หน้านี้มีเนื้อหาเป็นภาษาต่างประเทศ คุณสามารถช่วยพัฒนาหน้านี้ได้ด้วยการแปล ยกเว้นหากเนื้อหาเกือบทั้งหมด ให้แจ้งลบแทน |
ไอกิโด (ญี่ปุ่น: 合気道; โรมาจิ: Aikidō; ikedo) เป็นศิลปะการต่อสู้ญี่ปุ่นสมัยใหม่พัฒนาโดย เป็นการรวมศิลปะการต่อสู้ ปรัชญา และความเชื่อทางศาสนาไว้ด้วยกัน ไอกิโดมักแปลว่า "หนทางแห่งการรวมพลังงานชีวิต" หรือ "หนทางแห่งจิตวิญญาณที่ประสานกัน" เป้าหมายของอุเอะชิบะคือสร้างศิลปะที่ผู้ฝึกฝนใช้ป้องกันตัวและป้องกันไม่ให้คู่ต่อสู้บาดเจ็บด้วย
The version of the "four-direction throw" (shihōnage) with standing attacker and seated defender (hanmi-handachi). The receiver of the throw (uke) is taking a breakfall (ukemi) to reach the ground safely. | |
มุ่งเน้น | and |
---|---|
ประเทศต้นกำเนิด | Japan |
ผู้ให้กำเนิด | |
ผู้มีชื่อเสียง | , , , , , , , , สตีเวน ซีกัล |
Ancestor arts |
ทักษะไอกิโดประกอบด้วยการเคลื่อนไหวที่เปลี่ยนทิศทางโมเมนตัมของท่าโจมตีของคู่ต่อสู้ และการทุ่มหรือล็อกข้อต่อที่ยุติทักษะดังกล่าว
ไอกิโดแผลงมาจากศิลปะการต่อสู้ชื่อ แต่เริ่มเปลี่ยนแปลงไปจากเดิมในปลายคริสต์ทศวรรษ 1920 ส่วนหนึ่งมาจากที่อุเอะชิบะเข้าไปพัวพันกับศาสนานิกาย ในเอกสารของลูกศิษย์ยุคแรกของอุเอะชิบะยังคงใช้คำว่า "ไอกิจูจุสึ"
ลูกศิษย์อาวุโสของอุเอะชิบะมีวิธีการฝึกไอกิโดที่แตกต่างกันขึ้นกับช่วงเวลาที่พวกเขาศึกษากับอาจารย์ ปัจจุบันพบไอกิโดทั่วโลกในหลายรูปแบบ โดยมีพิสัยการตีความและการเน้นฝึกฝนที่กว้าง อย่างไรก็ตามพวกเขาต่างแบ่งปันทักษะที่อุเอะชิบะและเป็นการต่อสู้ที่คำนึงถึงความปลอดภัยของคู่ต่อสู้มากที่สุด
แหล่งกำเนิด และ ปรัชญาพื้นฐาน
คำว่า "ไอกิโด" มาจากตัวอักษร คันจิ 3 ตัว:
- 合 – ไอ– รวม, เป็นอันหนึ่งอันเดียว, เหมาะ
- 気 – คิ – วิญญาน, พลัง, อารมณ์, ศีลธรรม
- 道 – โด้ – แนวทาง, ทางเดิน
คำว่า "" ไม่ได้ปรากฏใน ภาษาญี่ปุ่น นอกเสียจากการกล่าวถึง บูโด ทำให้คำนี้แปลได้หลายอย่าง 合 หมายถึง 'รวม, เป็นอันหนึ่งอันเดียว, มารวมกัน, พบกัน', ตัวอย่างเช่น 合同 (รวม/เป็นอันหนึ่งอันเดียว), 合成 (ประกอบ), 結合 (รวม, เป็นอันหนึ่งอันเดียว, มารวมกัน), 連合 (สหภาพ/พันธมิตร/สมาคม), 統合 (รวม/เป็นอันหนึ่งอันเดียว), และ (เข้าใจตรงกัน) มีความคิดเป็นการ , 知り合う (ทำความรู้จักกัน), 話し合い (พูด/อภิปราย/ต่อรอง), และ 待ち合わせる (นัดพบกัน)
気 บ่อยครั้งใช้อธิบายอารมณ์ เช่น なになに気がする ('ฉันรู้สึก X', เหมือนมีความคิด แต่เป็นแบบที่ไม่ได้ใช้ เหตุผล และ 気持ち (อารมณ์/ความรู้สึก); อาจหมายถึงพลังงาน หรือ แรง เช่น 電気 (ไฟฟ้า) และ磁気 (พลังแม่เหล็ก); อาจใช้กล่าวถึง คุณภาพ หรือ ด้านของคน หรือสิ่งของ เช่น 気質 (วิญญาน/นิสัย/ลักษณะบุคคล)
คำว่า โด้ เห็นได้ใน ศิลปะป้องกันตัว เช่น ยูโด และ เคนโด้ และ ในศิลปะที่สงบ เช่น (โชโด shodō), ศิลปะจัดดอกไม้ญี่ปุ่น (คาโด kadō) และ ศิลปะพิธีดื่มชา (ชาโด chadō or sadō)
ดังนั้น จากมุมมองของภาษา ไอกิโด คือ 'หนทางของการรวมแรงพลังเข้าด้วยกัน' คำว่า ไอคิ กล่าวถึง หลักการของศิลปะป้องกันตัว หรือ เทคนิค ผสมผสานเข้ากับ ท่วงท่าของผู้จู่โจม เพื่อที่จะ ควบคุมท่วงท่าของเขา โดยใช้แรงไม่มาก ผู้ฝึกใช้ ไอคิ aiki โดย เข้าใจจังหวะ และ ความตั้งใจของผู้จู่โจม เพื่อหา จุดที่เหมาะสม และ จังหวะเวลาในการ ใช้ เทคนิคย้อนแรวพลัง
ฉะนั้น วิธีนี้คล้ายมากกับ หลักการ ที่อาจารย์ ผู้ก่อตั้ง วิชายูโด
ประวัติ
ไอกิโด ก่อตั้งโดย อาจารย์ โมริเฮ อุเอชิบะ (植芝 盛平 , 14 ธันวาคม 1883 – 26 เมษายน 1969) โดยผู้ฝึกไอกิโด เรียกอาจารย์ว่า โอเซนเซ Ōsensei ("ครูผู้ยิ่งใหญ่") คำว่า 'ไอกิโด' เกิดขึ้นใน ศตวรรษที่ 20 อาจารย์อุเอชิบะ มีวิสัยทัศน์ว่า ไอกิโด ไม่ได้เป็นแค่การผสมผสานศิลปะป้องกันตัว แต่เป็น การแสดงออกของ ปรัชญาของอาจารย์ ใน เรื่องสันติภาพในจักรวาล และการปรองดอง ในช่วงที่อาจารย์มีชีวิตอยู่ จนถึงปัจจุบัน ไอกิโด พัฒนาการจาก ที่อาจารย์อุเอชิบะเคยศึกษา จนกลายเป็น การแสดงออกของศิลปะป้องกันตัวที่หลากหลาย โดย ผู้ฝึกทั่วโลก
ช่วงบุกเบิก
อาจารย์อุเอชิบะ พัฒนาวิชาไอกิโด ส่วนใหญ่ในช่วง ปลาย ค.ศ. 1920 จนถึง 1930 โดยการผสมผสาน ศิลปะป้องกันตัวดั้งเดิมที่อาจารย์เคยเรียนมา แก่นของศิลปะป้องกันตัว ที่ไอกิโด นำมาประยุกค์ใช้คือ ไดโต-ริว ไอคิ-ยิวยิทสู ที่อาจารย์ อุเอชิบะ เรียนมาโดยตรง จากอาจารย์ ทาเคดะ โซคาคุ ผู้ฟื้นคืนศิลปะเหล่านั้น นอกจากนั้น ได้ยินมาว่า อาจารย์อุเอชิบะ เคยได้ร่ำเรียน เทนจิน ชินโยริว กับอาจารย์ โทซาว่า โทคุซาบุโร่ Tozawa Tokusaburō ในกรุงโตเกียว ในปี 1901 และเรียนกับ โกโทฮา ยากิว ชินกัน-ริว ภายใต้ นาคาอิ มาซาคัทสุ Nakai Masakatsu ที่เมือง ซาไก Sakai จากปี 1903 ถึง 1908 และเรียน ยูโด ยูโด กับ คิโยอิชิ ทาคากิ Kiyoichi Takagi (高木 喜代子 Takagi Kiyoichi, 1894–1972) ที่เมือง ทานาเบ้ ในปี 1911
ศิลปะ ไดโต-ริว Daitō-ryū เป็นส่วนสำคัญของ อิทธิพลทางเทคนิค ของวิชา ไอกิโด ที่มากับ การทุ่มมือเปล่า และ เทคนิคการล็อกข้อต่อ อาจารย์อุเอชิบะ รวมท่วงท่าการฝึก เข้ากันกับอาวุธเช่น หอก ทวน (), พลองสั้น () และ ดาบปลายปืน ญี่ปุ่น: 銃剣; โรมาจิ: jūken; bayonet อย่างไรก็ตาม วิชาไอกิโด นำโครงสร้างเชิงเทคนิคมาจาก ศิลปะการฟันดาบ (เคนยุทสุ ).
