แม่เหล็กไฟฟ้าชีวภาพ (อังกฤษ: bioelectromagnetism) หรือ ไฟฟ้าชีวภาพ (อังกฤษ: bioelectricity) หมายถึงพลังงานไฟฟ้า พลังงานแม่เหล็ก หรือที่เกิดขึ้นจากเซลล์ เนื้อเยื่อ หรือสิ่งมีชีวิตต่างๆ ตัวอย่างนี้รวมไปถึง (membrane potential) และกระแสไฟฟ้าที่ไหลอยู่ในเส้นประสาทและกล้ามเนื้อ ซึ่งก่อให้เกิดศักยะงาน (action potential)
คำนี้ไม่ควรสับสนกับ ซึ่งเป็นการศึกษาผลกระทบของสิ่งมีชีวิตจากพลังงานแม่เหล็กไฟฟ้าภายนอก
คำอธิบาย
เซลล์ต่างๆ ใช้ไฟฟ้าชีวภาพเพื่อสะสมพลังงานในกระบวนการสร้างและสลาย เพื่อส่งสัญญาณการเปลี่ยนแปลงภายใน หรือเพื่อส่งสัญญาณระหว่างกัน แม่เหล็กไฟฟ้าชีวภาพคือกระแสไฟฟ้าที่ผลิตขึ้นโดยศักยะงาน พร้อมกับสนามแม่เหล็กที่สร้างขึ้นจากปรากฏการณ์ของทฤษฎีแม่เหล็กไฟฟ้า
แม่เหล็กไฟฟ้าชีวภาพเป็นเรื่องที่ศึกษากันเป็นหลักโดยใช้เทคนิคของ (electrophysiology) ในช่วงปลายคริสต์ศตวรรษที่ 18 แพทย์และนักฟิสิกส์ชาวอิตาลีชื่อ ลุยจี กัลวานี (Luigi Galvani) ได้บันทึกเป็นครั้งแรกว่ากบสามารถผลิตไฟฟ้ากระแสได้ ในขณะที่เขากำลังทดลองเรื่องไฟฟ้าสถิต กัลวานีจึงตั้งชื่อให้ไฟฟ้านี้ว่า ไฟฟ้าจากสัตว์ เพื่ออธิบายปรากฏการณ์ดังกล่าว แต่คนในยุคนั้นก็เรียกกันว่า (Galvanism) กัลวานีพิจารณาว่าการกระตุ้นของกล้ามเนื้อเป็นผลมาจากของเหลวหรือวัสดุนำไฟฟ้าที่อยู่ในเส้นประสาท
แม่เหล็กไฟฟ้าชีวภาพกล่าวถึงมุมมองของสิ่งมีชีวิตทั้งหมด รวมทั้งพืชและสัตว์ สัตว์บางชนิดมีอวัยวะรับความรู้สึกจากไฟฟ้า นกอพยพถิ่นฐานเชื่อว่ามีอวัยวะในการหาเส้นทางโดยอ้างอิงจากสนามแม่เหล็กโลก ฉลามมีปฏิกิริยากับสนามแม่เหล็กไฟฟ้าในบริเวณใกล้เคียงมากกว่ามนุษย์ ปลาไหลไฟฟ้าก็สามารถสร้างกระแสไฟฟ้าที่รุนแรงออกมาจากร่างกายของมัน
ในศาสตร์อื่นๆ ที่เกี่ยวข้องสิ่งมีชีวิตเช่น วิศวกรรมชีวเวชใช้แนวความคิดหลายอย่างของทฤษฎีวงจรไฟฟ้า อณูชีววิทยา เภสัชวิทยา และไฟฟ้าชีวภาพ แม่เหล็กไฟฟ้าชีวภาพนั้นยังเกี่ยวข้องกับ (biorhythm) และ (chronobiology) ด้วย (biofeedback) ถูกใช้ในสรีรวิทยาและจิตวิทยาเพื่อชี้วัดรอบจังหวะของสมบัติเฉพาะทางกายภาพ ทางจิตใจ หรือทางอารมณ์ และเพื่อเป็นเทคนิคของการสอนการควบคุมการทำงานของไฟฟ้าชีวภาพ
แม่เหล็กไฟฟ้าชีวภาพเกี่ยวข้องกับเรื่องปฏิกิริยาของไอออน ซึ่งบางครั้งก็ยากที่จะเข้าใจเนื่องด้วยไฟฟ้าชีวภาพที่ต่างชนิดกัน อาทิ คลื่นสมอง (myoelectricity) และปรากฏการณ์อื่นที่เกี่ยวข้อง เป็นต้น โดยเฉพาะคลื่นสมอง ในการศึกษา (neurophysiology) มีการเปลี่ยนแปลงความต่างศักย์อย่างผันผวนระหว่างส่วนต่างๆ ของซีรีบรัลคอร์เทกซ์ (cerebral cortex) ซึ่งสามารถตรวจวัดได้จากการบันทึกคลื่นไฟฟ้าสมอง (electroencephalography)
แหล่งข้อมูลอื่น
ข้อมูลสนเทศ
- ประวัติอย่างย่อของแม่เหล็กไฟฟ้าชีวภาพ 2007-03-17 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน
- Malmivuo, Jaakko, and Robert Plonsey, "Bioelectromagnetism 2010-05-26 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน, Principles and Applications of Bioelectric and Biomagnetic Fields". Oxford University Press, New York - Oxford. 1995.
