บทความนี้ได้รับแจ้งให้ปรับปรุงหลายข้อ กรุณาช่วยปรับปรุงบทความ หรืออภิปรายปัญหาที่
|
ยิวยิตสู หรือในภาษาญี่ปุ่นว่า จูจุสึ (ญี่ปุ่น: 柔術; โรมาจิ: jūjutsu) หรือภาษาอังกฤษว่า จูจัตซู (อังกฤษ: jujutsu; เสียงอ่านภาษาอังกฤษ: /dʒuˈdʒʌtsu/)
การแข่งขันชิงแชมป์ยิวยิตสูญี่ปุ่นตะวันตกประจำปี ครั้งที่ 8 ฮิโรชิมา ปี 2010 | |
สมาพันธ์สูงสุด | |
---|---|
Derived from | ยิวยิตสู/ยูโด, คาราเต้, รูปแบบผสม |
ลักษณะเฉพาะ | |
การปะทะ | ใช่ |
แข่งรวมชายหญิง | ไม่ |
หมวดหมู่ | ศิลปะการต่อสู้ |
จัดแข่งขัน | |
ประเทศ ภูมิภาค | ทั่วโลก |
โอลิมปิก | ไม่ |
เวิลด์เกมส์ |
ประวัติ
จูจุสึ ในภาษาญี่ปุ่นมีความหมายว่า ศิลปะแห่งความอ่อน เป็นชื่อเรียกของศิลปะการต่อสู้ของญี่ปุ่น โดยบางครั้งอาจจะถูกเรียกด้วยชื่ออื่น ๆ เช่น ยะวะระ (yawara) , ไทจุตสุ (taijutsu)
ประวัติที่มาของจูจุสึนั้นไม่ชัดแจ้ง โดยมากกล่าวกันว่าถูกพัฒนาขึ้นมาในช่วงยุคของสงครามสมัย ระหว่างศตวรรษที่ 8 ถึง 16 เนื่องจากเป็นยุคสมัยสงครามทำให้เกิดวิชาใหม่ ๆ ขึ้นมาจำนวนมาก ในอดีตประเทศญี่ปุ่นมีสำนักจูจุสึอยู่หลายร้อยสำนัก โดยแต่ละสำนักมีแนวทางในการฝึกของตัวเอง โดยมากจะรับอิทธิพลมาจากศิลปะการต่อสู้โบราณของซามูไรที่เรียกกันว่า ไทจุสสุ ซึ่งหมายถึงศิลปะการใช้ร่างกาย โดยจูจุสึนั้นเป็นชื่อเรียกกลางที่ใช้เรียก ศิลปะการต่อสู้มือเปล่าอีกชนิดหนึ่งนั่นเอง
สำนักที่มีชื่อเสียงของจูจุสึก็เช่น ทะเกะโนะอุจิ ริว จูจุสึ (takenouchi ryu jujutsu) , โยชิน ริว จูจุสึ (yoshin ryu jūjutsu) และ ยางิว ชิงกัน ริว (yagyu shingan ryu)
ลักษณะการต่อสู้ของจูจุสึในสมัยก่อนนั้นจะขึ้นอยู่กับสำนักนั้น ๆ โดยมากจะมีทั้งการโจมตี การล๊อค การทุ่ม ในบางสำนักจะมีการฝึกการใช้อาวุธด้วย จนในบางครั้งจะถูกเรียกกันว่าเป็นวิชาที่มีทุกอย่าง การต่อสู้ของจูจุสึในสมัยก่อนนั้นจะเป็นการต่อสู้แบบไม่มีกติกา และ จะทำทุกวิถีทางเพื่อล้มคู่ต่อสู้ ทั้งนี้จูจุสึถูกฝึกให้ไม่มีความปราณีต่อคู่ต่อสู้ไม่ว่ากรณีใดๆ
เนื่องจากการต่อสู้ของจูจุสึมีความรุนแรง ในประวัติศาสตร์ญี่ปุ่นบางครั้งจึงถูกสั่งห้ามไม่ให้มีการทำการฝึก เมื่อไม่มีผู้สืบทอดวิชา ก็ทำให้วิชาจำนวนมากสูญหายไป นอกจากนั้นในยุคต่อมาเมื่อยุคสมัยของสงครามนั้นจบลงไป วิชาจูจุสึก็จึงถูกมองว่ามีความป่าเถื่อน และ รุนแรงเกินไป รวมทั้งมีการพัฒนาศิลปะการต่อสู้ใหม่ ๆ ออกมาทำให้จูจุสึเสื่อมความนิยม
ประวัติความเป็นมาในประเทศไทย
จูจุสึในประเทศไทย ได้เข้ามาในประเทศไทยตั้งแต่ก่อนปี พ.ศ. 2464 เช่นกัน แต่ภายหลังเนื่องจากกีฬายูโดเริ่มแพร่หลายทั่วโลก จูจุสึถูกมองว่ามีความรุนแรงจนเกินไป จึงได้เกิดการปรับเปลี่ยนการฝึกโดยทั่วไปเป็นการฝึกกีฬายูโด
ถึงแม้ปัจจุบันจะหาหลักฐานถึงการสอนจูจุสึในไทยได้ค่อนข้างน้อย แต่ก็ยังมีบันทึกถึงเรื่องการฝึกจูจุสึในช่วงแรก เช่น
ในหนังสืออนุสรณ์งานศพของครูทิม อติเปรมานนท์ บิดาแห่งยูโดของประเทศไทย สายดำ (โชดัน) เกียรตินิยมคนแรกของประเทศไทย จากสถาบันโกโดกวัน กรุงโตเกียว ได้มีการกล่าวถึงประวัติญูญิตสูไว้หลายส่วน รวมถึงในคำไว้อาลัยด้วย ซึ่งพอจะนำมาบางส่วน เช่น