อาจารย์อุเอชิบะ ย้ายไปอยุ๋ ฮอกไกโด จังหวัดฮกไกโด ในปี 1912 และเริ่มร่ำเรียน ภายใต้ อาจารย์ ทาเคดะ โซคาคุ Takeda Sokaku ในปี 1915 และได้ผูกพันกับ ศิลปะ ไดโต-ริว Daitō-ryū จนถึงปี 1937 แต่ทว่า ช่วงหลังในยุคนั้น อาจารย์อุเอชิบะ ได้เริ่มที่จะ ออกห่างจาก อาจารย์ ทาเคดะ และ ศิลปะ ไดโต-ริว ในตอนนั้น อาจารย์อุเอชิบะ เรียกศิลปะป้องกันตัวของตัวเองว่า "ไอคี บูโด" ไม่แน่ชัดว่า อาจารย์อุเอชิบะ เริ่มใช้ชื่อไอกิโดเมื่อใด แต่ก็กลายเป็นชื่อทางการของศิลปะนี้เมื่อ ค.ศ. 1942 เมื่อสมาคม เกรทเทอร์ แจแปน มาเชี่ยล เวอร์ชู โซไซตี้ () ได้เข้าร่วมใน การจัดระเบียบ และ เข้าสู่ศูนย์กลางของศิลปะป้องกันตัวญี่ปุ่น ที่รัฐบาลให้การสนับสนุน
อิทธิพลจากศาสนา
เมื่ออาจารย์อุเอชิบะ ออกจาก ฮอกไกโด ในปี ค.ศ. 1919 เขาได้พบ และ ประทับใจ โอนิซาบุโร เดกูชิ ผู้นำทางจิตวิญญานของ ศาสนา โอโมโตะ-เคียว (แนวชินโตยุคใหม่) ที่เมือง อายาเบะ หนึ่งในหลักของคำสอนของ โอโมโตะ-เคียว คือการให้ความสำคัญ ในการไปถึง ยูโทเปีย หรือ ภาวะสมบูรณ์แบบให้ได้ก่อนตาย นี่เป็นอิทธิพลสำคัญ ต่ออาจารย์อุเอชิบะในด้านปรัชญาของการส่งต่อ ความรักและความเมตตา โดยเฉพาะผู้ที่ จะมาทำร้ายผู้อื่น ไอกิโด สาธิตปรัชญานี้ โดยเน้นการฝึกให้ชำนาญ เพื่อสามารถรับการจู่โจม และ ผันออกไปโดยไม่มีอันตราย ในสถานการณ์ที่สมบูรณ์แบบนอกจากผู้รับจะไม่เป็นอันตรายแล้ว ผู้ที่โจมตีก็ปลอดภัยด้วย
นอกจากจะได้รับความรู้ทางจิตวิญญานแล้ว การได้รู้จัก เดกูชิ ทำให้อาจารย์อุเอชิบะ ได้เข้าถึง ขุนนางสูงศักดิ์ และทหารผู้ใหญ่ ทำให้ นอกจากจะได้การสนับสนุนทางการเงินแล้ว อาจารย์ยังได้ ลูกศิษย์ที่มีความสามารถ และศิษย์บางคน ก็จะได้ก่อตั้งไอกิโดในแบบต่างๆ ในเวลาต่อมา
การถ่ายทอดไปสู่นานาชาติ
วิชาไอกิโด ถูกนำไปถ่ายทอดสู่นานาชาติในปี ค.ศ. 1951 โดย มิโนรุ โมชิซูกิ เมื่อไปเยือนประเทศ ฝรั่งเศส โดยเขาได้แนะนำเทคนิคไอกิโด ให้กับนักเรียนวิชายูโด หลังจากนั้นก็มี ทาดาชิ อาเบะ ในปี 1952 ผู้ซึ่งมาอย่างเป็นทางการในนามของผู้แทน ไอคิไค ฮอมบู และได้อาศัยในฝรั่งเศสเป็นเวลา 7 ปี ต่อมา เคนจิ โทมิกิ ออกเดินทางกับผู้แทนของสายวิชาป้องกันตัวต่างๆ ไปที่ 15 รัฐในสหรัฐอเมริกาในปี 1953 ต่อมาในปีนั้น โคอิชิ โทเฮ เป็นตัวแทนของ ไอคิไค ฮอมบู ไปสอนที่รัฐฮาวาย รัฐฮาวาย เป็นเวลา 1 ปี โดยเขาได้ก่อตั้งโดโจ dojo สองสามแห่งที่นั่น และยังมี การกลับมาเยือนอีก และถือว่าเป็นการแนะนำไอกิโดอย่างเป็นทางการที่สหรัฐอเมริกา และที่สหราชอาณาจักร ในปี 1955; อิตาลี ในปี 1964 โดย ฮิโรชิ ทาดะ และเยอรมนี ในปี 1965 โดย คัทซูกิ อาไซ "ผู้แทนอย่างเป็นทางการของยุโรปและอาฟริกา" โดย อาจารย์โมริเฮ อุเอชิบะ, มาซามิจิ โนโร เดินทางมาถึง ฝรั่งเศส เดือน กันยายน ปี1961 เซอิชิ ซูกาโน ได้รับการแต่งตั้งให้ แนะนำวิชาไอกิโดที่ ออสเตรเลีย ในปี 1965 ในวันนี้ มีโดโจสอนวิชาไอกิโดอยู่ทั่วโลก
การกำเนิดขึ้นของสไตล์ต่างๆ
องค์กรวิชาไอกิโดที่ใหญ่ที่สุดคือ มูลนิธิไอคิไค ภายใต้การควบคุมของสมาชิกครอบครัวอุเอชิบะ แต่ทว่า วิชาไอกิโดมีหลากหลายสไตล์ แทบทั้งหมดเกิดจาก ศิษย์เอกของอาจารย์อุเอชิบะ
สไตล์แรกที่ปรากฏ คือ โยเซกัง ไอกิโด ก่อตั้งขึ้นโดย มิโนรุ โมชิซูกิ ในปี ค.ศ. 1931 โยชินคัง ไอกิโด Aikido ก่อตั้งขึ้นโดย โกโซ ชิโอดะ ในปี ค.ศ. 1955 และ โชโดกัง ไอกิโด ก่อตั้งขึ้นโดย เคนจิ โทมิกะ ในปี ค.ศ. 1967 การกำเนิดขึ้นของสไตล์ต่างๆ เกิดก่อนการเสียชีวิตของ อาจารย์อุเอชิบะ และไม่ทำให้เกิดความปั่นป่วน แต่ โชโดกังไอกิโด ก่อให้เกิดการโต้แย้ง ด้วยเหตุผลที่ให้มีการแข่งขัน ทำให้บางคนรู้สึกว่า เป็นการสวนทางกับ ปรัชญาของไอกิโด
หลังการเสียชีวิตของ อาจารย์อุเอชิบะ ในปี ค.ศ. 1969 มีการก่อตั้งอีกสองสไตล์ มีการโต้เถียงเป็นอย่างมาก เมื่อมีการลาออกจาก ไอคิไค ฮอมบูโดโจ ของอาจารย์ โคอิชิ โทเฮ ในปี ค.ศ. 1974 โทเฮลาออก เนื่องจากการไม่เห็นด้วยกับบุตรชายผู้ก่อตั้ง คิชโชมารู อุเอชิบะ ผู้ซึ่งเป็นผู้นำ ในมูลนิธิไอคิไคตอนนั้น เรื่องที่ไม่เห็นด้วยคือ การพัฒนากำลังภายใน หรือ คิ ki ในการฝึกไอกิโด หลังจากโทเฮ ลาออกก็ได้ก่อตั้งสไตล์ ชื่อ ชิน ชิน โทอิทสุ ไอกิโด และสมาคมดูแลชื่อ คิ โซไซตี้ (Ki no Kenkyūkai)
สไตล์สุดท้ายที่เกิดขึ้นหลังจากการเกศียนอายุของอาจารย์ อุเอชิบะ ที่เมือง อิวามะ อิบารากิ และ วิธีการสอนของอาจารย์ โมริฮิโร ไซโต้ มีชื่อที่ไม่เป็นทางการว่า อิวามะ สไตล์ "" และผู้ฝึกสไตล์นี้ได้ก่อตั้ง เครือข่ายของโรงเรียน ที่พวกเขาเรียกว่า อิวามะ ริว ถึงแม้ว่า ผู้ฝึกอิวามะสไตล์ จะดำรงอยู่เป็นส่วนหนึ่งกับ ไอคิไคจนกระทั่งการเสียชีวิตของอาจารย์ไซโต้ ในปี 2002 นักเรียนของอาจารย์ไซโต้ ภายหลังก็ได้แยกออกเป็นสองกลุ่ม กลุ่มหนึ่งดำรงอยู่กับ ไอคิไค Aikikai อีกกลุ่มตั้งสมาคมอิสระ ชิน ชิน ไอคิชิวเรน ในปี 2004 โดยดำรงอยู่กับบุตรชายของอาจารย์ไซโต้ ฮิโตฮิโร ไซโต้
ในวันนี้ สไตล์หลักๆ ของไอกิโด ต่างก็มีสมาคมดูแลและมีสำนักงานที่ ญี่ปุ่นและต่างประเทศ ญี่ปุ่น: 本部道場; โรมาจิ: honbu dōjō; headquarters
การฝึก
ในวิชาไอกิโด หรือในวิชาป้องกันตัวทั่วไปของญี่ปุ่น จะมีการฝึกทั้งกายและใจ การฝึกทางกายในวิชาไอกิโดมีหลากหลาย ครอบคลุมทั้ง และเทคนิคเฉพาะ เนื่องจากการฝึกไอกิโด มีท่าทุ่มเยอะ สิ่งแรกที่นักเรียนต้องฝึกคือการกลิ้ง และ ตบเบาะ เทคนิคในการรุกมี ทั้งการกระแทกและยึด เทคนิคในการรับคือ การทุ่มและจับยึด หลังจากเรียนรู้พื้นฐานแล้ว นักเรียนจะเรียน การรับแบบฟรีไสตล์ กับผู้รุกหลายคน และเทคนิคการใช้อาวุธ
ความพอดี
เป้าหมายของการฝึกทางกายของวิชาไอกิโด จะรวมถึงการ ควบคุม การผ่อนคลาย ความยืดหยุ่น , และอดทน แต่ไม่เน้นความแข็งแรงกล้ามเนื้อ strength training ในไอกิโด การผลักออก หรือ การขยายท่วงท่าจะเกิดขึ้นมากกว่าดึงหรือการย่อตัว การฝึกแบบนี้จะถูกนำไปปฏิบัติโดยผู้ฝึกไอกิโดส่วนใหญ่
ในวิชาไอกิโด จะไม่เน้นการสร้างความแข็งแรงแบบแยกกลุ่มกล้ามเนื้อ แต่จะเน้นการฝึกโดยใช้ ท่วงท่าการเคลื่นไหวแบบทั้งตัว คล้ายกับโยคะ โยคะ และ พิลาเท โดโจหลายแห่งเริ่มการฝึกโดยการวอร์ม ญี่ปุ่น: 準備体操; โรมาจิ: 'junbi taisō'; warm-up exercisesโดยการยืดกล้ามเนื้อ และอุเคมิ (ตบเบาะ)
หน้าที่ของอูเกะ uke หรือโทริ tori
การฝึกไอกิโดส่วนใหญ่คือการฝึกโดยการใช้ท่วงท่าที่เตรียมไว้ เรียกว่า คาตะ () แทนที่จะใช้การฝึกแบบฟรีไสตล์ ท่าฝึกพื้นฐานคือ การให้ผู้ได้รับการกระทำหรือ อูเกะ () จู่โจมไปที่ ผู้ที่เป็นผู้กระทำเทคนิค โทริ—the 取り , หรือ ชิเตะ shite 仕手 (แล้วแต่เรียกตามไอกิโดสไตล์) บางทีก็เรียก นาเกะ 投げ nage (เมื่อเป็นผู้ทำการทุ่ม) และใช้ไอกิโดเทคนิคให้การจู่โจมไม่มีผล
หน้าที่ของทั้งนาเกะและอูเกะสำคัญทั้งคู่ ทั้งคู่ฝึกปรัชญาไอกิโด ของการผสมผสานและปรับตัว นาเกะฝึกการ ผสมผสานเข้ากับแรงจู่โจม ขณะที่อุเกะ เรียนการ สงบกาย และ ยืดหยุ่นในภาวะเสียเปรียบ การรับการกระทำเทคนิค เรียกว่าอุเคมิ ukemi อุเกะ Uke พยายามหาการทรงตัวสมดุล และหาช่องที่ผู้อื่นเสียเปรียบ ขณะที่ นาเกะ nage ใช้ตำแหน่งและจังหวะ ทำให้ อุเคะ เสียสมดุลและเสียเปรียบ ในการฝึกขั้นสูง อุเกะ uke บางทีจะประยุกต์การย้อนเทคนิค (reversal techniques ญี่ปุ่น: 返し技; โรมาจิ: kaeshi-waza) ให้ได้สมดุล และทุ่มนาเกะ
อุเคมิ (ญี่ปุ่น: 受身; โรมาจิ: Ukemi) คือการรับการกระทำเทคนิค อุเคมิที่ดี ต้องมีการเอาใจใส่เทคนิค คู่ฝึก และบรรยากาศโดยรอบ เป็นการรับแบบมีพลังมากกว่ารับการรับแบบเฉื่อยชา การล้มเป็นส่วนหนึ่งของวิชาไอกิโด เพื่อให้ผู้ฝึก ได้รับแบบปลอดภัย โดยไม่เกิดการบาดเจ็บรุนแรง
การจู่โจม
ไอกิโดเทคนิค ส่วนใหญ่จะเป็นการป้องกันการจู่โจม ฉะนั้น ผู้ฝึกจะต้องเรียนรู้การจู่โจมหลายแบบเพื่อที่จะฝึกกันได้ ถึงแม้ว่าไอกิโดไม่เน้นฝึกการเข้าจู่โจมเหมือนศาสตร์อื่น แต่การจู่โจมอย่างจริงจัง (การตี หรือจับให้มั่น) ก็จำเป็นต่อการศึกษา และการประยุกต์ของเทคนิค
