แนวคิดเกี่ยวกับถิ่นกำเนิดของชนชาติไท ประกอบด้วยแนวคิดทั้งหลายซึ่งอธิบายถึงถิ่นกำเนิดของชนชาติไทที่อาศัยอยู่ในประเทศไทยปัจจุบัน โดยมีอยู่หลากหลายแนวคิด เช่น
แถบตอนใต้ของจีน
เป็นแนวคิดซึ่งเสนอว่าเดิมคนไทยเคยอาศัยอยู่บนเกาะไหหลำ เขตปกครองตนเองกว่างซี มณฑลกุ้ยโจว และมณฑลยูนนาน ซึ่งเป็นบริเวณที่มีคำพ้องกับภาษาไทยจำนวนมาก นักภาษาศาสตร์จึงเสนอว่าเดิมชาวไทยเคยอยู่อาศัยในแถบตะวันออกเฉียงใต้ของจีน จากนั้นอพยพไปยังยูนนาน ก่อนที่จะอพยพลงมายังคาบสมุทรอินโดจีน แต่การศึกษาในระยะต่อมา แนวคิดดังกล่าวจึงเปลี่ยนเป็นว่าชนชาติไทยเคยอาศัยอยู่แถบเขตปกครองตนเองกว่างซี หรือเวียดนามแถวเดียนเบียนฟู
- นักประวัติศาสตร์ที่เห็นด้วย เช่น ศาสตราจารย์เจมส์ อาร์. เอ. เชมเบอร์ลิน, ศาสตราจารย์หลีฟ้ง-ก้าย, ศาสตราจารย์ ดร.ประเสริฐ ณ นคร และ ดร.มาร์วิน บราวน์
ต่อมา รายงาน The Archaeological Excavation in Thailand (การขุดค้นโบราณคดีในประเทศไทย) ของ ดร.เบีย ซอเรสเสน นักโบราณคดีชาวเดนมาร์ก ได้เสนอว่า ชนชาติไทยถือกำเนิดบริเวณตอนใต้ของจีน อพยพขึ้นเหนือ แล้วอพยพกลับลงมาอีก จากหลักฐานซึ่งปรากฏว่ามีคนไทยหมู่หนึ่งเคยพูดภาษาไทยมานานถึง 3,777 ปีมาแล้ว
- พิสิฐ เจริญวงศ์ ได้สนับสนุนแนวคิดดังกล่าว และนับว่าภาคอีสานของไทยเป็นจุดเริ่มต้นของวัฒนธรรมยุคโลหะในเอเชีย
- จิตร บัวบุศย์ ได้เสนอว่าวัฒนธรรมไทยเริ่มขึ้นที่บ้านเชียง และคนไทยเคยอพยพขึ้นไปทางเหนือแล้วย้อนกลับลงมาอีก
- อย่างไรก็ตาม งานเขียนของ ศาสตราจารย์ชิน อยู่ดี ระบุว่า วัฒนธรรมบ้านเชียงไม่สามารถระบุได้ว่ามนุษย์บ้านเชียงเป็นคนไทย เพราะในอดีตเคยมีการอพยพขึ้นเหนือและลงใต้อยู่หลายครั้ง
- กวี อมรสิริธาดา เคยไปท่องเที่ยวเสียมราฐ ระหว่างที่เดินชมนครวัดอยู่นั้น มีชายชาวเวียดนามกำลังวิจารณ์รูปสลักบนผนังเป็นข้อความว่า "ไก่ไก่กำลังตีกัน" แต่พูดค่อนข้างเร็ว ซึ่งในรูปแกะสลักนั้นมีการแสดงวัฒนธรรมการละเล่นพื้นบ้านของชาวเขมร ซึ่งการชนไก่เป็นที่นิยมในสมัยนั้น นั่นจึงอาจสนับสนุนทฤษฎีที่ว่าชนชาติไทยอาจเคยอาศัยบริเวณตอนเหนือของเวียดนามมาก่อน เนื่องจากภาษาพูดบางส่วนคล้ายคลึงภาษาไทยมาก
