenktamewlakarihphlkhxngkrrm karkrathathangkay waca ic thngthiepnfaydihruximdiktam yxmtxbsnxngaekphukratha imerwkcha ewlaidewlahnung krrmcaaenktamewlakarihphlkhxngkrrm pakkalctuka aesdngkahndewla aehngkarihphlkhxngkrrm mi 4 xyang khux thitththrrmewthniykrrm hmaythung krrmthiihphlinpccubn khuxinphphni xuppchchewthniykrrm hmaythung krrmthiihphlinphphthicaipekid khuxinphphhna xprapriewthniykrrm hmaythung krrmthiihphlinphphtx ip xohsikrrm hmaythung krrmelikihphl immiphlxikcaaenktamhnathikhxngkrrm krrmcaaenktamhnathikarngankhxngkrrm kicctuka krrmmihnathi thicatxngkrathasixyang khux chnkkrrm hmaythung krrmthiepntwnaipekid krrmaetngihekid xuptthmphkkrrm hmaythung krrmsnbsnun krrmthichwysnbsnunhruxsaetim txcakchnkkrrm xuppilkrrm hmaythung krrmbibkhn krrmthimaihphl bibkhnphlaehngchnkkrrmaelaxuptthmphkkrrmnn ihaeprepliynthuelalngip bnthxnwibakmiihepnipidnan xupkhatkkrrm hmaythung krrmtdrxn krrmthiaerngfaytrngkhamkbchnkkrrmaelaxuptthmphkkrrm ekhatdrxnkarihphlkhxngkrrmthngsxngxyangnn ihkhadipesiythiediywcaaenkladbkarihphlkhxngkrrm krrmcaaenktamladbkarihphlkhxngkrrm pakthanpriyayctuka caaenktamkhwamykeyuxng hrux ladbkhwamaernginkarihphl 4 xyang khrukrrm hrux khrukkrrm hnngsuxphuthththrrmsakdkhrukkrrm hnngsuxkrrmthipnisakdkhrukrrm hmaythung krrmhnk ihphlkxn echn chansmabti 8 hrux xnntriykrrm cdepnkrrmthihnkthisud ihphlerwaelaaerng mithngfaythiepnkuslkhuxfaydiaelafaythiepnxkuslkhuxfayimdi khrukrrmthiepnkuslidaek 8 phuidchansmabtichuxwaidthakrrmfaykuslthidithisud emuxsinchiwitaelwyxmidekidinphrhmolkthnthi swnkhrukrrmthiepnxkuslidaekxnntriykrrm 5 mi khabida khamarda epn phuthaxnntriykrrmchuxwaidthakrrmfayxkuslthirayaerngthisud emuxsinchiwitaelwyxmekidinnrkthnthi khrukrrmyxmihphlkxnkrrmxunesmx xupmaehmuxnwwaekmikalngnxy aetyunxyutrngpakpratukhxkphxdi yxmcaxxkcakkhxkidkxnwwhnumxun thnghlay chann phhulkrrm hrux xacinkrrm hmaythung krrmthithamak hrux thacnekhychin ihphlrxngcakkhrukrrm xasnnkrrm hmaythung krrmcwneciyn hrux krrmikltay khuxkrrmthithaemuxcwncatay cbicxyuihm thaimmisxngkhxkxn kcaihphlkxnxun ktttakrrm hrux ktttawapnkrrm ktt ta singthiekhythaiw wa pn khruxwa km m krrm hmaythung krrmxunthiekhythaiwaelw nxkcakkrrm 3 xyangkhangtn tikaklawwa krrmniihphlinchatithi 3 epntnip krrmnicungcaihphl epnkrrmthngfaydiaelaimdithithaipodyimidtngic immiectnacaihepnxyangnn krrmthithaiwdwyectnaxnxxn hruxmiichectnaxyangnnodytrng phasawinywaepnxcittka thaipkskaetwatha aemmiothskimrunaerng thuxwaepnkrrmthimiothsebathisudinbrrdakrrmthnghlay thaimmikrrmthihnkkwaechnphhulkrrm hruxtxemuximmikrrmxnxunihphlaelw krrmnicungcaihphl krrmkhxni thanepriybehmuxnkhnbayingluksr ephraakhnpktithiimmivththicaimruelywa epnkrrmxairthicamaihphlnaekid enuxngcakthaiwinxditchatinnexngcaaenktamthanthiihekidphlkhxngkrrm krrmcaaenktamthanthiihekidphlkhxngkrrm pakthanctuka aesdngthitngaehngphlkhxngkrrmsixyang epnkaraesdngkrrmodyxphithrrmny khxxun khangtnepnkaraesdngkrrmodysuttntny xkuslkrrm kamawcrkuslkrrm rupawcrkuslkrrm xrupawcrkuslkrrmcaaenktamkarkratha kaykrrm hmaythung karkrathathangkay khuxthakrrmdwykay imwacathakrrmchwhruxkrrmdi kaykrrmthangchw mi 3 xyang khux khastw lkthrphy praphvtiphidinkam eriykxikxyanghnungwa kaythucrit aeplwa praphvtichwthangkay kaykrrmthangdi mi 3 xyangkhux imkhastw imlkthrphy impraphvtiphidinkam eriykxikxyanghnungwa kaysucrit aeplwa praphvtichxbthangkay wcikrrm hmaythung karkrathathangwaca wcikrrmthiepnkusl mi4 xyang khux imphudethc imphudsxesiyd imphudkhahyabkhay aelaimphudephxecx swnwcikrrmthiepnxkuslcatrngknkham monkrrm hmaythung karkrathathangic khux thakrrmdwykarkhid imwacathakrrmchwhruxkrrmdi monkrrmthangchw mi 3 xyang khux olph xyakidkhxngekha phyabathpxngrayekha