การเข้าตี ญี่ปุ่น: 打ち; โรมาจิ: uchi; strikes ของวิชาไอกิโด คล้ายการตัดของดาบ ซึ่งแสดงถึงจุดกำเนิดของเทคนิคที่เอาไว้ใช้ในการสงครามติดอาวุธ armed combat การเข้าตีที่คล้ายการชก () ฝึกโดยการเสียบด้วยมีด หรือ ดาบ การเตะจะใช้สำหรับการฝึกระดับสูงด้วยเหตุผลว่า อันตรายจากการเตะมีสูงกว่า และการเตะหรือเตะสูง จะไม่ค่อยพบในสมรภูมิญี่ปุ่นโบราณ การเข้าตีพื้นฐานมีดังนี้
- ญี่ปุ่น: 正面打ち; โรมาจิ: shōmen'uchi; Front-of-the-head strike โชเมนนูชิ การตีแนวตั้งด้วยมือเข้าที่หัว ในการฝึก ส่วนใหญ่จะเล็งที่หน้าผาก แต่ก็มีการฝึกแบบอันตรายเพิ่มขึ้นโดยการเล็งที่สันจมูก หรือเข้าที่โหนกแก้ม
- ญี่ปุ่น: 横面打ち; โรมาจิ: yokomen'uchi; Side-of-the-head strike โยโกเมนนูชิ การตีแนวตั้งด้วยมือเข้าที่ข้างหัว หรือ ข้างคอ
- ญี่ปุ่น: 胸突き; โรมาจิ: mune-tsuki; Chest thrust มูเนส-ุกิ การปล่อยหมัดตรงเข้าที่ลำตัว หรือที่ อก ท้อง หรือ ลิ้นปี่ เหมือนกับ ชูดาน-สุกิ ญี่ปุ่น: 中段突き; โรมาจิ: chūdan-tsuki; "middle-level thrust", และ โชโก-สุกิ ญี่ปุ่น: 直突き; โรมาจิ: ; "direct thrust"
- ญี่ปุ่น: 顔面突き; โรมาจิ: ganmen-tsuki; Face thrust กานเมน-สุกิ การปล่อยหมัดตรงเข้าที่ใบหน้า โจดาน-สุกิ ญี่ปุ่น: 上段突き; โรมาจิ: jōdan-tsuki; "upper-level thrust"
ผู้ฝึกที่พึ่งเริ่มใหม่ จะฝึกเทคนิคการจับยึด เพราะปลอดภัยกว่า และ สามารถรู้สึกถึงพลัง และ แนวทางของแรงได้ดีกว่าการเข้าตี การจับยึดมีประวัติ มาจากการจับเพื่อป้องกันการชักอาวุธ จึงต้องใช้เทคนิคเพื่อหลุดจากการยึด และ เข้าตีผู้จู่โจม ซึ่งกำลังยึดผู้ป้องกันตัวอยู่ ต่อไปนี้เป็นตัวอย่างการจับยึด:
- ญี่ปุ่น: 片手取り; โรมาจิ: katate-dori; Single-hand grab คาตาเต-โดริ การจับมือเดียวเข้าที่ข้อมือ
- ญี่ปุ่น: 諸手取り; โรมาจิ: morote-dori; Both-hands grab โมโรเท-โดริ การจับมือทั้งสองมือที่ข้อมือเดียว คาตาเตเรียวเตะ-โดริ ญี่ปุ่น: 片手両手取り; โรมาจิ: katateryōte-dori; "single hand double-handed grab"
- ญี่ปุ่น: 両手取り; โรมาจิ: ryōte-dori; Both-hands grab เรียวเท-โดริ การจับมือทั้งสองมือที่ข้อมือสองข้าง ญี่ปุ่น: 両片手取り; โรมาจิ: ryōkatate-dori; "double single-handed grab"
- ญี่ปุ่น: 肩取り; โรมาจิ: kata-dori; Shoulder grab คาตา-โดริ การจับไหล่ทั้งสองข้าง ญี่ปุ่น: 両肩取り; โรมาจิ: 'ryōkata-dori' บางครั้งทำควบคู่กับการ เขัตีบนหน้า ญี่ปุ่น: 肩取り面打ち; โรมาจิ: kata-dori men-uchi; Shoulder grab face strike คาตา-โดริเมนูชิ
- ญี่ปุ่น: 胸取り; โรมาจิ: mune-dori or muna-dori; Chest grab มูเน-โดริ หรือ มูนา-โดริ การจับคอเสื้อ ญี่ปุ่น: 襟取り; โรมาจิ: eri-dori; "collar grab" เอริ-โดริ
เทคนิคพื้นฐาน
ต่อไปนี้เป็นตัวอย่างของการทุ่ม และ พินหรือยึดให้หยุดการเคลื่อนไหว เทคนิคเล่านี้มาจาก ไดโตริว ไอคียิวยิทสุ แต่ก็มีที่อาจารย์ อุเอชิบะคิดขึ้นเอง คำศัพท์จะแตกต่างออกไปตามสำนัก และ รูปแบบการฝึกที่หลากหลาย คำศัพท์ในบทความนี้คือที่มาจาก มูลนิธิไอคิไค ข้อควรสังเกตคือชื่อเทคนิคห้าอันแรก ส่วนใหญ่ไม่ได้ถูกสอนตามลำดับ
- ญี่ปุ่น: 一教; โรมาจิ: ikkyō; First technique อิคเคียว การควบคุม โดยใช้มือหนึ่งเข้าที่ข้อศอก และอีกมือหนึ่งเข้าที่ข้อมือ จึงใช้การควบคุมนี้กดให้อุเคะ ลงไปกับพื้น การควบคุมนี้ ใช้แรงดันไปที่ ประสาทบริเวณข้อมือ
- ญี่ปุ่น: 二教; โรมาจิ: nikyō; Second technique นิคเคียว การควบคุมข้อมือโดยหมุนเข้าใน จะเกิดแรงบิดที่แขน และเกิดอาการเจ็บที่แขน จากแรงกด (มีเทคนิคการล็อกแขนเป็นรูปตัว Z ในการเข้าทำแบบอูระ หรือ แบบข้างหลัง)
- ญี่ปุ่น: 三教; โรมาจิ: sankyō; Third technique ซันเคียว การหมุนเข้าล็อกข้อมือ เพื่อให้เกิด แรงดันขึ้นข้างบนไปทั่วแขน ศอกและไหล่
- ญี่ปุ่น: 四教; โรมาจิ: yonkyō; Fourth technique ยนเคียว การควบคุมใหล่ คล้ายอิคเคียว แต่ใช้มือทั้งสองจับที่แขนข้างเดียว ข้อนิ้วด้านฝ่ามือ กดเข้าที่เส้นประสาทในแขนใกล้กระดูก
- ญี่ปุ่น: 五教; โรมาจิ: gokyō; Fifth technique โกเคียว ดูคล้ายกับ อิคเคียวมาก แต่เป็นการจับที่หงายมือขึ้น ใส่แรงบิดเข้าที่แขน และไหล่ และใส่แรงกดดันที่ข้อศอก พบบ่อยในการใช้ปลดมีด หรืออาวุธอื่นๆ
- ญี่ปุ่น: 四方投げ; โรมาจิ: shihōnage; Four-direction throw ชิโฮนาเกะ เป็นการพาแขนให้เลยหัวไหล่ของเรา และล็อกข้อต่อหัวไหล่
- ญี่ปุ่น: 小手返し; โรมาจิ: kotegaeshi; Forearm return โคเทไกชิ การยึดข้อมือ โดยทำให้ กล้ามเนื้อข้อมือ เกิดการยืดตัว
- ญี่ปุ่น: 呼吸投げ; โรมาจิ: kokyūnage; Breath throw โคคิวนาเกะ เป็นคำที่ใช้บ่อยกับหลายๆเทคนิคที่ต่างกันในไอกิโด ส่วยใหญ่เทคนิคเหล่านี้ ไม่ใช้การยึดข้อต่อ
- ญี่ปุ่น: 入身投げ; โรมาจิ: iriminage; Entering throw อิริมินาเกะ การทุ่ม โดยให้ นาเกะ หรือ ผู้เข้าทำ เคลื่อนตัวไปในที่ว่าง ที่ อูเกะ หรือ ผู้รับ คุมพื่นที่อยู่ ดูแล้วคล้ายกับเทคนิคในมวยปล้ำที่เรียกว่า "clothesline" โคล้ทสไลน์ หรือ การเดินเข้าใส่เชือกขึงตากผ้า
- ญี่ปุ่น: 天地投げ; โรมาจิ: tenchinage; Heaven-and-earth throw เทนชินาเกะ เริ่มจากการจับแบบ ryōte-dori เรียวเตะ-โดริ แล้วเข้าข้างหน้า นาเกะ ดึงมือข้างนึงลงต่ำ ("ดิน") และ มืออึกข้างชี้ขึ้นสูง ("ฟ้า") ทำให้ อูเกะ เสียสมดุล และล้มลง
- ญี่ปุ่น: 腰投げ; โรมาจิ: koshinage; Hip throw โคชินาเกะ เป็นการทุ่มโดยใช้สะโพก นาเกะ ย่อสะโพกลง ให้ต่ำกว่า อูเกะ และพลิกอูเกะ ผ่านจุดหมุนที่สะโพก
- ญี่ปุ่น: 十字投げ; โรมาจิ: jūjinage; Figure-ten throw หรือ ญี่ปุ่น: 十字絡み; โรมาจิ: jūjigarami; figure-ten entanglement จูจิการามิ เป็นการทุ่มโดยยึดแขน เข้าด้วยกัน เป็นรูปไม้กางเขน หรือตัวอักษรคันจิ เลขสิบในภาษาญี่ปุ่น (The คันจิ for "10" is a cross-shape: 十)
- ญี่ปุ่น: 回転投げ; โรมาจิ: kaitennage; Rotary throw ไคเทนนาเกะ นาเกะ หมุนมือของอูเกะไปข้างหลังจนล็อก หัวไหล่ แล้วจึงทุ่มไปข้างหน้า
การใช้งาน
ไอกิโดใช้การเคลื่อนไหวของร่างกาย หรือที่เรียกว่า ไทซาบากิ () เพื่อเข้าผสมผสานกับ อูเกะ เช่น "การเข้า" อิริมิ () เทคนิค ประกอบไปด้วยท่วงท่า การเข้าถึง อูเกะ ในขณะที่ "การหมุน" เทนคาน ญี่ปุ่น: 転換; โรมาจิ: tenkan; "turning" ใช้ท่วงท่าการหมุนที่จุดหมุน นอกจากนั้น "ด้านใน" อูชิ ญี่ปุ่น: 内; โรมาจิ: uchi; "inside" เข้าทำด้านหน้าของอูเกะ ขณะที่ "ด้านนอก" โซโตะ ญี่ปุ่น: 外; โรมาจิ: soto; "outside" เข้าทำด้านข้าง "ด้านหน้า" โอโมเทะ ญี่ปุ่น: 表; โรมาจิ: omote; "front" เข้าทำข้างหน้าของอูเกะ และ อูระ ญี่ปุ่น: 裏; โรมาจิ: ura; "rear" เข้าทำด้านหลังของอูเกะ uke โดยการใช้การ หันและหมุน และยังมี เทคนิคท่านั่ง เซซา () โดยที่ หาก อูเกะ และ นาเกะ ยืนขึ้นทั้งคู่ เรียกว่า ทาชิวาซ่า หากทั้งคู่เริ่มด้วยการนั่ง เซซา เรียกว่า ซูวาริวาซ่า หาก อูเกะยืน และนาเกะนั่ง เรียกเทคนิคว่า ฮันมิ ฮันดาชิ
ดัวนั้น จากเทคนิคพื้นฐานประมาณ ยี่สิบท่า สามารถมีการใช้งานได้เป็นพันรูปแบบ เช่น อิคเคียว ใช้กับคู่ต่อสู้ ที่กำลังเข้ามา ได้ทั้งด้านหน้า โอโมเทะ หรือ ด้านหลัง อูระ ท่วงท่าของไอกิโด หรือ ที่เรียกว่า คาตะ ส่วนใหญ่จะเป็นแนวทาง การเข้าทำ [] เช่น คาตาเตโดริ หมายถึง เทคนิคอะไรก็ได้ ที่ใช้เมื่อ อูเกะ จับยึดมข้อมือหนึ่งข้าง แต่ถ้าเรียนกเทคนิด คาตาเตโดริ อิคเคียว โอโมเทะ ให้หมายถึง การเคลื่อนไปข้างหน้า โดยใช้เทคนิค อิคเคียว จากการจับยึดที่แขนหนึ่งข้าง
อาเทมิ (当て身) คือการตีหรือชก ที่ใช้ในไอกิโดเทคนิค บางคนมองว่า อาเทมิ เป็นการเข้าตีจุดอันตราย เช่น อาจารย์ โกโซะ ชิโอดะ อธิบายการใช้ อาเทมิ ตอนมีการอาละวาด เพื่อสงบอันธพาลโดยเร็ว บางคนมองการใช้ อาเทมิ ในการเบี่ยงเบนความสนใจ เพื่อให้ใช้เทคนิคอื่นได้ง่ายขึ้น การชก หรือ ตี ก็ตาม ทำให่เป้าหมายตกใจและเสียสมาธิ ถึงขนาดเสียสมดุลได้ เช่นการผงกหัวขึ้น ทำให้ทุ่มได้ง่ายขึ้น อาจารย์โมริเฮ อุเอชิบะ สอนว่า อาเทมิ เป็นเทคนิคที่สำคัญมาก
อาวุธ