- International Journal of Bioelectromagnetism
- International Society for Bioelectromagnetism
คณะวิจัย
- Bioelectromagnetism Research Group 2006-05-20 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน
- Living State Physics Group
- Physikalisch-Technische Bundesanstalt 2008-03-02 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน ห้องปฏิบัติการในเบอร์ลิน
- PSI - Bak 2012-07-16 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน ศึกษาเฉพาะแม่เหล็กไฟฟ้าชีวภาพในมนุษย์
- Ragnar Granit Institute
wikipedia, แบบไทย, วิกิพีเดีย, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด, บทความ, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม, มือถือ, โทรศัพท์, Android, iOS, Apple, โทรศัพท์โมบิล, Samsung, iPhone, Xiomi, Xiaomi, Redmi, Honor, Oppo, Nokia, Sonya, MI, PC, พีซี, web, เว็บ, คอมพิวเตอร์
aemehlkiffachiwphaph xngkvs bioelectromagnetism hrux iffachiwphaph xngkvs bioelectricity hmaythungphlngnganiffa phlngnganaemehlk hruxthiekidkhuncakesll enuxeyux hruxsingmichiwittang twxyangnirwmipthung membrane potential aelakraaesiffathiihlxyuinesnprasathaelaklamenux sungkxihekidskyangan action potential khaniimkhwrsbsnkb sungepnkarsuksaphlkrathbkhxngsingmichiwitcakphlngnganaemehlkiffaphaynxkkhaxthibayeslltang ichiffachiwphaphephuxsasmphlngnganinkrabwnkarsrangaelaslay ephuxsngsyyankarepliynaeplngphayin hruxephuxsngsyyanrahwangkn aemehlkiffachiwphaphkhuxkraaesiffathiphlitkhunodyskyangan phrxmkbsnamaemehlkthisrangkhuncakpraktkarnkhxngthvsdiaemehlkiffa aemehlkiffachiwphaphepneruxngthisuksaknepnhlkodyichethkhnikhkhxng electrophysiology inchwngplaykhriststwrrsthi 18 aephthyaelankfisikschawxitalichux luyci klwani Luigi Galvani idbnthukepnkhrngaerkwakbsamarthphlitiffakraaesid inkhnathiekhakalngthdlxngeruxngiffasthit klwanicungtngchuxihiffaniwa iffacakstw ephuxxthibaypraktkarndngklaw aetkhninyukhnnkeriykknwa Galvanism klwaniphicarnawakarkratunkhxngklamenuxepnphlmacakkhxngehlwhruxwsdunaiffathixyuinesnprasath aemehlkiffachiwphaphklawthungmummxngkhxngsingmichiwitthnghmd rwmthngphuchaelastw stwbangchnidmixwywarbkhwamrusukcakiffa nkxphyphthinthanechuxwamixwywainkarhaesnthangodyxangxingcaksnamaemehlkolk chlammiptikiriyakbsnamaemehlkiffainbriewniklekhiyngmakkwamnusy plaihliffaksamarthsrangkraaesiffathirunaerngxxkmacakrangkaykhxngmn insastrxun thiekiywkhxngsingmichiwitechn wiswkrrmchiwewchichaenwkhwamkhidhlayxyangkhxngthvsdiwngcriffa xnuchiwwithya ephschwithya aelaiffachiwphaph aemehlkiffachiwphaphnnyngekiywkhxngkb biorhythm aela chronobiology dwy biofeedback thukichinsrirwithyaaelacitwithyaephuxchiwdrxbcnghwakhxngsmbtiechphaathangkayphaph thangcitic hruxthangxarmn aelaephuxepnethkhnikhkhxngkarsxnkarkhwbkhumkarthangankhxngiffachiwphaph aemehlkiffachiwphaphekiywkhxngkberuxngptikiriyakhxngixxxn sungbangkhrngkyakthicaekhaicenuxngdwyiffachiwphaphthitangchnidkn xathi khlunsmxng myoelectricity aelapraktkarnxunthiekiywkhxng epntn odyechphaakhlunsmxng inkarsuksa neurophysiology mikarepliynaeplngkhwamtangskyxyangphnphwnrahwangswntang khxngsiribrlkhxrethks cerebral cortex sungsamarthtrwcwdidcakkarbnthukkhluniffasmxng electroencephalography aehlngkhxmulxunkhxmulsneths prawtixyangyxkhxngaemehlkiffachiwphaph 2007 03 17 thi ewyaebkaemchchin Malmivuo Jaakko and Robert Plonsey Bioelectromagnetism 2010 05 26 thi ewyaebkaemchchin Principles and Applications of Bioelectric and Biomagnetic Fields Oxford University Press New York Oxford 1995 International Journal of Bioelectromagnetism International Society for Bioelectromagnetismkhnawicy Bioelectromagnetism Research Group 2006 05 20 thi ewyaebkaemchchin Living State Physics Group Physikalisch Technische Bundesanstalt 2008 03 02 thi ewyaebkaemchchin hxngptibtikarinebxrlin PSI Bak 2012 07 16 thi ewyaebkaemchchin suksaechphaaaemehlkiffachiwphaphinmnusy Ragnar Granit Institute