ดินแดนประเทศไทยปัจจุบัน
- สุจิตต์ วงษ์เทศ ได้เสนอในบทความ "คนไทยไม่ได้มาจากไหน" ว่า คนไทยได้อาศัยอยู่ในดินแดนประเทศไทยปัจจุบันมาเป็นเวลาช้านานแล้ว โดยเกิดจากการรวมตัวกันของแคว้นต่าง ๆ เข้าด้วยกันจนเป็นประเทศเดียวกัน เนื่องจากวัฒนธรรมพื้นฐานที่คล้ายคลึงกัน และการที่ได้รับอิทธิพลจากวัฒนธรรมอินเดียเหมือนกัน โดยถือว่าคนที่พูดภาษาที่คล้ายคลีงกันเป็นบรรพบุรุษทางวัฒนธรรมอันก่อให้เกิดพัฒนาการมาเป็นคนไทยในปัจจุบัน อย่างไรก็ตาม ประชาชนเหล่านี้ไม่ค่อยมีความรู้สึกในเรื่องเชื้อชาติ แต่เน้นไปทางแว่นแคว้นมากกว่า
- ควอริช เวลส์ (Horace Geoffrey Quaritch Wales) นักวิชาการประวัติศาสตร์และโบราณคดีชาวอังกฤษคนแรก เสนอว่า ถิ่นเดิมของชนชาติไทยอยู่บริเวรณราชอาณาจักรไทยในปัจจุบัน จากหลักฐานกะโหลกศีรษะ อายุราวพุทธศตวรรษที่ 6 (ราว พ.ศ. 500) ขุดพบที่ตำบลพงตึก อำเภอท่ามะกา จังหวัดกาญจนบุรี ซึ่งเวลส์พบว่ามีลักษณะใกล้เคียงกับกะโหลกศีรษะคนไทยในปัจจุบัน สอดคล้องกับการศึกษาหลักฐานโบราณคดีและมนุษยวิทยากายภาพของ ศ.เกียรติคุณ ศ.ชิน อยู่ดี และ ศ.เกียรติคุณ นายแพทย์สุด แสงวิเชียร ผู้เชี่ยวชาญด้านกายวิภาคศาสตร์ โดยเปรียบเทียบโครงกระดูกระหว่างคนก่อนประวัติศาสตร์จากแหล่งโบราณคดีบ้านเก่า จังหวัดกาญจนบุรี หลักฐานดังกล่าวนำไปสู่ สมมติฐานว่าชนชาติไทยอาจตั้งหลักแหล่งอยู่บริเวณที่เป็นราชอาณาจักรไทยมานานกว่า 2,000 ปีแล้ว
แถบตอนกลางของจีน
เป็นแนวคิดซึ่งเริ่มมาจาก ดร.วิลเลียม คลิฟตัน ดอดด์ ในหนังสือเรื่อง The Thai Race: Elder Brother of the Chinese (ชนชาติไทย: พี่ชายของชนชาติจีน) โดยเสนอว่าชนชาติไทเคยอยู่แถบลุ่มแม่น้ำหวงเหอ ต่อมา ชนชาติไทถูกชนชาติจีนมาปะทะจึงต้องถอยร่นไปในหลายทิศทาง ซึ่งส่วนมากได้ถอยไปยังแม่น้ำแยงซีและมณฑลยูนนานและตั้งอาณาจักรน่านเจ้า
- แนวคิดนี้มีนักประวัติศาสตร์เห็นด้วยจำนวนหนึ่ง เช่น วอลฟรัม เอเบอร์ฮาร์ด ในหนังสือ A History of China (ประวัติศาสตร์จีน) และศาสตราจารย์ขจร สุขพานิช ในบทความ "ถิ่นกำเนิดในประวัติศาสตร์ของชาติไทย"