การฝึกอาวุธในไอกิโด ประกอบด้วย พลอง หรือ โจ () ดาบไม้ หรือ โบคเคน () และมีดสั้น หรือ ทันโตะ () ปัจจุบันมี สถานฝึกหลายแห่งได้ประยุกต์ การปลดอาวุธปืนด้วย การเข้าแย่งอาวุธ หรือการรักษาอาวุธ การฝึกสไตล์ อิวามะ ของอาจารย์ โมริฮิโร ไซโต้ ใช้เวลามากกักการฝึกlโบคเคน และ โจ และเรียกการฝึกเช่นนี้ว่า ไอคิเคน และ ไอคิโจ
ผู้ก่อตั้งไอกิโด พัฒนาการต่อสู้มือเปล่า มาจากวัฒนธรรมการใช้ดาบและหอก ทำให้การฝึกท่วงท่าเหล่านี้ ให้เข้าถึง การกำเนิดของเทคนิคและท่วงท่า และมุ่งเน้นความเข้าใจของการกะระยะ การขยับเท้า ความเป็น และการเชื่อมต่อกันของคู่ฝึก
การรุมโจมตี รันโดริ
การฝึกที่สำคัญอีกอย่างของไอกิโด คือการป้องกันตัว เวลาถูกรุม โดยผู้โจมตีหลายคน เรียกว่า ทานินซูโดริ taninzudori หรือ ทานินซูกาเค taninzugake ฟรีสไตล์ รันโดริ หรือ จิยูวาสะ (, or jiyūwaza) ฝึกกับผู้จู่โจมหลายคน เป็นแก่นสำคัญ ในการฝึกระดับสูง "รันโดริ" แปลว่า "ความวุ่นวาย" ฝึกการใช้ เทคนิค ในระดับจิตใต้สำนึก ในภาวะที่ควบคุมไม่ได้ ผู้ฝึกต้องใช้ การเลือกเทคนิค ขึ้นอยู่กับ ตำแหน่งที่ยืนระหว่างผู้ฝึก กับผู้จู่โจม สำคัญมากในการฝึกรันโดริ เช่น การใช้ อูระ เทคนิค เพื่อสงบผู้จู่โจมคนหนึ่ง ในขณะที่หันไปเผชิญ กับผู้จู่โจมอีกคนที่มาดจากด้านหลัง
ในการฝึกโชโดกัน ไอกิโด รันโดริ ฝึกโดยการ ให้ผู้ฝึกสองคน จู่โจม และป้องกัน โดยอิสระ ซึ้งคล้ายกับ รันโดริ ของยูโด
การบาดเจ็บ
ในระหว่างการฝึก ความรับผิดชอบจะตกอยู่กับ นาเกะ ในการป้องกันการบาดเจ็บ ที่จะเกิดกับอูเกะ โดยการใช้ความเร็ว และแรงที่เหมาะสมกับ การใช้ อูเกมิ ของผู้ฝึก อาการบาดเจ็บที่ข้อต่อในไอกิโด ส่วนใหญ่จะเกิดขึ้นจากการที่ นาเกะ กะความสามารถในการรับผิดไป
งานวิจัยเกี่ยวกับการบาดเจ็บในศิลปะป้องกันตัว พบว่า แม้ว่าอาการบาดเจ็บในแต่ละวิชาจะแตกต่างกัน แต่อัตราการบาดเจ็บไม่ค่อยต่างกันเท่าไหร่ อาการบาดเจ็บในไอกิโดส่วนใหญ่เกิดที่เส้นเอ็น และมีรายงานว่า พบกรณีเสียชีวิตสองสามราย จากการโดน "ชิโฮนาเกะ" ในรุปแบบการ รับน้องสไตล์ญี่ปุ่น เฮซซิง
การฝึกจิตใจ
ไอกิโดมีการฝึกทั้งจิตใจ และร่างกาย เน้นการผ่อนคลายร่างกาย และใจ ในภาวะตึงเครียด หรือมีภยันตราย นี่เป็นสิ่งจำเป็นที่จะทำให้ ผู้ฝึกสามารถเข้า และผสมผสานท่วงท่าที่เป็นพื้นฐานของวิชาไอกิโด และเผชิญหน้ากับการโจมตีด้วยความกล้าและเที่ยงตรง อาจารย์อุเอชิบะ เคยกล่าวว่า ผู้ฝึก "ต้องมีความกล้ายอมรับ 99% ของการโจมตีของคู่ต่อสู้ และเผชิญหน้ากับความตาย" จึงจะสามารถทำเทคนิคได้โดยไม่ลังเล ผู้ฝึกวิชาป้องกันตัว ควรตั้งใจฝึกมากกว่าการต่อสู้ และพัฒนาการดำรงค์ชีวิต ในทุกวันด้วย การฝึกแบบนี้ สำคัญมากกับผู้ฝึกวิชาไอกิโด
คำวิจารณ์
ส่วนใหญ่วิชาไอกิโดจะถูกคำวิจารณ์ ว่าขาดความจริงจังในการฝึกฝน การโจมตีโดย อูเกะ (โดยที่ นาเกะต้องป้องกัน) ถูกวิจารณ์ว่า "อ่อนแอ" "ขาดความแม่นยำ" และ "ดีกว่าการโจมตีในการ์ตูนนิดหน่อย" การเข้าทำที่อ่อนแอของ อูเกะ ทำให้ นาเกะ ตอบโต้แบบจำเจ และทำให้ขาดการพัฒนาความแข็งแรง และกล้ามเนื้อ ที่จำเป็นต่อการฝึกอย่างปลอดภัย และมีประสิทธิภาพ ของทั้งคู่ เพื่อรับมือกับสถานการณ์นี้ บางสไตล์ อนุญาตให้ผู้ฝึกลดการยอมกันลง หากฝึกได้นานแล้ว แต่ยังคงปรัชญาของการฝึกไว้ ซึ่งจะทำได้ก็ต่อเมื่อสามารถป้องกันตนเองและคู่ฝึกได้แล้วเท่านั้น โชโดคัง ไอกิโด ได้แก้ปัญหาโดยการอนุญาตให้ผู้ฝึกแข่งขันกันได้อย่างจริงจัง แต่การประยุกต์แบบนี้ก็ทำให้เกิดข้อโต้เถียง บ้างก็บอกว่าไม่มีความจำเป็นที่จะปรับวิธีเพราะ การวิจารณ์ไม่มีเหตุผล หรือไม่ก็ บอกว่าไม่ได้ฝึกป้องกันตัว หรือเพื่อการต่อสู้ แต่เพื่อจิตวิญญาน เพื่อสุขภาพ หรือเหตุผลอื่นๆ
นอกจากนั้น คำวิจารณ์ก็มีเกี่ยวกับช่วงบั้นปลายชีวิตของอาจารย์ อุเอชิบะ ที่อิวามะช่วง ค.ศ. 1942 - กลางปี 1950 ช่วงนั้น อาจารย์ได้เน้นการฝึกจิตวิญญาน และปรัชญาของไอกิโด ดังนั้น การโจมตีเข้าที่ จุดอันตรายโดยนาเกะ หรือ การเข้าอิริมิ หรือ การเริ่มเทคนิคโดยนาเกะ หรือ การแยกแยะระหว่างโอโมเตะกับ อูระเทคนิค หรือการใช้อาวุธ ก็ลดลง จนแทบจะหายไปจากการฝึก การขาดการฝึกในด้านต่างๆเหล่านี้ ทำให้คิดไปได้ว่า เป็นต้นเหตุของการสุญเสียประสิทธิภาพ ของผู้ฝึกไอกิโดบางคน
ในทางกลับกัน มีบางคนวิจารณ์ผู้ฝึกไอกิโด ที่ไม่ให้ความสำคัญอย่างเพียงพอกับการฝึกจิตวิญญาน ที่อาจารย์อุเอชิบะมุ่งเน้น เขาวิจารณ์ว่า "โอเซนเซ ให้กำเนิดไอกิโด โดยหยุดการสืบเนื่องทางความคิด และปรัชญาจากยุคเดิม " ซึ่งก็คือ ผู้ฝึกไอกิโด ที่ยึดแนวทางของ ยิวยิทสู ยิวยิตสู หรือเคนยิทสู กำลังแยกออกจากสิ่งที่อาจารย์อุเอุชิบะสอน คนวิจารณ์แนวนี้ สนับสนุนให้ผู้ฝึกเข้าถึงแนวคิดที่ว่า "การก้าวข้ามทางจิตวิญญาน ที่อาจารย์สอนไว้ คือรากฐาน [] ที่สำคัญ"
พลังคิ
การศึกษาพลังคิ เป็นส่วนสำคัญในวิชาไอกิโด และประกอบไปด้วยการฝึกทั้ง "กาย" และ "ใจ" ตัวอักษรคันจิ คันจิ ของคิ เขียนว่า 氣 เป็นสัญลัษณ์ แสดง ฝาที่ปิดหม้อข้าวที่เต็มอยู่ หรือ "ไออุ่น ที่หล่อเลี้ยง"
อักษรคิ พบบ่อยในคำศัพท์ประจำวันในภาษาญี่ปุ่น เช่น สุขภาพ ญี่ปุ่น: 元気; โรมาจิ: genki; "health", หรือ อาย ญี่ปุ่น: 内気; โรมาจิ: uchiki; "shyness"ส่วนใหญ่ คิ จะนิยามว่าเป็น การรวมกันของกายกับใจ แต่ในแนวทางดั้งเดิมของศิลปะป้องกันตัว จะนิยามว่า "พลังชีวิต" อาจารย์โกโซ ชิโอดะ ของสำนักโยชินคังไอกิโด 's ที่เป็นที่รู้จักกันว่าเป็น "สไตล์แข็ง" ที่ปฏิบัติตามแนวทางของอาจารย์ อุเอชิบะ ช่วงก่อนสงครามโลกครั้งที่สอง สรุปความว่า คิ คือ จังหวะการใช้เทคนิค โดยใช้พลังทั้งหมดของกายมุ่งไปที่จุดหนึ่ง ช่วงบั้นปลายของอาจารย์อุเอชิบะ การใช้ คิ จะเริ่มผ่อนคลายลง มาจากการที่ลูกศิษย์ของอาจารย์ ทาเคมูสึ ไอคิ และลูกศิษย์รุ่นหลังอีกหลายคน ที่สอนเรื่อง คิ จากมุมนี้ สำนักคีโซไซตี้ ของอาจารย์โคอิชิ โทเฮ 's มุ่งเน้นการศึกษาประสบการณ์การพัฒนา คิ โดยแบ่งแยกระดับผู้เรียนไอกิโด และ ผู้เรียนเรื่อง คิออกจากกัน
ชุดฝึก และ ขั้นของระดับการฝึก
ผู้ฝึกไอกิโด (เรียกว่า ไอกิโดกะ นอกประเทศญี่ปุ่น) จะได้เลื่อนขั้นโดยการสอบ "เกรด หรือ คิว" () ตามด้วย"ระดับ หรือ ดั้ง" () บางสำนักใช้สีของสาย เพื่อแยกเกรด ส่วนมากใช้ขาวกับดำ เพื่อแยกเกรดสูงกับต่ำ บางสำนักก็ใช้หลายสี การสอบแต่ละสำนักจะหลากหลาย ดังนั้นระดับของสำนักหนึ่ง อาจเทียบไม่ได้กับอีกสำนัก บางสำนักไม่อนุญาตให้สอบระดับ ดั้ง จนโตกว่าอายุ 16
ระดับ | สาย | สี | ประเภท |
---|---|---|---|
คิว | ขาว | มูดานฉะ mudansha / yūkyūsha | |
ดั้ง | ดำ | ยูดานฉะ yūdansha |
ชุดฝึกไอกิโด เรียกว่า ไอกิโดกี () คล้ายกับชุดของศิลปะป้องกันตัวทั่วไป เคโกจิ () มีกางเกง และเสื้อคลุมสีขาว ทั้งแบบหนา ยูโดสไตล์ ("ยูโด-style") แบบบาง คาราเต้สไตล์ ("คาราเต้-style") เป็นผ้าคอตตอน ชุดสำหรับไอกิโดก็มีที่ทำแขนเสื้อให้สั้นพอดีข้อศอก
สำนักส่วนใหญ่จะมี กางเกงขากว้างสีดำหรือน้ำเงิน เรียกว่า ฮาคามะ (พบในเคนโด้ และ ไอเอโด้ เค็นโด ) ส่วนใหญ่สำหรับ ผู้ฝึกระดับ ดั้ง หรือไม่ก็ครูฝึก บางสำนักก็ให้ใส่ฮาคามะ โดยไม่ต้องมีถึงระดับดั้ง ก็ได้
อ้างอิง
- Saotome, Mitsugi (1989). The Principles of Aikido. Boston, Massachusetts: Shambhala. p. 222. ISBN .
- Westbrook, Adele; Ratti, Oscar (1970). Aikido and the Dynamic Sphere. Tokyo, Japan: Charles E. Tuttle Company. pp. 16–96. ISBN .
- Sharif, Suliaman (2009). 50 Martial Arts Myths. New Media Entertainment. p. 135. ISBN .
- Ueshiba, Kisshōmaru (2004). The Art of Aikido: Principles and Essential Techniques. Kodansha International. p. 70. ISBN .
- Pranin, Stanley (2006). . Encyclopedia of Aikido. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2006-12-06. สืบค้นเมื่อ 2014-04-23.
- Pranin, Stanley (2006). . Encyclopedia of Aikido. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2014-08-26. สืบค้นเมื่อ 2014-04-23.