ehnphidcakkhlxngthrrm eriykxikxyangwa monthucrit aeplwa praphvtichwdwyic monkrrmthangdi mi 3 xyang khux imolphxyakidkhxngekha imphyabathpxngrayekha ehnchxbtamkhlxngthrrm eriykxikxyanghnungwa monsucrit aeplwa praphvtichxbdwyic krrmda krrmkhawnxkcakeruxngkhxngkrrmdikrrmchwaelw yngmikarxthibaykrrmxiknyhnung odyxthibaythungkrrmdakrrmkhaw caaenkepnkrrm 4 prakar khux krrmdamiwibakda idaek bukhkhlbangkhninolkni yxmprungaetngkay waca ic xnmikhwamebiydebiynbukhkhlxun yxmideswyewthnathimikhwamebiydebiyn epnthukkhodyswnediyw echn epnphukhamarda khabida khaphraxrhnt micitprathusraytxphratthakht yngphraolhitihhxkhun thalaysngkhihaetkkn khastw lkthrphy praphvtiphidinkam phudethc dumnaema krrmkhawmiwibakkhaw idaek bukhkhlbangkhninolkni yxmprungaetngkay waca ic xnmiimkhwamebiydebiynbukhkhlxun yxmideswyewthnathiimmikhwamebiydebiyn epnsukhodyswnediyw echn epnphungdewncakkarkhastw cakkarlkthrphy cakkarpraphvtiphidinkam cakkarphudethc cakkarphudsxesiyd cakkarphudkhahyab cakkarphudephxecx immakipdwykhwamephngelngxyakid micitimphyabath mikhwamehnchxb krrmthngdathngkhawmiwibakthngdathngkhaw idaek bukhkhlbangkhninolkni yxmprungaetngkay waca ic xnmikhwamebiydebiynbukhkhlxunbang imkhwamebiydebiynbukhkhlxunbang yxmideswyewthnathimikhwamebiydebiynbang imkhwamebiydebiynbang mithngsukhaelathngthukkhrakhnkn krrmimdaimkhawmiwibakimdaimkhaw idaek ectnaidephuxlakrrmdaxnmiwibakda ectnaidephuxlakrrmkhawxnmiwibakkhaw aelaectnaidephuxlakrrmthngdathngkhawmiwibakthngdathngkhaw yxmepnipephuxkhwamsinkrrm echn phuptibtitammrrkhmixngkhaepd ophchchngkhecdkdaehngkrrmkdaehngkrrm khux kdthrrmchati khxhnung thiwadwykarkratha aelaphlaehngkarkratha sung karkrathaaela phlaehngkarkrathann yxmsmehtu smphlkn khux bukhkhlthakrrmechniryxmidrb phlkhxngkrrm echnnn epntn krrmidikhrkx tnexngethannthicaidrbphlkhxngsingthikratha phlkrrminpccubnepnkrrmkhuxectnathithamainxdit aelakrrmkhuxectnathikxiwinpccubnepnehtuthicasngphlsubenuxngtxipyngxnakht krrmekidcakphssa dbkrrmdbthiphssa krrmthithaihsngphlmixyu krrmthichwysnnsnunmixyu krrmthiphxnhnkihebamixyu krrmthisngphlaerngtrngknkhamtdkrrmthicasngphledimmixyu krrmimidekidcakphuxundlbrrdal imidekidcaktnexngdlbrrdal imidekidcakthngtnexngaelaphuxundlbrrdal imidekidkhunmalxy khnth5khuxkayni kaynikhuxkrrmeka kayniimichkhxngethxethxcnglamnesiy xarmimichkhxngethxethxcnglamnesiy khwamcaimichkhxngethxethxcnglamnesiy karprungaetngthnghlayimichkhxngethxethxcnglamnesiy icniimichkhxngethxethxcnglamnesiy phuimyudexawakrrmnihruxkhnth5niwaepnkhxngera ikhrelacarbphlkhxngkrrmnn R non Infor waedim stwthnghlayepnthayathaehngkrrm mikrrmepnkaenid mikrrmepnephaphnthu mikrrmepnthiphungxasy krrmyxmcaaenkstwihelwaelapranitid km muna wt ttiolok stwolkyxmepniptamkrrm phuththsuphasitxangxingxng tik 20 445 131 551 338 khu xiti 25 208 248 242 272 phrathrrmkittiwngs thxngdi suretoch p th 9 rachbnthit phcnanukrmephuxkarsuksaphuththsasn chud khawd wdrachoxrsaram krungethph ph s 2548 culkmmwiphngkhsutr phraitrpidk elmthi 14 phraxphithmmtthsngkhha aela xphithmmtthwiphawinidika phraphuththokhsacary khmphirphrawisuththimrrkh phrathrrmpidk prayuthth pyut ot phcnanukrmphuththsasn chbbpramwlthrrm phraphrhmomli wilas yanwor krrmthipni xtthsalinixrrthktha xngkhuttrnikay ctukknibat krrmwrrkh culkmmwiphngkhsutr waestthsutr phraxphithrrmxxniln aehlngkhxmulxunTrikaya del Lama Kunsal Kassapa 2011 10 05 thi ewyaebkaemchchin Karma by Dhammapada Verse 128 Suppabuddhasakya Vatthu Story about the Buddha and Suppabuddha father of the Buddha s former wife Misunderstandings of the Law of Kamma by Five Conditions or Laws of Dhamma in Buddhism 2011 10 12 thi ewyaebkaemchchin by Lakshan Bandara xankdaehngkrrm