- ส่วนนักประวัติศาสตร์ที่ไม่เห็นด้วย เช่น ศาสตราจารย์วิลเลียม เจ. เก็ดนีย์, ดร.เฟรเดอริก โมต, ชาลส์ โรนีย์ แบกคัส, และวินัย พงศ์ศรีเพียร
- แบกคัสให้เหตุผลว่าคำในภาษาไทยไม่มีในคำภาษาน่านเจ้า, คำในภาษาน่านเจ้าส่วนใหญ่เชื่อมโยงกับกลุ่มภาษาทิเบต-พม่ามากที่สุด ซึ่งไม่ค่อยเกี่ยวข้องกับภาษาไทยเท่าใดนัก และรากฐานและพื้นฐานระหว่างวัฒนธรรมอ้ายลาวกับวัฒนธรรมน่านเจ้ามีความแตกต่างกัน
- วินัย พงศ์รีเพียรได้อ้างงานเขียนของศาสตราจารย์ยอร์ช เซเดส์ ซึ่งกล่าวว่าชนชาติไทยปรากฏในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ในช่วงพุทธศตวรรษที่ 16
แถบเทือกเขาอัลไต
แนวคิดดังกล่าวมาจากงานเขียนเรื่อง "หลักไทย" ของขุนวิจิตรมาตรา กล่าวว่าเดิมชนชาติไทยเคยอาศัยอยู่แถบเทือกเขาอัลไตเมื่อประมาณ 6000 ปีที่แล้ว ต่อมา ได้อพยพลงมายังแม่น้ำหวงเหอ เรียกว่า "อาณาจักรไทยมุง" หรือ "อาณาจักรไทยเมือง" และได้อพยพลงมาอีกจนถึงลุ่มแม่น้ำแยงซี แต่ต่อมาได้เสียเมืองให้กับจีน จึงต้องอพยพลงมาทางใต้ต่อไป แนวคิดดังกล่าวไม่ค่อยได้รับการยอมรับจากนักประวัติศาสตร์ โดยได้มีผู้แสดงเหตุผลโต้แย้งหลายคน อย่างเช่น
- ศาสตราจารย์วิลห์ เครดเนอร์เห็นว่า ถิ่นกำเนิดของชนชาติไทควรอยู่ในแถบแม่น้ำ และมีภูมิอากาศกึ่งร้อนชื้นทางตอนใต้ของจีน
- ดร.พอล เค. เบเนดิกต์ เห็นว่า คนไทยไม่ได้มีเชื้อสายมาจากประเทศจีน เพราะรากศัพท์ที่แตกต่างกัน
- ศาสตราจารย์อาจารย์ขจร สุขพานิช เห็นว่าระยะทางจากเทือกเขาอัลไตถึงประเทศไทยอยู่ห่างกันมาก และคนไทยไม่สามารถรอดชีวิตได้จากการเดินทางผ่านทะเลทรายโกบี
- ขุนวิจิตรมาตรา ยอมรับว่าเป็นเพียงเรื่องแต่ง ที่แต่งเข้าประกวดในงานประกวด โดยไม่ได้ตั้งใจให้เป็นตำราประวัติศาสตร์ เนื้อหาในหนังสือระบุ "เดิมชนชาติไทยเคยอาศัยอยู่แถบเทือกเขาอัลไตเมื่อประมาณ 6000 ปีที่แล้ว ต่อมา ได้อพยพลงมายังแม่น้ำหวงเหอ เรียกว่า อาณาจักรไทยมุง หรืออาณาจักรไทยเมือง และได้อพยพลงมาอีกจนถึงลุ่มแม่น้ำแยงซี แต่ต่อมาได้เสียเมืองให้กับจีน จึงต้องอพยพลงมาทางใต้ต่อไป"