- Pranin, Stanley (2007). "Aiki". Encyclopedia of Aikido. จากแหล่งเดิมเมื่อ 2007-09-26. สืบค้นเมื่อ 21 August 2007.
- Pranin, Stanley (2007). . Encyclopedia of Aikido. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2014-08-26. สืบค้นเมื่อ 2014-04-23.
- Draeger, Donn F. (1974) Modern Bujutsu & Budo - The Martial Arts and Ways of Japan. New York: Weatherhill. Page 137.
- ; Rinjiro, Shirata (1984). Aikido: The Way of Harmony. Boston, Massachusetts: Shambhala. pp. 3–17. ISBN .
- Pranin, Stanley (2006). . Encyclopedia of Aikido. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2014-03-30. สืบค้นเมื่อ 2014-04-23.
- Pranin, Stanley. . Encyclopedia of Aikido. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2007-10-17. สืบค้นเมื่อ 2014-04-23.
- Oomoto Foundation (2007). "The Teachings". Teachings and Scriptures. Netinformational Commission. จากแหล่งเดิมเมื่อ 2007-08-13. สืบค้นเมื่อ 14 August 2007.
- Shishida, Fumiaki. . Aikido Journal. Berkeley, CA: Shodokan Pub., USA. ISBN . คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2007-09-26. สืบค้นเมื่อ 2014-04-23.
- Pranin, Stanley (2006). . Encyclopedia of Aikido. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2014-08-26. สืบค้นเมื่อ 2014-04-23.
- Pranin, Stanley (2006). . Encyclopedia of Aikido. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2007-09-26. สืบค้นเมื่อ 2014-04-23.
- ; (2002). Aikido: Tradition and the Competitive Edge. Shodokan Publishing USA. ISBN .
- Pranin, Stanley (2006). . Encyclopedia of Aikido. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2007-08-07. สืบค้นเมื่อ 2014-04-23.
- Homma, Gaku (1990). Aikido for Life. Berkeley, California: North Atlantic Books. p. 20. ISBN .
- Pranin, Stanley (2006). . Encyclopedia of Aikido. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2007-10-16. สืบค้นเมื่อ 2014-04-23.
- Homma, Gaku (1990). Aikido for Life. Berkeley, California: North Atlantic Books. pp. 20–30. ISBN .
- Shifflett, C.M. (1999). Aikido Exercises for Teaching and Training. Berkeley, California: North Atlantic Books. ISBN .
- Pranin, Stanley (2008). . Encyclopedia of Aikido. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2014-08-26. สืบค้นเมื่อ 2014-04-23.
- Pranin, Stanley (2008). . Encyclopedia of Aikido. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2008-01-22. สืบค้นเมื่อ 2014-04-23.
- Pranin, Stanley (2008). . Encyclopedia of Aikido. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2008-01-22. สืบค้นเมื่อ 2014-04-23.
- Pranin, Stanley (2008). . Encyclopedia of Aikido. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2008-01-22. สืบค้นเมื่อ 2014-04-23.
- Pranin, Stanley (2008). . Encyclopedia of Aikido. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2008-01-22. สืบค้นเมื่อ 2014-04-23.
- Amdur, Ellis. . Aikido Journal. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2007-10-17. สืบค้นเมื่อ 2014-04-23.
- (1968). Dynamic Aikido. Kodansha International. pp. 52–55. ISBN .
- Taylor, Michael (2004). Aikido Terminology – An Essential Reference Tool In Both English and Japanese. Lulu Press. ISBN .
- ; trans. by Payet, Jacques,; Johnston, Christopher (2000). Aikido Shugyo: Harmony in Confrontation. Shindokan Books. ISBN .
{{}}
: CS1 maint: extra punctuation () CS1 maint: multiple names: authors list () - Scott, Nathan (2000). "Teachings of Ueshiba Morihei Sensei". จากแหล่งเดิมเมื่อ 2006-12-31. สืบค้นเมื่อ 1 February 2007.
- Dang, Phong (2006). Aikido Weapons Techniques: The Wooden Sword, Stick, and Knife of Aikido. Charles E Tuttle Company. ISBN .
- Ratti, Oscar; Westbrook, Adele (1973). Secrets of the Samurai: The Martial Arts of Feudal Japan. Edison, New Jersey: Castle Books. pp. 23, 356–359. ISBN .
- Ueshiba, Kisshomaru; Moriteru Ueshiba (2002). Best Aikido: The Fundamentals (Illustrated Japanese Classics). Kodansha International. ISBN .
- Aikido and injuries: special report by Aiki News 1989;80 (April); partial English translation of article re-printed in Aikido Journal [1] 2007-10-12 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน
- Pranin, Stanley (1983). . Encyclopedia of Aikido. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2008-01-22. สืบค้นเมื่อ 2014-04-23.
- Zetaruk, M; Violán, MA; Zurakowski, D; Micheli, LJ (2005). "Injuries in martial arts: a comparison of five styles". British journal of sports medicine. BMJ Publishing Group. 39 (1): 29–33. doi:10.1136/bjsm.2003.010322. PMC 1725005. PMID 15618336. 15618336. สืบค้นเมื่อ 15 August 2008.
- Hyams, Joe (1979). Zen in the Martial Arts. New York: Bantam Books. pp. 53–57. ISBN .
- Homma, Gaku (1990). Aikido for Life. Berkeley, California: North Atlantic Books. pp. 1–9. ISBN .
- Ueshiba, Morihei; trans. by (1992). The Art of Peace. Boston, Massachusetts: Shambhala Publications, Inc. ISBN .
- (1985). Aikido and the New Warrior. Berkeley, California: North Atlantic Books. pp. 51–57. ISBN .
- Pranin, Stanley (Fall 1990). "Aikido Practice Today". Aiki News. Aiki News. 86. จากแหล่งเดิมเมื่อ 2007-11-21. สืบค้นเมื่อ 2 November 2007.
- Ledyard, George S. (June 2002). "Non-Traditional Attacks". www.aikiweb.com. จากแหล่งเดิมเมื่อ 2008-07-25. สืบค้นเมื่อ 29 July 2008.
- Wagstaffe, Tony (30 March 2007). "In response to the articles by Stanley Pranin – Martial arts in a state of decline? An end to the collusion?". Aikido Journal. www.aikidojournal.com. สืบค้นเมื่อ 29 July 2008.
- Pranin, Stanley (1994). "Challenging the Status Quo". Aiki News. Aiki News. 98. จากแหล่งเดิมเมื่อ 2007-11-21. สืบค้นเมื่อ 2 November 2007.
- Shibata, Minoru J. (2007). "A Dilemma Deferred: An Identity Denied and Dismissed". Aikido Journal. www.aikidojournal.com. จากแหล่งเดิมเมื่อ 2007-11-21. สืบค้นเมื่อ 9 December 2007.
- YeYoung, Bing F. . Literati Tradition. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2007-07-04. สืบค้นเมื่อ 12 February 2007.
- Reed, William (1997). "A Test Worth More than a Thousand Words". จากแหล่งเดิมเมื่อ 2007-06-19. สืบค้นเมื่อ 11 August 2007.
แหล่งข้อมูลอื่น
- AikiWeb Aikido Information— เว็บไอกิโด มีบทความ บทสนทนา รูป คอลัมน์ วิกิ และอื่น ๆ
wikipedia, แบบไทย, วิกิพีเดีย, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด, บทความ, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม, มือถือ, โทรศัพท์, Android, iOS, Apple, โทรศัพท์โมบิล, Samsung, iPhone, Xiomi, Xiaomi, Redmi, Honor, Oppo, Nokia, Sonya, MI, PC, พีซี, web, เว็บ, คอมพิวเตอร์
hnanimienuxhaepnphasatangpraeths khunsamarthchwyphthnahnaniiddwykaraepl ykewnhakenuxhaekuxbthnghmdimichphasaithy ihaecnglbaethn ixkiod yipun 合気道 ormaci Aikidō ikedo epnsilpakartxsuyipunsmyihmphthnaody epnkarrwmsilpakartxsu prchya aelakhwamechuxthangsasnaiwdwykn ixkiodmkaeplwa hnthangaehngkarrwmphlngnganchiwit hrux hnthangaehngcitwiyyanthiprasankn epahmaykhxngxuexachibakhuxsrangsilpathiphufukfnichpxngkntwaelapxngknimihkhutxsubadecbdwyikedo 合気道 The version of the four direction throw shihōnage with standing attacker and seated defender hanmi handachi The receiver of the throw uke is taking a breakfall ukemi to reach the ground safely mungennandpraethstnkaenidJapanphuihkaenidphumichuxesiyng stiewn siklAncestor arts thksaixkiodprakxbdwykarekhluxnihwthiepliynthisthangomemntmkhxngthaocmtikhxngkhutxsu aelakarthumhruxlxkkhxtxthiyutithksadngklaw ixkiodaephlngmacaksilpakartxsuchux aeterimepliynaeplngipcakediminplaykhristthswrrs 1920 swnhnungmacakthixuexachibaekhaipphwphnkbsasnanikay inexksarkhxngluksisyyukhaerkkhxngxuexachibayngkhngichkhawa ixkicucusu luksisyxawuoskhxngxuexachibamiwithikarfukixkiodthiaetktangknkhunkbchwngewlathiphwkekhasuksakbxacary pccubnphbixkiodthwolkinhlayrupaebb odymiphisykartikhwamaelakarennfukfnthikwang xyangirktamphwkekhatangaebngpnthksathixuexachibaaelaepnkartxsuthikhanungthungkhwamplxdphykhxngkhutxsumakthisudaehlngkaenid aela prchyaphunthan ixkiod ekhiynkha khi inaebbtw khawa ixkiod macaktwxksr khnci 3 tw 合 ix rwm epnxnhnungxnediyw ehmaa 気 khi wiyyan phlng xarmn silthrrm 道 od aenwthang thangedin khawa imidpraktin phasayipun nxkesiycakkarklawthung buod thaihkhaniaeplidhlayxyang 合 hmaythung rwm epnxnhnungxnediyw marwmkn phbkn twxyangechn 合同 rwm epnxnhnungxnediyw 合成 prakxb 結合 rwm epnxnhnungxnediyw marwmkn 連合 shphaph phnthmitr smakhm 統合 rwm epnxnhnungxnediyw aela ekhaictrngkn mikhwamkhidepnkar 知り合う thakhwamruckkn 話し合い phud xphipray txrxng aela 待ち合わせる ndphbkn 気 bxykhrngichxthibayxarmn echn なになに気がする chnrusuk X ehmuxnmikhwamkhid aetepnaebbthiimidich ehtuphl aela 気持ち xarmn khwamrusuk xachmaythungphlngngan hrux aerng echn 電気 iffa aela磁気 phlngaemehlk xacichklawthung khunphaph hrux dankhxngkhn hruxsingkhxng echn 気質 wiyyan nisy lksnabukhkhl khawa od ehnidin silpapxngkntw echn yuod aela ekhnod aela insilpathisngb echn ochod shodō silpacddxkimyipun khaod kadō aela silpaphithidumcha chaod chadō or sadō dngnn cakmummxngkhxngphasa ixkiod khux hnthangkhxngkarrwmaerngphlngekhadwykn khawa ixkhi klawthung hlkkarkhxngsilpapxngkntw hrux ethkhnikh phsmphsanekhakb thwngthakhxngphucuocm ephuxthica khwbkhumthwngthakhxngekha odyichaerngimmak phufukich ixkhi aiki ody ekhaiccnghwa aela khwamtngickhxngphucuocm ephuxha cudthiehmaasm aela cnghwaewlainkar ich