คุณสิทธิผล ผลาชีวิน เขียนคำอาลัยไว้ว่า ถ้าพูดถึง “ยูโด”แล้วเมื่อใด ก็ย่อมระลึกถึง “คุณครูทิม อติเปรมานนท์” เมื่อนั้น คุณครูทิมได้ทุ่มเทจิตใจของท่านตั้งแต่วัยหนุ่มฉกรรจ์ จนวันสุดท้ายของชีวิตเพื่อสั่งสอน อบรม เผยแพร่ “ยูโด” ให้แก่เยาวชนไทยจนเจริญแพร่หลายทั่วประเทศ ด้งที่ได้รู้ได้เห็นอยู่ ณ บัดนี้ ไม่เป็นการล่วงล้ำก้ำเกินเลยถ้าข้าพเจ้าจะกล่าวสรรเสริญท่านด้วยน้ำใสใจจริงว่า คุณครูทิม คือท่านจิโกโร คาโน เมืองไทยนั่นเอง ท่านเริ่มชีวิตยูโด ซึ่งสมัยนั้นกระทรวงศึกษาธิการยังเรียกว่า “ญูญิตสู” ตั้งแต่อายุ ๑๕ ปี ด้วยร่างกายอันกำยำล่ำสันมะขามข้อเดียว อกผายไหล่ผึ่งยิ่งกว่าหนุ่มๆนักเรียนพลศึกษาด้วยกัน หน้าตาท่าทางเอาจริงเอาจังเกินกว่าใครๆทั้งโรงเรียน ทำให้ท่านกลายเป็นศิษย์เอกของพระอาจารย์หม่อมเจ้าวิบูลย์สวัสดิวงศ์ สวัสดิกุล ซึ่งทรงศึกษาวิขา “ญูญิตสู” มาจากประเทศฝรั่งเศส ด้วยที่ท่านรับราชการอยู่ในกระทรวงต่างประเทศจึงไม่มีเวลาว่างพอที่จะสอนได้สม่ำเสมอ เมื่อได้ทรงถ่ายทอด “ญูญิตสู” ให้แก่บรรดาครูและนักเรียนพลศึกษาหลายท่าน รวมทั้งศิษย์เอก ทิม อติเปรมานนท์ ท่านทรงแจ้งไปยังกระทรวงศึกษาธิการในสมัย ๕๐ กว่าปีนั้นว่า ควรรับวิชานี้เข้าหลักสูตรพลศึกษาสอนเด็กไทยให้เป็นไว้ และทรงเขียนตำราญูญิตสูเล่มแรกของเมือไทยขึ้นเมื่อ พ.ศ. ๒๔๕๖ ตั้งชื่อว่า “ตำรากายบริหารวิชาญูญิตสู” มีภาพครูทิม อติเปรมานนท์และครูเตี่ยน เหมะสกุล ครูพลศึกษาคนที่ ๑ ของเมืองไทย เป็นผู้แสดงแบบ กระทรวงศึกษารับเข้าหลักสูตรสอนนักเรียนไทยมาตั้งแต่ พ.ศ. ๒๔๕๖ และสั่งให้ครูทิม อติเปรมานนท์ไปสอนวิชาญูญิตสูให้แก่นักเรียนสวนกุหลาบ บวรนิเวศ และปทุมคงคา เป็น ๓ โรงเรียนแรก ต่อมาโรงเรียนต่างๆได้เริ่มฝึกบ้าง เช่น เทพศิรินทร์ บ้านสมเด็จเจ้าพระยา เบญจมบพิตร ต่อมากระทรวงส่งเสริมด้วยการจัดการแข่งขัน เมื่อพ.ศ. ๒๔๖๘ ข้าพเจ้ายังเรียนอยู่ชั้น ม.๔ เมื่อโรงเรียนเลิกแล้วก็มาดูผู้ใหญ่เขาเล่นญูญิตสูกันที่อาคารไม้ของพลศึกษากลางในโรงเรียนสวนกุหลาบทุกวัน ผู้ได้รับเกียรติเป็นผู้สอนวิชาญูญิตสูคนแรกของโรงเรียนพลศึกษากลางคือ ครูทิม อติเปรมานนท์ และ ได้ทำการสอนติดต่อกันมาประมาณ ๔๐ ปีเศษ คุณครูทิมจะแต่งตัวด้วยเสื้อกางเกงแบบญูญิตสู คาดสายรัดเอวสีขาวยืนเด่นเป็นสง่าบนเบาะญูญิตสูต่อหน้าพวกเรานักเรียนฝึกหัดครูพลศึกษากลาง ซึ่งตั้งอยู่ในโรงเรียนสวนกุหลาบ ผู้ใดภูมิใจว่าเป็นนักญูญิตสู ผู้นั้นย่อมเป็นลูกศิษย์ของคุณครูทิม อติเปรมานนท์ ทั้งประเทศ
