บทความนี้ยังต้องการเพิ่มเพื่อ |
โสดาบัน (บาลี: Sotāpanna, โสตาปนฺน; สันสกฤต: Srotāpanna, โสฺรตาปนฺน) แปลว่า ผู้แรกถึงกระแสธรรม (แห่งพระนิพพาน) ถือเป็นอริยบุคคลระดับแรกใน 4 ระดับ คือ โสดาบัน สกทาคามี อนาคามี อรหันต์
โสดาบัน (ถ้าเเบ่งตามอินทรีย์) มี ๓ ประเภท คือ
๑. สัทธานุสารี ๒. ธัมมานุสารี ๓. กายสักขี
จากจักขุสูตร ในโอกกันตสังยุตต์ ในสังยุตตนิกาย ตรัสถึงสัทธานุสารี กับ ธัมมานุสารี ว่า
-สัทธานุสารี ผู้ยิ่งด้วยสัทธินทรีย์ คือ คนที่เชื่อมั่นไม่หวั่นไหว ในขันธ์ ๕ ว่า ไม่เที่ยง
/สัทธานุสารี เป็นขั้นโสดาปัตติมรรค, อนาคต จะเป็นขั้นโสดาปัตติผล-อรหัตตมรรค ในชื่อว่า "สัทธาวิมุตต์", ถ้าได้อรหัตตผล จะมีชื่อว่า "ปัญญาวิมุตต์"
-ธัมมานุสารี ผู้ยิ่งด้วยปัญญินทรีย์ คือ คนที่ขบคิดพินิจด้วยปัญญา ในขันธ์ ๕ นั่นเเหละว่า ไม่เที่ยง (อย่างไร)
/ธัมมานุสารี เป็นขั้นโสดาปัตติมรรค, อนาคต จะเป็นขั้นโสดาปัตติผล - อรหัตตมรรค ในชื่อว่า "ทิฏฐิปัตต์", ถ้าได้อรหัตตผล จะมีชื่อว่า "ปัญญาวิมุตต์"
-กายสักขี คือ คนที่เคยได้ฌานขั้นใดขั้นหนึ่งมาเเล้ว ต่อมาได้บรรลุเป็นโสดาบัน
/กายสักขี ผู้ยิ่งด้วยสมาธินทรีย์ เป็นขั้นโสดาปัตติผล-อรหัตตมรรค, อนาคต ถ้าได้อรหัตตผล จะมีชื่อว่า "อุภโตภาควิมุตต์" (หรือ ฉฬภิญญ์)
การละสังโยชน์
โสดาบัน ละสังโยชน์เบื้องต่ำ 3 ประการคือ
- สักกายทิฏฐิ (กา-ยะ-) คือ ความเห็นว่าเป็นตัวของตน ความเห็นเป็นเหตุถือตัวตนเป็นอัตตาทิฎฐิ เช่น เห็นรูปเป็นตน เห็นเวทนาเป็นตน
- (กิด-) คือ ความสงสัยในพระรัตนตรัย และในกุศลธรรมทั้งหลาย
- สีลัพพตปรามาส (ลับ-พะ-ตะ-ปะ-รา-มาด) คือ ความยึดมั่นในข้อปฏิบัติอย่างเคร่งครัด ที่เข้าใจว่าเป็นข้อปฏิบัติที่บริสุทธิ์หลุดพ้น เป็นมิจฉาทิฏฐิ เช่น การประพฤติวัตรอย่างโค การนอนบนหนามของพวกโยคี เป็นต้น
การบรรลุมรรคผลเป็นพระอริยบุคคลมิได้จำกัดอยู่เฉพาะเพศบรรพชิต (นักบวช) เท่านั้น แม้แต่ก็สามารถบรรลุเป็นอริยบุคคลได้ ผู้บรรลุโสดาบันที่มีชื่อเสียงก็มีจำนวนมากได้แก่ นางวิสาขามหาอุบาสิกา อนาถบิณฑิกเศรษฐี พระเจ้าพิมพิสาร เป็นต้น
ประเภท
โสดาบัน แบ่งเป็น 3 ประเภท ดังนี้
- เอกพีชี (เอ-กะ-) ผู้มีพืชคืออัตตภาพอันเดียว ก็จะบรรลุเป็นอรหันต์
- โกลังโกละ ผู้ไปจากสกุลสู่สกุล คือจะมาเกิดอีกเพียง 2-3 ชาติเท่านั้น แล้วจะได้สำเร็จเป็นอรหันต์
- สัตตักขัตตุงปรมะ (ปะ-ระ-) ผู้มีเจ็ดครั้งเป็นอย่างยิ่ง คือจะต้องเวียนว่ายตายเกิดในสังสารวัฏอีกไม่เกิน 7 ชาติ ก็จะได้บรรลุธรรมเป็นอรหันต์ ไม่ต้องเวียนว่ายตายเกิดอีกต่อไป
การที่โสดาบันแบ่งเป็น 3 ประเภท ดังที่เพราะว่าอินทรีย์ 5 ได้แก่ ศรัทธา วิริยะ สมาธิ สติ และปัญญา แก่กล้าแตกต่างกัน ผู้ที่อินทรีย์ 5 ถึงความแก่รอบสม่ำเสมอ ก็สามารถบรรลุผลได้อย่างรวดเร็ว โสดาบันประเภทนี้เอกพีชีโสดาบัน
ตัวอย่างบุคคลผู้บรรลุโสดาปัตติผลในพุทธกาล
อ้างอิง
- พระธรรมกิตติวงศ์ (ทองดี สุรเตโช), พจนานุกรมเพื่อการศึกษาพุทธศาสน์ ชุดคำวัด, วัดราชโอรสารามราชวรวิหาร, กรุงเทพฯ: 2548
- "โสดาบัน 3". พจนานุกรมพุทธศาสตร์ ฉบับประมวลธรรม. 4 มกราคม 2548. สืบค้นเมื่อ 13 เมษายน 2559.