ethkhnikhyxnaerwphlng chann withinikhlaymakkb hlkkar thixacary phukxtng wichayuodprawtiixkiod kxtngody xacary omrieh xuexchiba 植芝 盛平 14 thnwakhm 1883 26 emsayn 1969 odyphufukixkiod eriykxacarywa oxesnes Ōsensei khruphuyingihy khawa ixkiod ekidkhunin stwrrsthi 20 xacaryxuexchiba miwisythsnwa ixkiod imidepnaekhkarphsmphsansilpapxngkntw aetepn karaesdngxxkkhxng prchyakhxngxacary in eruxngsntiphaphinckrwal aelakarprxngdxng inchwngthixacarymichiwitxyu cnthungpccubn ixkiod phthnakarcak thixacaryxuexchibaekhysuksa cnklayepn karaesdngxxkkhxngsilpapxngkntwthihlakhlay ody phufukthwolk chwngbukebik xacary thaekhda oskhakhu Takeda Sōkaku xacaryxuexchiba phthnawichaixkiod swnihyinchwng play kh s 1920 cnthung 1930 odykarphsmphsan silpapxngkntwdngedimthixacaryekhyeriynma aeknkhxngsilpapxngkntw thiixkiod namaprayukkhichkhux idot riw ixkhi yiwyithsu thixacary xuexchiba eriynmaodytrng cakxacary thaekhda oskhakhu phufunkhunsilpaehlann nxkcaknn idyinmawa xacaryxuexchiba ekhyidraeriyn ethncin chinoyriw kbxacary othsawa othkhusabuor Tozawa Tokusaburō inkrungotekiyw inpi 1901 aelaeriynkb okothha yakiw chinkn riw phayit nakhaxi masakhthsu Nakai Masakatsu thiemuxng saik Sakai cakpi 1903 thung 1908 aelaeriyn yuod yuod kb khioyxichi thakhaki Kiyoichi Takagi 高木 喜代子 Takagi Kiyoichi 1894 1972 thiemuxng thanaeb inpi 1911 silpa idot riw Daitō ryu epnswnsakhykhxng xiththiphlthangethkhnikh khxngwicha ixkiod thimakb karthummuxepla aela ethkhnikhkarlxkkhxtx xacaryxuexchiba rwmthwngthakarfuk ekhaknkbxawuthechn hxk thwn phlxngsn aela dabplaypun yipun 銃剣 ormaci juken bayonet xyangirktam wichaixkiod naokhrngsrangechingethkhnikhmacak silpakarfndab ekhnyuthsu xacaryxuexchiba yayipxyu hxkikod cnghwdhkikod inpi 1912 aelaerimraeriyn phayit xacary thaekhda oskhakhu Takeda Sokaku inpi 1915 aelaidphukphnkb silpa idot riw Daitō ryu cnthungpi 1937 aetthwa chwnghlnginyukhnn xacaryxuexchiba iderimthica xxkhangcak xacary thaekhda aela silpa idot riw intxnnn xacaryxuexchiba eriyksilpapxngkntwkhxngtwexngwa ixkhi buod imaenchdwa xacaryxuexchiba erimichchuxixkiodemuxid aetkklayepnchuxthangkarkhxngsilpaniemux kh s 1942 emuxsmakhm ekrthethxr aecaepn maechiyl ewxrchu osisti idekharwmin karcdraebiyb aela ekhasusunyklangkhxngsilpapxngkntwyipun thirthbalihkarsnbsnun xiththiphlcaksasna oxnisabuor edkuchi Onisaburo Deguchi emuxxacaryxuexchiba xxkcak hxkikod inpi kh s 1919 ekhaidphb aela prathbic oxnisabuor edkuchi phunathangcitwiyyankhxng sasna oxomota ekhiyw aenwchinotyukhihm thiemuxng xayaeba hnunginhlkkhxngkhasxnkhxng oxomota ekhiyw khuxkarihkhwamsakhy inkaripthung yuothepiy hrux phawasmburnaebbihidkxntay niepnxiththiphlsakhy txxacaryxuexchibaindanprchyakhxngkarsngtx khwamrkaelakhwamemtta odyechphaaphuthi camatharayphuxun ixkiod sathitprchyani odyennkarfukihchanay ephuxsamarthrbkarcuocm aela phnxxkipodyimmixntray insthankarnthismburnaebbnxkcakphurbcaimepnxntrayaelw phuthiocmtikplxdphydwy nxkcakcaidrbkhwamruthangcitwiyyanaelw karidruck edkuchi thaihxacaryxuexchiba idekhathung khunnangsungskdi aelathharphuihy thaih nxkcakcaidkarsnbsnunthangkarenginaelw xacaryyngid luksisythimikhwamsamarth aelasisybangkhn kcaidkxtngixkiodinaebbtang inewlatxma karthaythxdipsunanachati wichaixkiod thuknaipthaythxdsunanachatiinpi kh s 1951 ody mionru omchisuki emuxipeyuxnpraeths frngess odyekhaidaenanaethkhnikhixkiod ihkbnkeriynwichayuod hlngcaknnkmi thadachi xaeba inpi 1952 phusungmaxyangepnthangkarinnamkhxngphuaethn ixkhiikh hxmbu aelaidxasyinfrngessepnewla 7 pi txma ekhnci othmiki xxkedinthangkbphuaethnkhxngsaywichapxngkntwtang ipthi 15 rthinshrthxemrikainpi 1953 txmainpinn okhxichi otheh epntwaethnkhxng ixkhiikh hxmbu ipsxnthirthhaway rthhaway epnewla 1 pi odyekhaidkxtngodoc dojo sxngsamaehngthinn aelayngmi karklbmaeyuxnxik aelathuxwaepnkaraenanaixkiodxyangepnthangkarthishrthxemrika aelathishrachxanackr inpi 1955 xitali inpi 1964 ody hiorchi thada aelaeyxrmni inpi 1965 ody khthsuki xais phuaethnxyangepnthangkarkhxngyuorpaelaxafrika ody xacaryomrieh xuexchiba masamici onor edinthangmathung frngess eduxn knyayn pi1961 esxichi sukaon idrbkaraetngtngih aenanawichaixkiodthi xxsetreliy inpi 1965 inwnni miodocsxnwichaixkiodxyuthwolk karkaenidkhunkhxngsitltang xngkhkrwichaixkiodthiihythisudkhux mulnithiixkhiikh phayitkarkhwbkhumkhxngsmachikkhrxbkhrwxuexchiba aetthwa wichaixkiodmihlakhlaysitl aethbthnghmdekidcak sisyexkkhxngxacaryxuexchiba sitlaerkthiprakt khux oyeskng ixkiod kxtngkhunody mionru omchisuki inpi kh s 1931 oychinkhng ixkiod Aikido kxtngkhunody okos chioxda inpi kh s 1955 aela ochodkng ixkiod kxtngkhunody ekhnci othmika inpi kh s 1967 karkaenidkhunkhxngsitltang ekidkxnkaresiychiwitkhxng xacaryxuexchiba aelaimthaihekidkhwampnpwn aet ochodkngixkiod kxihekidkarotaeyng dwyehtuphlthiihmikaraekhngkhn thaihbangkhnrusukwa epnkarswnthangkb prchyakhxngixkiod hlngkaresiychiwitkhxng xacaryxuexchiba inpi kh s 1969 mikarkxtngxiksxngsitl mikarotethiyngepnxyangmak emuxmikarlaxxkcak ixkhiikh hxmbuodoc khxngxacary okhxichi otheh inpi kh s 1974 othehlaxxk enuxngcakkarimehndwykbbutrchayphukxtng khichochmaru xuexchiba phusungepnphuna inmulnithiixkhiikhtxnnn eruxngthiimehndwykhux karphthnakalngphayin hrux khi ki inkarfukixkiod hlngcakotheh laxxkkidkxtngsitl chux chin chin othxithsu ixkiod aelasmakhmduaelchux khi osisti Ki no Kenkyukai sitlsudthaythiekidkhunhlngcakkareksiynxayukhxngxacary xuexchiba thiemuxng xiwama xibaraki aela withikarsxnkhxngxacary omrihior isot michuxthiimepnthangkarwa xiwama sitl aelaphufuksitlniidkxtng ekhruxkhaykhxngorngeriyn thiphwkekhaeriykwa xiwama riw thungaemwa phufukxiwamasitl cadarngxyuepnswnhnungkb ixkhiikhcnkrathngkaresiychiwitkhxngxacaryisot inpi 2002 nkeriynkhxngxacaryisot phayhlngkidaeykxxkepnsxngklum klumhnungdarngxyukb ixkhiikh Aikikai xikklumtngsmakhmxisra chin chin ixkhichiwern inpi 2004 odydarngxyukbbutrchaykhxngxacaryisot hiothior isot inwnni sitlhlk khxngixkiod tangkmismakhmduaelaelamisanknganthi yipunaelatangpraeths yipun 本部道場 ormaci honbu dōjō headquarterskarfukinwichaixkiod hruxinwichapxngkntwthwipkhxngyipun camikarfukthngkayaelaic karfukthangkayinwichaixkiodmihlakhlay khrxbkhlumthng aelaethkhnikhechphaa enuxngcakkarfukixkiod mithathumeyxa singaerkthinkeriyntxngfukkhuxkarkling aela tbebaa ethkhnikhinkarrukmi thngkarkraaethkaelayud ethkhnikhinkarrbkhux karthumaelacbyud hlngcakeriynruphunthanaelw nkeriyncaeriyn karrbaebbfriistl kbphurukhlaykhn aelaethkhnikhkarichxawuth khwamphxdi xuekhmi 受け身 sakhymakinkarfukihplxdphy epahmaykhxngkarfukthangkaykhxngwichaixkiod carwmthungkar khwbkhum karphxnkhlay khwamyudhyun aelaxdthn aetimennkhwamaekhngaerngklamenux strength training inixkiod karphlkxxk hrux karkhyaythwngthacaekidkhunmakkwadunghruxkaryxtw karfukaebbnicathuknaipptibtiodyphufukixkiodswnihy inwichaixkiod caimennkarsrangkhwamaekhngaerngaebbaeykklumklamenux aetcaennkarfukodyich thwngthakarekhlunihwaebbthngtw khlaykboykha oykha aela philaeth odochlayaehngerimkarfukodykarwxrm yipun 準備体操 ormaci junbi taisō warm up exercisesodykaryudklamenux aelaxuekhmi tbebaa hnathikhxngxueka uke hruxothri tori karfukixkiodswnihykhuxkarfukodykarichthwngthathietriymiw eriykwa khata aethnthicaichkarfukaebbfriistl thafukphunthankhux karihphuidrbkarkrathahrux xueka cuocmipthi phuthiepnphukrathaethkhnikh othri the 取り hrux chieta shite 仕手 aelwaeteriyktamixkiodsitl bangthikeriyk naeka 投げ nage emuxepnphuthakarthum aelaichixkiodethkhnikhihkarcuocmimmiphl hnathikhxngthngnaekaaelaxuekasakhythngkhu thngkhufukprchyaixkiod khxngkarphsmphsanaelaprbtw naekafukkar phsmphsanekhakbaerngcuocm khnathixueka eriynkar sngbkay aela yudhyuninphawaesiyepriyb karrbkarkrathaethkhnikh eriykwaxuekhmi ukemi xueka Uke phyayamhakarthrngtwsmdul aelahachxngthiphuxunesiyepriyb khnathi naeka nage ichtaaehnngaelacnghwa thaih xuekha esiysmdulaelaesiyepriyb inkarfukkhnsung xueka uke bangthicaprayuktkaryxnethkhnikh reversal techniques yipun 返し技 ormaci kaeshi waza ihidsmdul aelathumnaeka xuekhmi yipun 受身 ormaci Ukemi khuxkarrbkarkrathaethkhnikh xuekhmithidi txngmikarexaicisethkhnikh khufuk aelabrryakasodyrxb epnkarrbaebbmiphlngmakkwarbkarrbaebbechuxycha karlmepnswnhnungkhxngwichaixkiod ephuxihphufuk idrbaebbplxdphy odyimekidkarbadecbrunaerng karcuocm ixkiodethkhnikh swnihycaepnkarpxngknkarcuocm chann phufukcatxngeriynrukarcuocmhlayaebbephuxthicafukknid thungaemwaixkiodimennfukkarekhacuocmehmuxnsastrxun aetkarcuocmxyangcringcng karti hruxcbihmn kcaepntxkarsuksa aelakarprayuktkhxngethkhnikh karekhati yipun 打ち ormaci uchi strikes khxngwichaixkiod khlaykartdkhxngdab sungaesdngthungcudkaenidkhxngethkhnikhthiexaiwichinkarsngkhramtidxawuth armed combat karekhatithikhlaykarchk fukodykaresiybdwymid hrux dab karetacaichsahrbkarfukradbsungdwyehtuphlwa xntraycakkaretamisungkwa aelakaretahruxetasung caimkhxyphbinsmrphumiyipunobran karekhatiphunthanmidngni yipun 正面打ち ormaci shōmen uchi Front of the head strike ochemnnuchi kartiaenwtngdwymuxekhathihw inkarfuk swnihycaelngthihnaphak aetkmikarfukaebbxntrayephimkhunodykarelngthisncmuk hruxekhathiohnkaekm yipun 横面打ち ormaci yokomen uchi Side of the head strike oyokemnnuchi kartiaenwtngdwymuxekhathikhanghw hrux khangkhx yipun 胸突き ormaci mune tsuki