ขึ้นชื่อว่าเป็น “โชดัน” ของยูโด สายดำเป็นเสมือนของศักดิ์สิทธิ์ของวิชายูโด สำนักโกโดกวันจะไม่ยอมให้สายดำแก่บุคคลใด ถ้าหากบุคคลนั้นไม่มีความรู้ในวิชายูโดอย่างจริงจัง เฉพาะชาวต่างประเทศก็ยิ่งถูกกวดขันเป็นพิเศษขึ้นอีก สายสามารถเข็มขัดดำแบ่งออกเป็นชั้นๆ ๙ ชั้น เริ่มด้วยชั้นที่ ๑ หรือ โชดัน จนถึงชั้นที่ ๙ ซึ่งเป็นชั้นสูงสุด ชั้น ๑-๕ เข็มขัดดำล้วน, ชั้น ๖-๘ มีสิทธิที่จะใช้ผ้าคาดเองสีแดงสลับขาวแทนสีดำ เรียก “ศาสตราจารย์ยูโด”, ชั้น ๙ ใช้สีแดงล้วนแทนสีดำและมีคนเดียวในพิภพคือ จิโกโร คาโน ในประเทศไทย เกียรติคุณของครูทิม อติเปรมานนท์ แพร่หลายทั่วประเทศ บรรดาครูพลศึกษาที่สอบอยู่ตามโรงเรียนทั่วราชอาณาจักรล้วนเป็นลูกศิษย์ครูทิมทั้งสิ้น ต่อมาชาวญี่ปุ่นที่เข้ามาอยุ่ในเมืองไทยได้เชิญศิษย์ครูไปแข่งขันในโรงยิมของชาวญี่ปุ่น ก็แปลกใจว่า เห็นพวกเราคาดเข็มขัดขาว แต่สามารถเอาชนะเขาซึ่งคาดสายสูงกว่าได้ แม้แต่ครูของเราก็คาดสีขาวเหมือนกัน เป็นข่าวไปถึงสำนักโกโดกวัน ณ กรุงโตเกียว ท่านจิโกโร คาโน ปลาบปลื้มใจที่วิชาของท่านแพร่หลายมาถึงเมืองไทย ได้ส่งศาสตราจารย์ยูโด ฟูมิมาโร คุโรยามะ มาพร้อมกับศิษย์สายดำอีก ๒ ท่าน มาเป็นทางการผ่านสถานทูตญี่ปุ่นในประเทศไทยติดต่อกระทรวงศึกษาธิการขอชมการเล่นญูญิตสูของบรรดาศิษย์ครูทิม โดยเล่นกันที่ตึกสามัคยาจารย์สมาคม ศาสตราจารย์ ฟูมิมาโร คุโรยามะแปลกใจมาก ที่เห็นพวกเราเล่นได้ดีเกินคาดสมคำเล่าลืม เพื่อสัมพันธไมตรีอันดีต่อไปภายหน้า สำนักโกโดกวันของท่านศาสตราจารย์จิโกโร คาโน ได้มอบสายดำ(โชดัน) เกียรตินิยมมาพร้อมกับท่านเพื่อมอบให้แก่ คุณครูทิม อติเปรมานนท์ เป็นคนแรกของไทยหรือของโลกทีเดียว เพราะไมมีชาวต่างประเทศคนใดที่ท่านจิโกโร คาโนจะส่งสายดำนี้ไปให้เลย
คุณกอง วิสุทธารมณ์ เขียนคำอาลัยไว้ว่า คุณทิม อติเปรมานนท์ เป็นนักพลศึกษา มาตั้งแต่เข้ารับราชการครั้งแรกเมื่อ ๑ มิถุนายน ๒๔๖๖ ณ โรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย เมื่ออายุได้ ๑๘ ปี เศษ ในสมัยที่ยังหนุ่มแน่นแข็งแรง คุณทิม อติเปรมานนท์ ได้สร้างชื่อเสียงให้ตนเองและโรงเรียนเป็นอันมาก เคยชกมวยไทยคาดเชือกไม่สวมนวม หน้าพระที่นั่งสมัยรัชกาลที่ ๖ ประสบชัยชนะอย่างงดงาม เป็นผู้เชี่ยวชาญในวิชายูโด จนสถาบันโกโดกวันแหน่งประเทศญี่ปุ่นให้ได้รับสายดำเป็นเกียรติพิเศษ เป็นที่นิยมรักใคร่ของศิษยานุศิษย์ทั้งปวง เป็นคนอารมเยือกเย็น สุขุม มองทุกสิ่งทุกอย่างในแง่ดีทั้งสิ้น มีความซื่อสัตย์ กตัญญู และความมานะอดทนเป็นสำคัญ
หลวงพิพัฒพลกายทิม เขียนคำอาลัยไว้ว่า เป็นศิษย์ประจำชั้น ม.๑ ที่ข้าพเจ้าเคยสอนมาในโรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย เป็นเด็กล่ำสัน แข็งแรง มีน้ำใจ กล้าหาญบึกบึนดีมาก ข้าพเจ้าชักชวนให้เรียนวิชา “ญูญิตสู” (ยูโด) เขาก็พอใจเรียน ระหว่างที่กำลังเรียนแกร่งกล้าในวิชานี้นั้น เขาอยู่กับคุณลุงของเขาที่ตึกแถวหน้าวัดเลียบ ก่อนย้ายมาอยู่บ้านข้าพเจ้าที่สี่แยกคอกวัวหลังที่ลุงของเขาถึงแก่กรรม ซึ่งเวลานั้น นิยม ทองชิตร์ ก็อยู่กับข้าพเจ้าด้วย เด็กคู่นี้อยู่ ร.ร.สวนกุหลาบด้วยกัน เป็นนักเรียนญูญิตสูด้วยกัน เป็นคู่เล่นกันทุกเวลาที่ข้าพเจ้าสอน ทิมเก่งวิธียาว ในการต่อสู้ผลัดกันแพ้ผลัดกันชนะอยู่เสมอ ในเชิงมวย ทิมเก่งไม้สั้น นิยมเก่งไม้ยาว ซึ่งข้าพเจ้าพอใจเด็กคู่นี้มาก ที่น่าขันคือ เวลาหยุดเทอมปลาย ทั้งคู่จะต้องออกไปเที่ยวชมภูมิประเทศบ้นเมืองของเราเสมอ ก่อนไปก็เห็นปรึกษาหารือกันถูกอกถูกใจ พอไปถึงปลายทางแล้วเป็นต้องขัดใจเกิดทะเลาะกันทุกครั้ง เวลากลับบ้านก็ไม่มาพร้อมกัน ครั้นสิ้นเทอมปลายใหมก็ไปด้วยกันอีกทุกปี แต่ไม่เคยชกต่อยกัน ทิมมีความรู้ภาษาอังกฤษพอใช้ เขาประจำอยู่ห้องอาจารย์ซัตตันทุกวัน เว้นแตเวลาพลศึกาา เขาต้องไปสอนแทนข้าพเจ้า เพราะข้าพเจ้าย้ายไปอยู่ ร.ร.นายเรือ ธนบุรี