- แบบเรียนของกระทรวงศึกษาธิการตามหลักสูตรใน พ.ศ. 2521 ได้ระบุให้ยกเลิกแนวคิดนี้จากแบบเรียนเรื่องคนไทยอพยพจากเทือกเขาอัลไต
- นิตยสารศิลปวัฒนธรรม ฉบับมีนาคม 2523 ตีพิมพ์ถ้อยคำของ ขุนวิจิตรฯ ถึงประเด็นอันน่าเคลือบแคลงนี้ ซึ่งท่านอ้างว่าไม่ได้คิดขึ้นเอง แต่ได้มาจากหมอวิลเลียม คลิฟตัน ดอดด์ ผู้เขียน The Thai Race-The Elder Brother of Chinese "ผมเขียนตามของหมอดอดด์ เขาว่างั้นนะ ไม่ใช่ผมมาเม้คขึ้นเองเมื่อไหร่ ผมก็ไม่รู้ (หัวเราะ) ผมไม่รู้หรอก ว่าจริงหรือไม่จริง"
แถบหมู่เกาะ
จากการศึกษาความหนาแน่นของหมู่เลือดพิเศษซึ่งมักพบในคนไทย มีความหนาแน่นมาทางตอนใต้แล้วค่อยลดลงเมื่อขึ้นมาทางเหนือ ในปี พ.ศ. 2506 นายแพทย์สมศักดิ์ สุวรรณสมบูรณ์ จึงเสนอว่าชนชาติไทยอาจอพยพขึ้นไปทางเหนือ
- พลตรี ดำเนิร เลขะกุล แสดงความเห็นว่า ผลการตรวจอาจไม่สามารถสรุปได้ เนื่องจากผู้ที่ตรวจอาจมิใช่คนไทยทั้งหมด
- ศาสตราจารย์ขจร สุขพานิช แสดงความเห็นว่า ดินแดนแถบหมู่เกาะมีความอุดมสมบูรณ์มากกว่าดินแดนประเทศไทย จึงแทบจะเป็นไปไม่ได้ที่จะมีการอพยพไปอยู่ที่อื่น
อ้างอิง
- วัลลภา รุ่งศิริแสงรัตน์. หน้า 22.
- วัลลภา รุ่งศิริแสงรัตน์. หน้า 23.
- วัลลภา รุ่งศิริแสงรัตน์. หน้า 24.
- วัลลภา รุ่งศิริแสงรัตน์. หน้า 24-25.
- วัลลภา รุ่งศิริแสงรัตน์. หน้า 25.
- วัลลภา รุ่งศิริแสงรัตน์. หน้า 31.
- วัลลภา รุ่งศิริแสงรัตน์. หน้า 30.
- ปรีชา กาญจนาคม, คณะโบราณดี มหาวิทยาลัยศิลปากร. (2533). แนวทางศึกษาโบราณคดี. นครปฐม: มหาวิทยาลัยศิลปากร. 123 หน้า. หน้า 90.
- ดนัย ไชยโยธา. (2543). พัฒนาการของมนุษย์กับอารยธรรมในราชอาณาจักรไทย เล่ม 1. กรุงเทพฯ: โอเดียนสโตร์. หน้า 18. ISBN
- วัลลภา รุ่งศิริแสงรัตน์. หน้า 19-20.
- วัลลภา รุ่งศิริแสงรัตน์. หน้า 20.
- วัลลภา รุ่งศิริแสงรัตน์. หน้า 20-22.
- วัลลภา รุ่งศิริแสงรัตน์. หน้า 19.
- . มติชนออนไลน์. 18 กุมภาพันธ์ 2558. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2016-03-22. สืบค้นเมื่อ 22 มิถุนายน 2017.
- วัลลภา รุ่งศิริแสงรัตน์. หน้า 25-26.
- วัลลภา รุ่งศิริแสงรัตน์. หน้า 26.