Chest thrust muens uki karplxyhmdtrngekhathilatw hruxthi xk thxng hrux linpi ehmuxnkb chudan suki yipun 中段突き ormaci chudan tsuki middle level thrust aela ochok suki yipun 直突き ormaci direct thrust yipun 顔面突き ormaci ganmen tsuki Face thrust kanemn suki karplxyhmdtrngekhathiibhna ocdan suki yipun 上段突き ormaci jōdan tsuki upper level thrust phufukthiphungerimihm cafukethkhnikhkarcbyud ephraaplxdphykwa aela samarthrusukthungphlng aela aenwthangkhxngaerngiddikwakarekhati karcbyudmiprawti macakkarcbephuxpxngknkarchkxawuth cungtxngichethkhnikhephuxhludcakkaryud aela ekhatiphucuocm sungkalngyudphupxngkntwxyu txipniepntwxyangkarcbyud yipun 片手取り ormaci katate dori Single hand grab khataet odri karcbmuxediywekhathikhxmux yipun 諸手取り ormaci morote dori Both hands grab omoreth odri karcbmuxthngsxngmuxthikhxmuxediyw khataeteriyweta odri yipun 片手両手取り ormaci katateryōte dori single hand double handed grab yipun 両手取り ormaci ryōte dori Both hands grab eriyweth odri karcbmuxthngsxngmuxthikhxmuxsxngkhang yipun 両片手取り ormaci ryōkatate dori double single handed grab yipun 肩取り ormaci kata dori Shoulder grab khata odri karcbihlthngsxngkhang yipun 両肩取り ormaci ryōkata dori bangkhrngthakhwbkhukbkar ekhtibnhna yipun 肩取り面打ち ormaci kata dori men uchi Shoulder grab face strike khata odriemnuchi yipun 胸取り ormaci mune dori or muna dori Chest grab muen odri hrux muna odri karcbkhxesux yipun 襟取り ormaci eri dori collar grab exri odriethkhnikhphunthan rupphaphaesdng xikhekhiyw ikkyō hrux ethkhnikhaerk yngekhiyw Yonkyō kmiklikkhlaykn aetmuxbn yudthihnaaekhn aethnthicaepnsxk txipniepntwxyangkhxngkarthum aela phinhruxyudihhyudkarekhluxnihw ethkhnikhelanimacak idotriw ixkhiyiwyithsu aetkmithixacary xuexchibakhidkhunexng khasphthcaaetktangxxkiptamsank aela rupaebbkarfukthihlakhlay khasphthinbthkhwamnikhuxthimacak mulnithiixkhiikh khxkhwrsngektkhuxchuxethkhnikhhaxnaerk swnihyimidthuksxntamladb yipun 一教 ormaci ikkyō First technique xikhekhiyw karkhwbkhum odyichmuxhnungekhathikhxsxk aelaxikmuxhnungekhathikhxmux cungichkarkhwbkhumnikdihxuekha lngipkbphun karkhwbkhumni ichaerngdnipthi prasathbriewnkhxmux yipun 二教 ormaci nikyō Second technique nikhekhiyw karkhwbkhumkhxmuxodyhmunekhain caekidaerngbidthiaekhn aelaekidxakarecbthiaekhn cakaerngkd miethkhnikhkarlxkaekhnepnruptw Z inkarekhathaaebbxura hrux aebbkhanghlng yipun 三教 ormaci sankyō Third technique snekhiyw karhmunekhalxkkhxmux ephuxihekid aerngdnkhunkhangbnipthwaekhn sxkaelaihl yipun 四教 ormaci yonkyō Fourth technique ynekhiyw karkhwbkhumihl khlayxikhekhiyw aetichmuxthngsxngcbthiaekhnkhangediyw khxniwdanfamux kdekhathiesnprasathinaekhniklkraduk yipun 五教 ormaci gokyō Fifth technique okekhiyw dukhlaykb xikhekhiywmak aetepnkarcbthihngaymuxkhun isaerngbidekhathiaekhn aelaihl aelaisaerngkddnthikhxsxk phbbxyinkarichpldmid hruxxawuthxun yipun 四方投げ ormaci shihōnage Four direction throw chiohnaeka epnkarphaaekhnihelyhwihlkhxngera aelalxkkhxtxhwihl yipun 小手返し ormaci kotegaeshi Forearm return okhethikchi karyudkhxmux odythaih klamenuxkhxmux ekidkaryudtw yipun 呼吸投げ ormaci kokyunage Breath throw okhkhiwnaeka epnkhathiichbxykbhlayethkhnikhthitangkninixkiod swyihyethkhnikhehlani imichkaryudkhxtx yipun 入身投げ ormaci iriminage Entering throw xiriminaeka karthum odyih naeka hrux phuekhathaekhluxntwipinthiwang thi xueka hrux phurb khumphunthixyu duaelwkhlaykbethkhnikhinmwyplathieriykwa clothesline okhlthsiln hrux karedinekhaisechuxkkhungtakpha yipun 天地投げ ormaci tenchinage Heaven and earth throw ethnchinaeka erimcakkarcbaebb ryōte dori eriyweta odri aelwekhakhanghna naekadungmuxkhangnunglngta din aela muxxukkhangchikhunsung fa thaih xueka esiysmdul aelalmlng yipun 腰投げ ormaci koshinage Hip throw okhchinaeka epnkarthumodyichsaophk naeka yxsaophklng ihtakwa xueka aelaphlikxueka phancudhmunthisaophk yipun 十字投げ ormaci jujinage Figure ten throw hrux yipun 十字絡み ormaci jujigarami figure ten entanglement cucikarami epnkarthumodyyudaekhn ekhadwykn epnrupimkangekhn hruxtwxksrkhnci elkhsibinphasayipun The khnci for 10 is a cross shape 十 yipun 回転投げ ormaci kaitennage Rotary throw ikhethnnaeka naekahmunmuxkhxngxuekaipkhanghlngcnlxk hwihl aelwcungthumipkhanghnakarichngan rupprakxbaesdng karthaxikhekhiyw sxngaebb xnaerkipkhanghna one oxometa aela xikxnkhuxipdayhlng xura xanephimetimthikhaxthibaykhaxthibay ixkiodichkarekhluxnihwkhxngrangkay hruxthieriykwa ithsabaki ephuxekhaphsmphsankb xueka echn karekha xirimi ethkhnikh prakxbipdwythwngtha karekhathung xueka inkhnathi karhmun ethnkhan yipun 転換 ormaci tenkan turning ichthwngthakarhmunthicudhmun nxkcaknn danin xuchi yipun 内 ormaci uchi inside ekhathadanhnakhxngxueka khnathi dannxk osota yipun 外 ormaci soto outside ekhathadankhang danhna oxometha yipun 表 ormaci omote front ekhathakhanghnakhxngxueka aela xura yipun 裏 ormaci ura rear ekhathadanhlngkhxngxueka uke odykarichkar hnaelahmun aelayngmi ethkhnikhthanng essa odythi hak xueka aela naekayunkhunthngkhu eriykwa thachiwasa hakthngkhuerimdwykarnng essa eriykwa suwariwasa hak xuekayun aelanaekanng eriykethkhnikhwa hnmi hndachi dwnn cakethkhnikhphunthanpraman yisibtha samarthmikarichnganidepnphnrupaebb echn xikhekhiyw ichkbkhutxsu thikalngekhama idthngdanhna oxometha hrux danhlng xura thwngthakhxngixkiod hrux thieriykwa khata swnihycaepnaenwthang karekhatha aehlngxangxingxacimnaechuxthux echn khataetodri hmaythung ethkhnikhxairkid thiichemux xueka cbyudmkhxmuxhnungkhang aetthaeriynkethkhnid khataetodri xikhekhiyw oxometha ihhmaythung karekhluxnipkhanghna odyichethkhnikh xikhekhiyw cakkarcbyudthiaekhnhnungkhang xaethmi 当て身 khuxkartihruxchk thiichinixkiodethkhnikh bangkhnmxngwa xaethmi epnkarekhaticudxntray echn xacary okosa chioxda xthibaykarich xaethmi txnmikarxalawad ephuxsngbxnthphalodyerw bangkhnmxngkarich xaethmi inkarebiyngebnkhwamsnic ephuxihichethkhnikhxunidngaykhun karchk hrux ti ktam thaihepahmaytkicaelaesiysmathi thungkhnadesiysmdulid echnkarphngkhwkhun thaihthumidngaykhun xacaryomrieh xuexchiba sxnwa xaethmi epnethkhnikhthisakhymak xawuth karfukxawuthinixkiod prakxbdwy phlxng hrux oc dabim hrux obkhekhn aelamidsn hrux thnota pccubnmi sthanfukhlayaehngidprayukt karpldxawuthpundwy karekhaaeyngxawuth hruxkarrksaxawuth karfuksitl xiwama khxngxacary omrihior isot ichewlamakkkkarfuklobkhekhn aela oc aelaeriykkarfukechnniwa ixkhiekhn aela ixkhioc phukxtngixkiod phthnakartxsumuxepla macakwthnthrrmkarichdabaelahxk thaihkarfukthwngthaehlani ihekhathung karkaenidkhxngethkhnikhaelathwngtha aelamungennkhwamekhaickhxngkarkaraya karkhybetha khwamepn aelakarechuxmtxknkhxngkhufuk karrumocmti rnodri karfukthisakhyxikxyangkhxngixkiod khuxkarpxngkntw ewlathukrum odyphuocmtihlaykhn eriykwa thaninsuodri taninzudori hrux thaninsukaekh taninzugake frisitl rnodri hrux ciyuwasa or jiyuwaza fukkbphucuocmhlaykhn epnaeknsakhy inkarfukradbsung rnodri aeplwa khwamwunway fukkarich ethkhnikh inradbcititsanuk inphawathikhwbkhumimid phufuktxngich kareluxkethkhnikh khunxyukb taaehnngthiyunrahwangphufuk kbphucuocm sakhymakinkarfukrnodri echn karich xura ethkhnikh ephuxsngbphucuocmkhnhnung inkhnathihnipephchiy kbphucuocmxikkhnthimadcakdanhlng inkarfukochodkn ixkiod rnodri fukodykar ihphufuksxngkhn cuocm aelapxngkn odyxisra sungkhlaykb rnodri khxngyuod karbadecb inrahwangkarfuk khwamrbphidchxbcatkxyukb naeka inkarpxngknkarbadecb thicaekidkbxueka odykarichkhwamerw aelaaerngthiehmaasmkb karich xuekmi khxngphufuk xakarbadecbthikhxtxinixkiod swnihycaekidkhuncakkarthi naeka kakhwamsamarthinkarrbphidip nganwicyekiywkbkarbadecbinsilpapxngkntw phbwa aemwaxakarbadecbinaetlawichacaaetktangkn aetxtrakarbadecbimkhxytangknethaihr xakarbadecbinixkiodswnihyekidthiesnexn aelamiraynganwa phbkrniesiychiwitsxngsamray cakkarodn chiohnaeka inrupaebbkar rbnxngsitlyipun ehssing karfukcitic ixkiodmikarfukthngcitic aelarangkay ennkarphxnkhlayrangkay aelaic inphawatungekhriyd hruxmiphyntray niepnsingcaepnthicathaih phufuksamarthekha aelaphsmphsanthwngthathiepnphunthankhxngwichaixkiod aelaephchiyhnakbkarocmtidwykhwamklaaelaethiyngtrng xacaryxuexchiba ekhyklawwa phufuk txngmikhwamklayxmrb 99 khxngkarocmtikhxngkhutxsu aelaephchiyhnakbkhwamtay cungcasamarththaethkhnikhidodyimlngel phufukwichapxngkntw khwrtngicfukmakkwakartxsu aelaphthnakardarngkhchiwit inthukwndwy karfukaebbni sakhymakkbphufukwichaixkiodkhawicarnswnihywichaixkiodcathukkhawicarn wakhadkhwamcringcnginkarfukfn karocmtiody xueka odythi naekatxngpxngkn thukwicarnwa xxnaex khadkhwamaemnya aela dikwakarocmtiinkartunnidhnxy karekhathathixxnaexkhxng xuekathaih naekatxbotaebbcaec aelathaihkhadkarphthnakhwamaekhngaerng aelaklamenux thicaepntxkarfukxyangplxdphy aelamiprasiththiphaph khxngthngkhu ephuxrbmuxkbsthankarnni bangsitl xnuyatihphufukldkaryxmknlng hakfukidnanaelw aetyngkhngprchyakhxngkarfukiw sungcathaidktxemuxsamarthpxngkntnexngaelakhufukidaelwethann ochodkhng ixkiod idaekpyhaodykarxnuyatihphufukaekhngkhnknidxyangcringcng aetkarprayuktaebbnikthaihekidkhxotethiyng bangkbxkwaimmikhwamcaepnthicaprbwithiephraa karwicarnimmiehtuphl hruximk bxkwaimidfukpxngkntw hruxephuxkartxsu aetephuxcitwiyyan ephuxsukhphaph hruxehtuphlxun nxkcaknn khawicarnkmiekiywkbchwngbnplaychiwitkhxngxacary xuexchiba