นอกจากนี้ยังมีข้อมูลจากแหล่งอื่นๆ แต่ไม่ปรากฏการอ้างอิงที่แน่ชัด ได้ระบุถึงประวัติญูญิตสูในไทยุคแรกว่ายังมีที่ โรงฝึกแรกที่ชื่อเรนบูกัน และ ห้องยิมของโรงเรียนเทพศิรินทร์ ซึ่งมีการสอนจูจุสึและมีชื่อเสียงจากการแข่งขันกับโรงเรียนอื่น ๆ โดยมีนักจูจุสึที่โด่งดังจากการแข่งขัน เช่น ฉลวย อัศวนนท์, ประจันต์ วัชรปาน, จำรัส ศุภวงศ์ , แถม สุดกังวาล, ปิ่น วิจารณ์บุตร, เชษฐ์ วิลิตกุล, สำราญ สุขุม ซึ่งบางคนได้เป็นผู้ที่ได้ไปรับวิชายูโดเข้ามาในประเทศไทยต่อมา
นักจูจุสึ 5 คน ที่ได้รับเลือกไปศึกษายูโดที่โคโดกันประเทศญี่ปุ่นเป็นชุดแรกของไทยได้แก่ 1. อ.จำรัส ศุภวงศ์ 2. อ.ประจันต์ วัชรปาน 3. อ.สมศักดิ์ กิตติสาธร 4. อ.ทนง ชุมสาย 5. อ.นาคา โมโต
ซึ่งในภายหลังโรงฝึกจูจุสึในประเทศไทยได้เปลี่ยนเป็นยูโดเกือบทั้งหมด พบวิชาจูจุสึจำนวนน้อยที่ยังหลงเหลือโดยเป็นวิชาจูจุสึที่ถูกพัฒนามาใหม่จากอดีตผู้ฝึกจูจุสึในอดีต เช่น วัชระจูจุสึ และ อิทเท็นจูจุสึ
จูจุสึในปัจจุบัน
ถึงแม้เวลาจะผ่านไปอย่างยาวนาน จูจุสึก็ยังมีการฝึกและสืบทอดต่อกันมา และ มีพัฒนาการต่อมาทั้งในและนอกประเทศญี่ปุ่น โดยปัจจุบันจูจุสึของญี่ปุ่นหรือจูจุสึที่มีการต่อสู้ในแบบดั้งเดิมคือมีการโจมตี หัก ล๊อค ทุ่ม ในบางครั้งจะถูกเรียกว่า "นิฮอน จูจุสึ" (Nihon jūjutsu) เนื่องจากไม่ต้องการให้สับสนกับจูจุสึ ที่มีการพัฒนาขึ้นมาจากบราซิล นั่นก็คือ บราซิลเลี่ยน จูจุสึ (Jiu-jutsu) ซึ่งเน้นการต่อสู้ในท่านอนมากกว่าแบบดั้งเดิม หากสังเกตจะเห็นว่าในภาษาอังกฤษนั้นบราซิลเลี่ยน จูจุสึ จะถูกเขียนว่า Jiu-jutsu ซึ่งแตกต่างกับการเขียนแบบญี่ปุ่น (Jujutsu)
นอกจากนั้นยังสามารถแบ่งจูจุสึแบบญี่ปุ่นออกมาได้อีกสองประเภท คือ จูจุสึแบบโบราณ (Koryu jujutsu) และ จูจุสึสมัยใหม่ (Gedai jujutsu หรือ Modern Jujutsu)
โดนจูจุสึแบบโบราณ คือ จูจุสึในสำนักที่ถูกพัฒนามาตั้งแต่สมัยยุคสงคราม ส่วนจูจุสึสมัยใหม่ก็คือจูจุสึที่เกิดขึ้นมาหลังยุคเมจิ เป็นวิชาถูกพัฒนาขึ้นมาใหม่ โดยมีรากฐานจากจูจุสึแบบดั้งเดิมอีกทีหนึ่ง
แหล่งข้อมูลอื่น
- ปูชนียสถาน อนุสรณ์ในงานพระราชทานเพลิงศพ รองอำมาตย์ตรีทิม อติเปรมานนท์ ณ เมรุวัดหัวลำโพง 2 ตุลาคม 2509
- จูจุสึ ไทยแลนด์
- เข้าถึงได้จากhttps://archive.org/details/unset0000unse_v4f6
wikipedia, แบบไทย, วิกิพีเดีย, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด, บทความ, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม, มือถือ, โทรศัพท์, Android, iOS, Apple, โทรศัพท์โมบิล, Samsung, iPhone, Xiomi, Xiaomi, Redmi, Honor, Oppo, Nokia, Sonya, MI, PC, พีซี, web, เว็บ, คอมพิวเตอร์