บรรณานุกรม
- วัลลภา รุ่งศิริแสงรัตน์. (2545). บรรพบุรุษไทย: สมัยก่อนสุโขทัยและสมัยสุโขทัย. โรงพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. .
wikipedia, แบบไทย, วิกิพีเดีย, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด, บทความ, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม, มือถือ, โทรศัพท์, Android, iOS, Apple, โทรศัพท์โมบิล, Samsung, iPhone, Xiomi, Xiaomi, Redmi, Honor, Oppo, Nokia, Sonya, MI, PC, พีซี, web, เว็บ, คอมพิวเตอร์
aenwkhidekiywkbthinkaenidkhxngchnchatiith prakxbdwyaenwkhidthnghlaysungxthibaythungthinkaenidkhxngchnchatiiththixasyxyuinpraethsithypccubn odymixyuhlakhlayaenwkhid echnaethbtxnitkhxngcinepnaenwkhidsungesnxwaedimkhnithyekhyxasyxyubnekaaihhla ekhtpkkhrxngtnexngkwangsi mnthlkuyocw aelamnthlyunnan sungepnbriewnthimikhaphxngkbphasaithycanwnmak nkphasasastrcungesnxwaedimchawithyekhyxyuxasyinaethbtawnxxkechiyngitkhxngcin caknnxphyphipyngyunnan kxnthicaxphyphlngmayngkhabsmuthrxinodcin aetkarsuksainrayatxma aenwkhiddngklawcungepliynepnwachnchatiithyekhyxasyxyuaethbekhtpkkhrxngtnexngkwangsi hruxewiydnamaethwediynebiynfu nkprawtisastrthiehndwy echn sastracaryecms xar ex echmebxrlin sastracaryhlifng kay sastracary dr praesrith n nkhr aela dr marwin brawn txma rayngan The Archaeological Excavation in Thailand karkhudkhnobrankhdiinpraethsithy khxng dr ebiy sxersesn nkobrankhdichawednmark idesnxwa chnchatiithythuxkaenidbriewntxnitkhxngcin xphyphkhunehnux aelwxphyphklblngmaxik cakhlkthansungpraktwamikhnithyhmuhnungekhyphudphasaithymananthung 3 777 pimaaelw phisith ecriywngs idsnbsnunaenwkhiddngklaw aelanbwaphakhxisankhxngithyepncuderimtnkhxngwthnthrrmyukholhainexechiy citr bwbusy idesnxwawthnthrrmithyerimkhunthibanechiyng aelakhnithyekhyxphyphkhunipthangehnuxaelwyxnklblngmaxik xyangirktam nganekhiynkhxng sastracarychin xyudi rabuwa wthnthrrmbanechiyngimsamarthrabuidwamnusybanechiyngepnkhnithy ephraainxditekhymikarxphyphkhunehnuxaelalngitxyuhlaykhrng kwi xmrsirithada ekhyipthxngethiywesiymrath rahwangthiedinchmnkhrwdxyunn michaychawewiydnamkalngwicarnrupslkbnphnngepnkhxkhwamwa ikikkalngtikn aetphudkhxnkhangerw sunginrupaekaslknnmikaraesdngwthnthrrmkarlaelnphunbankhxngchawekhmr sungkarchnikepnthiniyminsmynn nncungxacsnbsnunthvsdithiwachnchatiithyxacekhyxasybriewntxnehnuxkhxngewiydnammakxn enuxngcakphasaphudbangswnkhlaykhlungphasaithymakdinaednpraethsithypccubnsucitt wngseths idesnxinbthkhwam khnithyimidmacakihn wa khnithyidxasyxyuindinaednpraethsithypccubnmaepnewlachananaelw odyekidcakkarrwmtwknkhxngaekhwntang ekhadwykncnepnpraethsediywkn enuxngcakwthnthrrmphunthanthikhlaykhlungkn