thixiwamachwng kh s 1942 klangpi 1950 chwngnn xacaryidennkarfukcitwiyyan aelaprchyakhxngixkiod dngnn karocmtiekhathi cudxntrayodynaeka hrux karekhaxirimi hrux karerimethkhnikhodynaeka hruxkaraeykaeyarahwangoxometakb xuraethkhnikh hruxkarichxawuth kldlng cnaethbcahayipcakkarfuk karkhadkarfukindantangehlani thaihkhidipidwa epntnehtukhxngkarsuyesiyprasiththiphaph khxngphufukixkiodbangkhn inthangklbkn mibangkhnwicarnphufukixkiod thiimihkhwamsakhyxyangephiyngphxkbkarfukcitwiyyan thixacaryxuexchibamungenn ekhawicarnwa oxesnes ihkaenidixkiod odyhyudkarsubenuxngthangkhwamkhid aelaprchyacakyukhedim sungkkhux phufukixkiod thiyudaenwthangkhxng yiwyithsu yiwyitsu hruxekhnyithsu kalngaeykxxkcaksingthixacaryxuexuchibasxn khnwicarnaenwni snbsnunihphufukekhathungaenwkhidthiwa karkawkhamthangcitwiyyan thixacarysxniw khuxrakthan thisakhy phlngkhinikhuxtwxksrkhncikhxngkhawa khi khnci cn kh s 1946 idepliynepn 気 karsuksaphlngkhi epnswnsakhyinwichaixkiod aelaprakxbipdwykarfukthng kay aela ic twxksrkhnci khnci khxngkhi ekhiynwa 氣 epnsylsn aesdng fathipidhmxkhawthietmxyu hrux ixxun thihlxeliyng xksrkhi phbbxyinkhasphthpracawninphasayipun echn sukhphaph yipun 元気 ormaci genki health hrux xay yipun 内気 ormaci uchiki shyness swnihy khi caniyamwaepn karrwmknkhxngkaykbic aetinaenwthangdngedimkhxngsilpapxngkntw caniyamwa phlngchiwit xacaryokos chioxda khxngsankoychinkhngixkiod s thiepnthiruckknwaepn sitlaekhng thiptibtitamaenwthangkhxngxacary xuexchiba chwngkxnsngkhramolkkhrngthisxng srupkhwamwa khi khux cnghwakarichethkhnikh odyichphlngthnghmdkhxngkaymungipthicudhnung chwngbnplaykhxngxacaryxuexchiba karich khi caerimphxnkhlaylng macakkarthiluksisykhxngxacary thaekhmusu ixkhi aelaluksisyrunhlngxikhlaykhn thisxneruxng khi cakmumni sankkhiosisti khxngxacaryokhxichi otheh s mungennkarsuksaprasbkarnkarphthna khi odyaebngaeykradbphueriynixkiod aela phueriyneruxng khixxkcakknchudfuk aela khnkhxngradbkarfukhakhama phbxyangpranitephuxrksacib phufukixkiod eriykwa ixkiodka nxkpraethsyipun caideluxnkhnodykarsxb ekrd hrux khiw tamdwy radb hrux dng bangsankichsikhxngsay ephuxaeykekrd swnmakichkhawkbda ephuxaeykekrdsungkbta bangsankkichhlaysi karsxbaetlasankcahlakhlay dngnnradbkhxngsankhnung xacethiybimidkbxiksank bangsankimxnuyatihsxbradb dng cnotkwaxayu 16 radb say si praephthkhiw khaw mudancha mudansha yukyushadng da yudancha yudansha chudfukixkiod eriykwa ixkiodki khlaykbchudkhxngsilpapxngkntwthwip ekhokci mikangekng aelaesuxkhlumsikhaw thngaebbhna yuodsitl yuod style aebbbang kharaetsitl kharaet style epnphakhxttxn chudsahrbixkiodkmithithaaekhnesuxihsnphxdikhxsxk sankswnihycami kangekngkhakwangsidahruxnaengin eriykwa hakhama phbinekhnod aela ixexod ekhnod swnihysahrb phufukradb dng hruximkkhrufuk bangsankkihishakhama odyimtxngmithungradbdng kidxangxingSaotome Mitsugi 1989 The Principles of Aikido Boston Massachusetts Shambhala p 222 ISBN 978 0 87773 409 3 Westbrook Adele Ratti Oscar 1970 Aikido and the Dynamic Sphere Tokyo Japan Charles E Tuttle Company pp 16 96 ISBN 978 0 8048 0004 4 Sharif Suliaman 2009 50 Martial Arts Myths New Media Entertainment p 135 ISBN 978 0 9677546 2 8 Ueshiba Kisshōmaru 2004 The Art of Aikido Principles and Essential Techniques Kodansha International p 70 ISBN 4 7700 2945 4 Pranin Stanley 2006 Encyclopedia of Aikido khlngkhxmulekaekbcakaehlngedimemux 2006 12 06 subkhnemux 2014 04 23 Pranin Stanley 2006 Encyclopedia of Aikido khlngkhxmulekaekbcakaehlngedimemux 2014 08 26 subkhnemux 2014 04 23 Pranin Stanley 2007 Aiki Encyclopedia of Aikido cakaehlngedimemux 2007 09 26 subkhnemux 21 August 2007 Pranin Stanley 2007 Encyclopedia of Aikido khlngkhxmulekaekbcakaehlngedimemux 2014 08 26 subkhnemux 2014 04 23 Draeger Donn F 1974 Modern Bujutsu amp Budo The Martial Arts and Ways of Japan New York Weatherhill Page 137 ISBN 0 8348 0351 8 Rinjiro Shirata 1984 Aikido The Way of Harmony Boston Massachusetts Shambhala pp 3 17 ISBN 978 0 394 71426 4 Pranin Stanley 2006 Encyclopedia of Aikido khlngkhxmulekaekbcakaehlngedimemux 2014 03 30 subkhnemux 2014 04 23 Pranin Stanley Encyclopedia of Aikido khlngkhxmulekaekbcakaehlngedimemux 2007 10 17 subkhnemux 2014 04 23 Oomoto Foundation 2007 The Teachings Teachings and Scriptures Netinformational Commission cakaehlngedimemux 2007 08 13 subkhnemux 14 August 2007 Shishida Fumiaki Aikido Journal Berkeley CA Shodokan Pub USA ISBN 0 9647083 2 9 khlngkhxmulekaekbcakaehlngedimemux 2007 09 26 subkhnemux 2014 04 23 Pranin Stanley 2006 Encyclopedia of Aikido khlngkhxmulekaekbcakaehlngedimemux 2014 08 26 subkhnemux 2014 04 23 Pranin Stanley 2006 Encyclopedia of Aikido khlngkhxmulekaekbcakaehlngedimemux 2007 09 26 subkhnemux 2014 04 23 2002 Aikido Tradition and the Competitive Edge Shodokan Publishing USA ISBN 978 0 9647083 2 7 Pranin Stanley 2006 Encyclopedia of Aikido khlngkhxmulekaekbcakaehlngedimemux 2007 08 07 subkhnemux 2014 04 23 Homma Gaku 1990 Aikido for Life Berkeley California North Atlantic Books p 20 ISBN 978 1 55643 078 7 Pranin Stanley 2006 Encyclopedia of Aikido khlngkhxmulekaekbcakaehlngedimemux 2007 10 16 subkhnemux 2014 04 23 Homma Gaku 1990 Aikido for Life Berkeley California North Atlantic Books pp 20 30 ISBN 978 1 55643 078 7 Shifflett C M 1999 Aikido Exercises for Teaching and Training Berkeley California North Atlantic Books ISBN 978 1 55643 314 6 Pranin Stanley 2008 Encyclopedia of Aikido khlngkhxmulekaekbcakaehlngedimemux 2014 08 26 subkhnemux 2014 04 23 Pranin Stanley 2008 Encyclopedia of Aikido khlngkhxmulekaekbcakaehlngedimemux 2008 01 22 subkhnemux 2014 04 23 Pranin Stanley 2008 Encyclopedia of Aikido khlngkhxmulekaekbcakaehlngedimemux 2008 01 22 subkhnemux 2014 04 23 Pranin Stanley 2008 Encyclopedia of Aikido khlngkhxmulekaekbcakaehlngedimemux 2008 01 22 subkhnemux 2014 04 23 Pranin Stanley 2008 Encyclopedia of Aikido khlngkhxmulekaekbcakaehlngedimemux 2008 01 22 subkhnemux 2014 04 23 Amdur Ellis Aikido Journal khlngkhxmulekaekbcakaehlngedimemux 2007 10 17 subkhnemux 2014 04 23 1968 Dynamic Aikido Kodansha International pp 52 55 ISBN 978 0 87011 301 7 Taylor Michael 2004 Aikido Terminology An Essential Reference Tool In Both English and Japanese Lulu Press ISBN 978 1 4116 1846 6 trans by Payet Jacques Johnston Christopher 2000 Aikido Shugyo Harmony in Confrontation Shindokan Books ISBN 978 0 9687791 2 5 a href wiki E0 B9 81 E0 B8 A1 E0 B9 88 E0 B9 81 E0 B8 9A E0 B8 9A Cite book title aemaebb Cite book cite book a CS1 maint extra punctuation CS1 maint multiple names authors list lingk Scott Nathan 2000 Teachings of Ueshiba Morihei Sensei cakaehlngedimemux 2006 12 31 subkhnemux 1 February 2007 Dang Phong 2006 Aikido Weapons Techniques The Wooden Sword Stick and Knife of Aikido Charles E Tuttle Company ISBN 978 0 8048 3641 8 Ratti Oscar Westbrook Adele 1973 Secrets of the Samurai The Martial Arts of Feudal Japan Edison New Jersey Castle Books pp 23 356 359 ISBN 978 0 7858 1073 5 Ueshiba Kisshomaru Moriteru Ueshiba 2002 Best Aikido The Fundamentals Illustrated Japanese Classics Kodansha International ISBN 978 4 7700 2762 7 Aikido and injuries special report by Aiki News 1989 80 April partial English translation of article re printed in Aikido Journal 1 2007 10 12 thi ewyaebkaemchchin Pranin Stanley 1983 Encyclopedia of Aikido khlngkhxmulekaekbcakaehlngedimemux 2008 01 22 subkhnemux 2014 04 23 Zetaruk M Violan MA Zurakowski D Micheli LJ 2005 Injuries in martial arts a comparison of five styles British journal of sports medicine BMJ Publishing Group 39 1 29 33 doi 10 1136 bjsm 2003 010322 PMC 1725005 PMID 15618336 15618336 subkhnemux 15 August 2008 Hyams Joe 1979 Zen in the Martial Arts New York Bantam Books pp 53 57 ISBN 0 553 27559 3 Homma Gaku 1990 Aikido for Life Berkeley California North Atlantic Books pp 1 9 ISBN 978 1 55643 078 7 Ueshiba Morihei trans by 1992 The Art of Peace Boston Massachusetts Shambhala Publications Inc ISBN 978 0 87773 851 0 1985 Aikido and the New Warrior Berkeley California North Atlantic Books pp 51 57 ISBN 978 0 938190 51 6 Pranin Stanley Fall 1990 Aikido Practice Today Aiki News Aiki News 86 cakaehlngedimemux 2007 11 21 subkhnemux 2 November 2007 Ledyard George S June 2002 Non Traditional Attacks www aikiweb com cakaehlngedimemux 2008 07 25 subkhnemux 29 July 2008 Wagstaffe Tony 30 March 2007 In response to the articles by Stanley Pranin Martial arts in a state of decline An end to the collusion Aikido Journal www aikidojournal com subkhnemux 29 July 2008 Pranin Stanley 1994 Challenging the Status Quo Aiki News Aiki News 98 cakaehlngedimemux 2007 11 21 subkhnemux 2 November 2007 Shibata Minoru J 2007 A Dilemma Deferred An Identity Denied and Dismissed Aikido Journal www aikidojournal com cakaehlngedimemux 2007 11 21 subkhnemux 9 December 2007 YeYoung Bing F Literati Tradition khlngkhxmulekaekbcakaehlngedimemux 2007 07 04 subkhnemux 12 February 2007 Reed William 1997 A Test Worth More than a Thousand Words cakaehlngedimemux 2007 06 19 subkhnemux 11 August 2007 aehlngkhxmulxunwikimiediykhxmmxnsmisuxthiekiywkhxngkb ixkiod AikiWeb Aikido Information ewbixkiod mibthkhwam bthsnthna rup khxlmn wiki aelaxun