bthkhwamniidrbaecngihprbprunghlaykhx krunachwyprbprungbthkhwam hruxxphipraypyhathihnaxphipray bthkhwamnitxngkarcdrupaebbkhxkhwam karcdhna karaebnghwkhx karcdlingkphayin aelaxun bthkhwamnitxngkarphisucnxksr xacepndankarichphasa karsakd iwyakrn rupaebbkarekhiyn hruxkaraeplcakphasaxun bthkhwamniyngkhadaehlngxangxingephuxphisucnkhwamthuktxng bthkhwamnitxngkarsrupenuxhabthkhwamiwinyxhnaaerksud yiwyitsu hruxinphasayipunwa cucusu yipun 柔術 ormaci jujutsu hruxphasaxngkvswa cuctsu xngkvs jujutsu esiyngxanphasaxngkvs dʒuˈdʒʌtsu yiwyitsukaraekhngkhnchingaechmpyiwyitsuyipuntawntkpracapi khrngthi 8 hiorchima pi 2010smaphnthsungsudDerived fromyiwyitsu yuod kharaet rupaebbphsmlksnaechphaakarpathaichaekhngrwmchayhyingimhmwdhmusilpakartxsucdaekhngkhnpraeths phumiphakhthwolkoxlimpikimewildekmsewildekms 19972017kilayuyitsuprawticucusu inphasayipunmikhwamhmaywa silpaaehngkhwamxxn epnchuxeriykkhxngsilpakartxsukhxngyipun odybangkhrngxaccathukeriykdwychuxxun echn yawara yawara ithcutsu taijutsu prawtithimakhxngcucusunnimchdaecng odymakklawknwathukphthnakhunmainchwngyukhkhxngsngkhramsmy rahwangstwrrsthi 8 thung 16 enuxngcakepnyukhsmysngkhramthaihekidwichaihm khunmacanwnmak inxditpraethsyipunmisankcucusuxyuhlayrxysank odyaetlasankmiaenwthanginkarfukkhxngtwexng odymakcarbxiththiphlmacaksilpakartxsuobrankhxngsamuirthieriykknwa ithcussu sunghmaythungsilpakarichrangkay odycucusunnepnchuxeriykklangthiicheriyk silpakartxsumuxeplaxikchnidhnungnnexng sankthimichuxesiyngkhxngcucusukechn thaekaonaxuci riw cucusu takenouchi ryu jujutsu oychin riw cucusu yoshin ryu jujutsu aela yangiw chingkn riw yagyu shingan ryu lksnakartxsukhxngcucusuinsmykxnnncakhunxyukbsanknn odymakcamithngkarocmti karlxkh karthum inbangsankcamikarfukkarichxawuthdwy cninbangkhrngcathukeriykknwaepnwichathimithukxyang kartxsukhxngcucusuinsmykxnnncaepnkartxsuaebbimmiktika aela cathathukwithithangephuxlmkhutxsu thngnicucusuthukfukihimmikhwampranitxkhutxsuimwakrniid enuxngcakkartxsukhxngcucusumikhwamrunaerng inprawtisastryipunbangkhrngcungthuksnghamimihmikarthakarfuk emuximmiphusubthxdwicha kthaihwichacanwnmaksuyhayip nxkcaknninyukhtxmaemuxyukhsmykhxngsngkhramnncblngip wichacucusukcungthukmxngwamikhwampaethuxn aela runaerngekinip rwmthngmikarphthnasilpakartxsuihm xxkmathaihcucusuesuxmkhwamniymprawtikhwamepnmainpraethsithycucusuinpraethsithy idekhamainpraethsithytngaetkxnpi ph s 2464 echnkn aetphayhlngenuxngcakkilayuoderimaephrhlaythwolk cucusuthukmxngwamikhwamrunaerngcnekinip