aelakarthiidrbxiththiphlcakwthnthrrmxinediyehmuxnkn odythuxwakhnthiphudphasathikhlaykhlingknepnbrrphburusthangwthnthrrmxnkxihekidphthnakarmaepnkhnithyinpccubn xyangirktam prachachnehlaniimkhxymikhwamrusukineruxngechuxchati aetennipthangaewnaekhwnmakkwa khwxrich ewls Horace Geoffrey Quaritch Wales nkwichakarprawtisastraelaobrankhdichawxngkvskhnaerk esnxwa thinedimkhxngchnchatiithyxyubriewrnrachxanackrithyinpccubn cakhlkthankaohlksirsa xayurawphuththstwrrsthi 6 raw ph s 500 khudphbthitablphngtuk xaephxthamaka cnghwdkaycnburi sungewlsphbwamilksnaiklekhiyngkbkaohlksirsakhnithyinpccubn sxdkhlxngkbkarsuksahlkthanobrankhdiaelamnusywithyakayphaphkhxng s ekiyrtikhun s chin xyudi aela s ekiyrtikhun nayaephthysud aesngwiechiyr phuechiywchaydankaywiphakhsastr odyepriybethiybokhrngkradukrahwangkhnkxnprawtisastrcakaehlngobrankhdibaneka cnghwdkaycnburi hlkthandngklawnaipsu smmtithanwachnchatiithyxactnghlkaehlngxyubriewnthiepnrachxanackrithymanankwa 2 000 piaelwaethbtxnklangkhxngcinepnaenwkhidsungerimmacak dr wileliym khliftn dxdd inhnngsuxeruxng The Thai Race Elder Brother of the Chinese chnchatiithy phichaykhxngchnchaticin odyesnxwachnchatiithekhyxyuaethblumaemnahwngehx txma chnchatiiththukchnchaticinmapathacungtxngthxyrnipinhlaythisthang sungswnmakidthxyipyngaemnaaeyngsiaelamnthlyunnanaelatngxanackrnaneca aenwkhidniminkprawtisastrehndwycanwnhnung echn wxlfrm exebxrhard inhnngsux A History of China prawtisastrcin aelasastracarykhcr sukhphanich inbthkhwam thinkaenidinprawtisastrkhxngchatiithy swnnkprawtisastrthiimehndwy echn sastracarywileliym ec ekdniy dr efredxrik omt chals orniy aebkkhs aelawiny phngssriephiyr aebkkhsihehtuphlwakhainphasaithyimmiinkhaphasananeca khainphasananecaswnihyechuxmoyngkbklumphasathiebt phmamakthisud sungimkhxyekiywkhxngkbphasaithyethaidnk aelarakthanaelaphunthanrahwangwthnthrrmxaylawkbwthnthrrmnanecamikhwamaetktangkn winy phngsriephiyridxangnganekhiynkhxngsastracaryyxrch eseds sungklawwachnchatiithypraktinexechiytawnxxkechiyngitinchwngphuththstwrrsthi 16aethbethuxkekhaxlitaenwkhiddngklawmacaknganekhiyneruxng hlkithy khxngkhunwicitrmatra klawwaedimchnchatiithyekhyxasyxyuaethbethuxkekhaxlitemuxpraman 6000 pithiaelw txma idxphyphlngmayngaemnahwngehx eriykwa xanackrithymung hrux xanackrithyemuxng aelaidxphyphlngmaxikcnthunglumaemnaaeyngsi aettxmaidesiyemuxngihkbcin cungtxngxphyphlngmathangittxip aenwkhiddngklawimkhxyidrbkaryxmrbcaknkprawtisastr odyidmiphuaesdngehtuphlotaeynghlaykhn xyangechn sastracarywilh ekhrdenxrehnwa thinkaenidkhxngchnchatiithkhwrxyuinaethbaemna