{{}}
: ตรวจสอบค่าวันที่ใน:|accessdate=
((help))
wikipedia, แบบไทย, วิกิพีเดีย, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด, บทความ, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม, มือถือ, โทรศัพท์, Android, iOS, Apple, โทรศัพท์โมบิล, Samsung, iPhone, Xiomi, Xiaomi, Redmi, Honor, Oppo, Nokia, Sonya, MI, PC, พีซี, web, เว็บ, คอมพิวเตอร์
bthkhwamniyngtxngkarephimaehlngxangxingephuxphisucnkhwamthuktxngkhunsamarthphthnabthkhwamniidodyephimaehlngxangxingtamsmkhwr enuxhathikhadaehlngxangxingxacthuklbxxk haaehlngkhxmul osdabn khaw hnngsuxphimph hnngsux skxlar JSTOR eriynruwacanasaraemaebbnixxkidxyangiraelaemuxir osdabn bali Sotapanna ostapn n snskvt Srotapanna os rtapn n aeplwa phuaerkthungkraaesthrrm aehngphraniphphan thuxepnxriybukhkhlradbaerkin 4 radb khux osdabn skthakhami xnakhami xrhnt osdabn thaeebngtamxinthriy mi 3 praephth khux 1 sththanusari 2 thmmanusari 3 kayskkhi cakckkhusutr inoxkkntsngyutt insngyuttnikay trsthungsththanusari kb thmmanusari wa sththanusari phuyingdwysththinthriy khux khnthiechuxmnimhwnihw inkhnth 5 wa imethiyng sththanusari epnkhnosdapttimrrkh xnakht caepnkhnosdapttiphl xrhttmrrkh inchuxwa sththawimutt thaidxrhttphl camichuxwa pyyawimutt thmmanusari phuyingdwypyyinthriy khux khnthikhbkhidphinicdwypyya inkhnth 5 nneehlawa imethiyng xyangir thmmanusari epnkhnosdapttimrrkh xnakht caepnkhnosdapttiphl xrhttmrrkh inchuxwa thitthiptt thaidxrhttphl camichuxwa pyyawimutt kayskkhi khux khnthiekhyidchankhnidkhnhnungmaeelw txmaidbrrluepnosdabn kayskkhi phuyingdwysmathinthriy epnkhnosdapttiphl xrhttmrrkh xnakht thaidxrhttphl camichuxwa xuphotphakhwimutt hrux chlphiyy karlasngoychnosdabn lasngoychnebuxngta 3 prakarkhux skkaythitthi ka ya khux khwamehnwaepntwkhxngtn khwamehnepnehtuthuxtwtnepnxttathidthi echn ehnrupepntn ehnewthnaepntn kid khux khwamsngsyinphrartntry aelainkuslthrrmthnghlay silphphtpramas lb pha ta pa ra mad khux khwamyudmninkhxptibtixyangekhrngkhrd thiekhaicwaepnkhxptibtithibrisuththihludphn epnmicchathitthi echn karpraphvtiwtrxyangokh karnxnbnhnamkhxngphwkoykhi epntn karbrrlumrrkhphlepnphraxriybukhkhlmiidcakdxyuechphaaephsbrrphchit nkbwch ethann aemaetksamarthbrrluepnxriybukhkhlid phubrrluosdabnthimichuxesiyngkmicanwnmakidaek nangwisakhamhaxubasika xnathbinthikesrsthi phraecaphimphisar epntnpraephthosdabn aebngepn 3 praephth dngni exkphichi ex ka phumiphuchkhuxxttphaphxnediyw kcabrrluepnxrhnt oklngokla phuipcakskulsuskul khuxcamaekidxikephiyng 2 3 chatiethann aelwcaidsaercepnxrhnt sttkkhttungprma pa ra phumiecdkhrngepnxyangying khuxcatxngewiynwaytayekidinsngsarwtxikimekin 7 chati kcaidbrrluthrrmepnxrhnt imtxngewiynwaytayekidxiktxip karthiosdabnaebngepn 3 praephth dngthiephraawaxinthriy 5 idaek srththa wiriya smathi sti aelapyya aekklaaetktangkn phuthixinthriy 5 thungkhwamaekrxbsmaesmx ksamarthbrrluphlidxyangrwderw osdabnpraephthniexkphichiosdabntwxyangbukhkhlphubrrluosdapttiphlinphuththkalnangwisakha xnathbinthikesrsthi phraecaphimphisarxangxingphrathrrmkittiwngs thxngdi suretoch phcnanukrmephuxkarsuksaphuththsasn chudkhawd wdrachoxrsaramrachwrwihar krungethph 2548 osdabn 3 phcnanukrmphuththsastr chbbpramwlthrrm 4 mkrakhm 2548 subkhnemux 13 emsayn 2559 a href wiki E0 B9 81 E0 B8 A1 E0 B9 88 E0 B9 81 E0 B8 9A E0 B8 9A Cite web title aemaebb Cite web cite web a trwcsxbkhawnthiin accessdate help