cungidekidkarprbepliynkarfukodythwipepnkarfukkilayuod thungaempccubncahahlkthanthungkarsxncucusuinithyidkhxnkhangnxy aetkyngmibnthukthungeruxngkarfukcucusuinchwngaerk echn inhnngsuxxnusrnngansphkhxngkhruthim xtieprmannth bidaaehngyuodkhxngpraethsithy sayda ochdn ekiyrtiniymkhnaerkkhxngpraethsithy caksthabnokodkwn krungotekiyw idmikarklawthungprawtiyuyitsuiwhlayswn rwmthunginkhaiwxalydwy sungphxcanamabangswn echn khunsiththiphl phlachiwin ekhiynkhaxalyiwwa thaphudthung yuod aelwemuxid kyxmralukthung khunkhruthim xtieprmannth emuxnn khunkhruthimidthumethcitickhxngthantngaetwyhnumchkrrc cnwnsudthaykhxngchiwitephuxsngsxn xbrm ephyaephr yuod ihaekeyawchnithycnecriyaephrhlaythwpraeths dngthiidruidehnxyu n bdni imepnkarlwnglakaekinelythakhaphecacaklawsrresriythandwynaisiccringwa khunkhruthim khuxthanciokor khaon emuxngithynnexng thanerimchiwityuod sungsmynnkrathrwngsuksathikaryngeriykwa yuyitsu tngaetxayu 15 pi dwyrangkayxnkayalasnmakhamkhxediyw xkphayihlphungyingkwahnumnkeriynphlsuksadwykn hnatathathangexacringexacngekinkwaikhrthngorngeriyn thaihthanklayepnsisyexkkhxngphraxacaryhmxmecawibulyswsdiwngs swsdikul sungthrngsuksawikha yuyitsu macakpraethsfrngess dwythithanrbrachkarxyuinkrathrwngtangpraethscungimmiewlawangphxthicasxnidsmaesmx emuxidthrngthaythxd yuyitsu ihaekbrrdakhruaelankeriynphlsuksahlaythan rwmthngsisyexk thim xtieprmannth thanthrngaecngipyngkrathrwngsuksathikarinsmy 50 kwapinnwa khwrrbwichaniekhahlksutrphlsuksasxnedkithyihepniw aelathrngekhiyntarayuyitsuelmaerkkhxngemuxithykhunemux ph s 2456 tngchuxwa tarakaybriharwichayuyitsu miphaphkhruthim xtieprmannthaelakhruetiyn ehmaskul khruphlsuksakhnthi 1 khxngemuxngithy epnphuaesdngaebb krathrwngsuksarbekhahlksutrsxnnkeriynithymatngaet ph s 2456 aelasngihkhruthim xtieprmannthipsxnwichayuyitsuihaeknkeriynswnkuhlab bwrniews aelapthumkhngkha epn 3 orngeriynaerk txmaorngeriyntangiderimfukbang echn ethphsirinthr bansmedcecaphraya ebycmbphitr txmakrathrwngsngesrimdwykarcdkaraekhngkhn emuxph s 2468 khaphecayngeriynxyuchn m 4 emuxorngeriynelikaelwkmaduphuihyekhaelnyuyitsuknthixakharimkhxngphlsuksaklanginorngeriynswnkuhlabthukwn phuidrbekiyrtiepnphusxnwichayuyitsukhnaerkkhxngorngeriynphlsuksaklangkhux khruthim xtieprmannth aela idthakarsxntidtxknmapraman 40 piess khunkhruthimcaaetngtwdwyesuxkangekngaebbyuyitsu khadsayrdexwsikhawyunednepnsngabnebaayuyitsutxhnaphwkerankeriynfukhdkhruphlsuksaklang sungtngxyuinorngeriynswnkuhlab phuidphumiicwaepnnkyuyitsu phunnyxmepnluksisykhxngkhunkhruthim xtieprmannth thngpraeths khunchuxwaepn ochdn khxngyuod