aelamiphumixakaskungrxnchunthangtxnitkhxngcin dr phxl ekh ebendikt ehnwa khnithyimidmiechuxsaymacakpraethscin ephraaraksphththiaetktangkn sastracaryxacarykhcr sukhphanich ehnwarayathangcakethuxkekhaxlitthungpraethsithyxyuhangknmak aelakhnithyimsamarthrxdchiwitidcakkaredinthangphanthaelthrayokbi khunwicitrmatra yxmrbwaepnephiyngeruxngaetng thiaetngekhaprakwdinnganprakwd odyimidtngicihepntaraprawtisastr enuxhainhnngsuxrabu edimchnchatiithyekhyxasyxyuaethbethuxkekhaxlitemuxpraman 6000 pithiaelw txma idxphyphlngmayngaemnahwngehx eriykwa xanackrithymung hruxxanackrithyemuxng aelaidxphyphlngmaxikcnthunglumaemnaaeyngsi aettxmaidesiyemuxngihkbcin cungtxngxphyphlngmathangittxip aebberiynkhxngkrathrwngsuksathikartamhlksutrin ph s 2521 idrabuihykelikaenwkhidnicakaebberiyneruxngkhnithyxphyphcakethuxkekhaxlit nitysarsilpwthnthrrm chbbminakhm 2523 tiphimphthxykhakhxng khunwicitr thungpraednxnnaekhluxbaekhlngni sungthanxangwaimidkhidkhunexng aetidmacakhmxwileliym khliftn dxdd phuekhiyn The Thai Race The Elder Brother of Chinese phmekhiyntamkhxnghmxdxdd ekhawangnna imichphmmaemkhkhunexngemuxihr phmkimru hweraa phmimruhrxk wacringhruximcring aethbhmuekaacakkarsuksakhwamhnaaennkhxnghmueluxdphiesssungmkphbinkhnithy mikhwamhnaaennmathangtxnitaelwkhxyldlngemuxkhunmathangehnux inpi ph s 2506 nayaephthysmskdi suwrrnsmburn cungesnxwachnchatiithyxacxphyphkhunipthangehnux phltri daenir elkhakul aesdngkhwamehnwa phlkartrwcxacimsamarthsrupid enuxngcakphuthitrwcxacmiichkhnithythnghmd sastracarykhcr sukhphanich aesdngkhwamehnwa dinaednaethbhmuekaamikhwamxudmsmburnmakkwadinaednpraethsithy cungaethbcaepnipimidthicamikarxphyphipxyuthixunxangxingwllpha rungsiriaesngrtn hna 22 wllpha rungsiriaesngrtn hna 23 wllpha rungsiriaesngrtn hna 24 wllpha rungsiriaesngrtn hna 24 25 wllpha rungsiriaesngrtn hna 25 wllpha rungsiriaesngrtn hna 31 wllpha rungsiriaesngrtn hna 30 pricha kaycnakhm khnaobrandi mhawithyalysilpakr 2533 aenwthangsuksaobrankhdi nkhrpthm mhawithyalysilpakr 123 hna hna 90 dny ichyoytha 2543 phthnakarkhxngmnusykbxarythrrminrachxanackrithy elm 1 krungethph oxediynsotr hna 18 ISBN 974 277 805 1 wllpha rungsiriaesngrtn hna 19 20 wllpha rungsiriaesngrtn hna 20 wllpha rungsiriaesngrtn hna 20 22 wllpha rungsiriaesngrtn hna 19 mtichnxxniln 18 kumphaphnth 2558 khlngkhxmulekaekbcakaehlngedimemux 2016 03 22 subkhnemux 22 mithunayn 2017 wllpha rungsiriaesngrtn hna 25 26 wllpha rungsiriaesngrtn hna 26 brrnanukrmwllpha rungsiriaesngrtn 2545 brrphburusithy smykxnsuokhthyaelasmysuokhthy orngphimphaehngculalngkrnmhawithyaly ISBN 974 13 1780 8