saydaepnesmuxnkhxngskdisiththikhxngwichayuod sankokodkwncaimyxmihsaydaaekbukhkhlid thahakbukhkhlnnimmikhwamruinwichayuodxyangcringcng echphaachawtangpraethskyingthukkwdkhnepnphiesskhunxik saysamarthekhmkhddaaebngxxkepnchn 9 chn erimdwychnthi 1 hrux ochdn cnthungchnthi 9 sungepnchnsungsud chn 1 5 ekhmkhddalwn chn 6 8 misiththithicaichphakhadexngsiaedngslbkhawaethnsida eriyk sastracaryyuod chn 9 ichsiaednglwnaethnsidaaelamikhnediywinphiphphkhux ciokor khaon inpraethsithy ekiyrtikhunkhxngkhruthim xtieprmannth aephrhlaythwpraeths brrdakhruphlsuksathisxbxyutamorngeriynthwrachxanackrlwnepnluksisykhruthimthngsin txmachawyipunthiekhamaxyuinemuxngithyidechiysisykhruipaekhngkhninorngyimkhxngchawyipun kaeplkicwa ehnphwkerakhadekhmkhdkhaw aetsamarthexachnaekhasungkhadsaysungkwaid aemaetkhrukhxngerakkhadsikhawehmuxnkn epnkhawipthungsankokodkwn n krungotekiyw thanciokor khaon plabplumicthiwichakhxngthanaephrhlaymathungemuxngithy idsngsastracaryyuod fumimaor khuoryama maphrxmkbsisysaydaxik 2 than maepnthangkarphansthanthutyipuninpraethsithytidtxkrathrwngsuksathikarkhxchmkarelnyuyitsukhxngbrrdasisykhruthim odyelnknthituksamkhyacarysmakhm sastracary fumimaor khuoryamaaeplkicmak thiehnphwkeraelniddiekinkhadsmkhaelalum ephuxsmphnthimtrixnditxipphayhna sankokodkwnkhxngthansastracaryciokor khaon idmxbsayda ochdn ekiyrtiniymmaphrxmkbthanephuxmxbihaek khunkhruthim xtieprmannth epnkhnaerkkhxngithyhruxkhxngolkthiediyw ephraaimmichawtangpraethskhnidthithanciokor khaoncasngsaydaniipihely khunkxng wisuththarmn ekhiynkhaxalyiwwa khunthim xtieprmannth epnnkphlsuksa matngaetekharbrachkarkhrngaerkemux 1 mithunayn 2466 n orngeriynswnkuhlabwithyaly emuxxayuid 18 pi ess insmythiynghnumaennaekhngaerng khunthim xtieprmannth idsrangchuxesiyngihtnexngaelaorngeriynepnxnmak ekhychkmwyithykhadechuxkimswmnwm hnaphrathinngsmyrchkalthi 6 prasbchychnaxyangngdngam epnphuechiywchayinwichayuod cnsthabnokodkwnaehnngpraethsyipunihidrbsaydaepnekiyrtiphiess epnthiniymrkikhrkhxngsisyanusisythngpwng epnkhnxarmeyuxkeyn sukhum mxngthuksingthukxyanginaengdithngsin mikhwamsuxsty ktyyu aelakhwammanaxdthnepnsakhy hlwngphiphthphlkaythim ekhiynkhaxalyiwwa epnsisypracachn m 1 thikhaphecaekhysxnmainorngeriynswnkuhlabwithyaly epnedklasn aekhngaerng minaic klahaybukbundimak khaphecachkchwniheriynwicha yuyitsu yuod ekhakphxiceriyn rahwangthikalngeriynaekrngklainwichaninn ekhaxyukbkhunlungkhxngekhathitukaethwhnawdeliyb kxnyaymaxyubankhaphecathisiaeykkhxkwwhlngthilungkhxngekhathungaekkrrm sungewlann niym thxngchitr kxyukbkhaphecadwy edkkhunixyu r r swnkuhlabdwykn epnnkeriynyuyitsudwykn epnkhuelnknthukewlathikhaphecasxn thimekngwithiyaw inkartxsuphldknaephphldknchnaxyuesmx inechingmwy thimekngimsn niymekngimyaw sungkhaphecaphxicedkkhunimak thinakhnkhux ewlahyudethxmplay thngkhucatxngxxkipethiywchmphumipraethsbnemuxngkhxngeraesmx kxnipkehnpruksaharuxknthukxkthukic phxipthungplaythangaelwepntxngkhdicekidthaelaaknthukkhrng ewlaklbbankimmaphrxmkn khrnsinethxmplayihmkipdwyknxikthukpi aetimekhychktxykn thimmikhwamruphasaxngkvsphxich ekhapracaxyuhxngxacarysttnthukwn ewnaetewlaphlsukaa ekhatxngipsxnaethnkhapheca ephraakhaphecayayipxyu r r nayerux thnburi nxkcakniyngmikhxmulcakaehlngxun aetimpraktkarxangxingthiaenchd idrabuthungprawtiyuyitsuinithyukhaerkwayngmithi orngfukaerkthichuxernbukn aela hxngyimkhxngorngeriynethphsirinthr sungmikarsxncucusuaelamichuxesiyngcakkaraekhngkhnkborngeriynxun odyminkcucusuthiodngdngcakkaraekhngkhn echn chlwy xswnnth pracnt wchrpan cars suphwngs aethm sudkngwal pin wicarnbutr echsth wilitkul saray sukhum sungbangkhnidepnphuthiidiprbwichayuodekhamainpraethsithytxma nkcucusu 5 khn thiidrbeluxkipsuksayuodthiokhodknpraethsyipunepnchudaerkkhxngithyidaek 1 x cars suphwngs 2 x pracnt wchrpan 3 x smskdi kittisathr 4 x thnng chumsay 5 x nakha omot sunginphayhlngorngfukcucusuinpraethsithyidepliynepnyuodekuxbthnghmd phbwichacucusucanwnnxythiynghlngehluxodyepnwichacucusuthithukphthnamaihmcakxditphufukcucusuinxdit echn wchracucusu aela xithethncucusucucusuinpccubnthungaemewlacaphanipxyangyawnan cucusukyngmikarfukaelasubthxdtxknma aela miphthnakartxmathnginaelanxkpraethsyipun odypccubncucusukhxngyipunhruxcucusuthimikartxsuinaebbdngedimkhuxmikarocmti hk lxkh thum inbangkhrngcathukeriykwa nihxn cucusu Nihon jujutsu enuxngcakimtxngkarihsbsnkbcucusu thimikarphthnakhunmacakbrasil nnkkhux brasileliyn cucusu Jiu jutsu sungennkartxsuinthanxnmakkwaaebbdngedim haksngektcaehnwainphasaxngkvsnnbrasileliyn cucusu cathukekhiynwa Jiu jutsu sungaetktangkbkarekhiynaebbyipun Jujutsu nxkcaknnyngsamarthaebngcucusuaebbyipunxxkmaidxiksxngpraephth khux cucusuaebbobran Koryu jujutsu aela cucususmyihm Gedai jujutsu hrux Modern Jujutsu odncucusuaebbobran khux cucusuinsankthithukphthnamatngaetsmyyukhsngkhram swncucususmyihmkkhuxcucusuthiekidkhunmahlngyukhemci epnwichathukphthnakhunmaihm odymirakthancakcucusuaebbdngedimxikthihnungaehlngkhxmulxunpuchniysthan xnusrninnganphrarachthanephlingsph rxngxamatytrithim xtieprmannth n emruwdhwlaophng 2 tulakhm 2509 cucusu ithyaelnd ekhathungidcakhttps archive org details unset0000unse v4f6