เวียงเชียงใหม่ หรือชื่อในรัชสมัยพระเจ้ากาวิละคือ เมืองรัตตนติงสาอภินวปุรี หมายถึงเขตเมืองนครหลวงของเชียงใหม่ (เขตเมืองเก่าในปัจจุบัน) แบ่งออกเป็นสองชั้น ได้แก่ "เวียงชั้นนอก" เป็นเขตเมืองโบราณรูปวงกลม ไม่แน่ชัดถึงปีสร้างและผู้สร้าง แต่ตำนานคาดว่าสร้างโดยพญาลั๊วะ ซึ่งต่อมาถูกทิ้งร้าง และ "เวียงชั้นใน" เป็นเขตเมืองรูปสี่เหลี่ยมจัตุรัส ซึ่งพญามังรายทรงสถาปนาขึ้นเมื่อวันที่ 12 เมษายน (ตามปฏิทินจูเลียน) หรือ 19 เมษายน (ตามปฏิทินกริกอเรียน) พ.ศ. 1839 เป็นการสร้างทับเวียงชั้นนอก เพื่อเป็นเมืองหลวงแห่งใหม่ของอาณาจักรล้านนาแทนที่เวียงกุมกาม
"ศักราช ๖๕๘ ปีรวายสัน เดือนวิสาขะ ออก ๘ ค่ำ วัน ๕ วันไทย เมิงเปล้า ยามแตรรุ่งแล้ว ๒ ลูกนาที ปลาย ๒ บาทน้ำ ลัคนาเสวยนวางค์พฤหัสบดี ในมีนราศี พญามังรายเจ้า และพญางำเมือง พญาร่วง ทั้งสามคน ตั้งหอนอนที่ชัยภูมิ ราชมนเทียร ขุดคือเมือง ก่อตรีบูรทั้งสี่ด้าน"
— จารึกหลักที่ ๗๖ วัดเชียงมั่น
เขตเวียง
ชั้นใน
เวียงชั้นใน เป็นที่อยู่ของเจ้าผู้ครองนคร, เชื้อพระวงศ์, ขุนนาง และชาวยวนซึ่งเป็นชาวเมืองพื้นถิ่น มีกำแพงอิฐหนาล้อมรอบทั้งสี่ด้าน มีประตูอยู่ 5 ประตู มุมกำแพงทั้ง 4 มุม ทำเป็นป้อมปราการแบบไม่มีหลังคา รอบกำแพงด้านนอก ขุดเป็นคูน้ำ กว้างประมาณ 16 เมตร (ในอดีต) โดยชักน้ำมาจากดอยสุเทพเข้าทางคูเมืองตรงป้อมทิศตะวันตกเฉียงเหนือ โดยน้ำที่ชักมามีการเก็บเป็นช่วง ๆ คูน้ำ แต่ละช่วงของคูน้ำก็จะมีความสูงพื้นที่ลดหลั่นกันไป เริ่มจากจุดที่ชักน้ำเข้ามา เป็นจุดที่มีความสูงมากที่สุด และตรงป้อมด้านทิศตะวันออกเฉียงใต้ เป็นจุดที่มีความสูงพื้นที่ต่ำที่สุด
ในเขตเวียงชั้นในนี้ ยังเป็นที่ตั้งของเวียงแก้ว หรือเขตพระราชฐานของกษัตริย์และเจ้าผู้ครองนคร
ชั้นนอก
เวียงชั้นนอก ซึ่งตั้งอยู่ไม่เกินไปกว่าแนวกำแพงดิน เป็นเขตที่อยู่อาศัยของกลุ่มชาติพันธุ์หลากหลาย เช่น ชาวเขิน, มอญ, พม่า ไทใหญ่ และไทยวน มีกำแพงคอยโอบล้อมเวียงชั้นในไว้เฉพาะด้านทิศใต้ และทิศตะวันออกเท่านั้น ส่วนทิศเหนือและทิศตะวันตกของเมือง มีกำแพงอยู่ชั้นเดียวคือกำแพงของเวียงชั้นใน เวียงชั้นนอกมีประตูอยู่ 5 ประตู ตัวกำแพงมีทั้งช่วงที่ก่ออิฐ และเป็นกำแพงดินที่ด้านบนปูด้วยอิฐใช้เป็นทางเดิน ติดกับกำแพงด้านนอก มีคลองแม่ข่า เป็นปราการชั้นแรก ตัวกำแพงสูงราว 8 เมตร มีฐานกว้างราว 6 เมตร ทางเดินด้านบนกว้างราว 3 เมตร มีป้อมตรวจการณ์เป็นระยะ
"ตัวเมืองเชียงใหม่นี้เป็นที่ใหญ่โตและภูมถานดียิ่งนัก สมควรที่จะเป็นเมืองใหญ่แห่งพระราชอาณาจักร์ฝ่ายเหนือ มีบ้านเรือนโรงร้านตึกห้างอย่างดีเกือบจะเผลอไปว่าเป็นกรุงเทพฯ ได้บ้างทีเดียว มีแปลกอย่างหนึ่งที่บ้านเมืองที่ครึกครื้นมาอยู่ริมลำแม่น้ำทั้งหมด ส่วนภายในกำแพงที่เขาเรียกกันที่นี่ว่าในเวียงออกจะกลายเป็นป่า มีแต่วัดมากกว่าอย่างอื่น มีที่รกๆ ทิ้งอยู่เปล่าๆ เป็นอันมาก ที่ยังเป็นที่คนอยู่ได้ติดอยู่เดี๋ยวนี้ เพราะเหตุที่มีศาลารัฐบาลแลสถานที่ราชการบางอย่างตั้งอยู่ภายในกำแพงเมือง ทำให้คนต้องไปมา ก็มีราษฎรตั้งอยู่ขายข้าวขายของบ้าง แต่ร่วงโรยเสียเต็มทีความรู้สึกเดี๋ยวนี้ที่เรียกว่าในเวียงหน้าตาเป็นนอกเวียง ส่วนตัวเมืองจริงๆ อยู่ข้างนอกทั้งนั้น"
— สมเด็จพระอนุชาธิราช กรมหลวงนครราชสีมา
เสด็จตรวจราชการฝ่ายเหนือ เมื่อ พ.ศ. 2463
อ้างอิง
- เชิงอรรถ
- ตำนานพื้นเมืองเชียงใหม่, หน้า 176
- วันสถาปนาเมืองเชียงใหม่, หน้า 5
- หอจดหมายเหตุแห่งชาติ. ร.๖ ม.๒๗/๑๐ เรื่อง สมเด็จเจ้าฟ้า กรมหลวงนครราชสีมา เสด็จมณฑลพายัพ (๓๑ ตุลาคม ๒๔๖๓-๒๙ มีนาคม ๒๔๖๗).
- บรรณานุกรม
- ทิว วิชัยขัทคะ. ๒๕๒๗. กำแพงเมืองและประตูเมืองเชียงใหม่และภาพประกอบ. บทความในภาคผนวก หน้า ๙๑-๙๓ ในหนังสือล้านนาไทย : อนุสรณ์พระราชพีธีเปิดพระบรมราชานุสาวรีย์สามกษัตริย์ พ.ศ ๒๕๒๖-๒๕๒๗.
- พระบารมีปกเกล้าฯ ยุพราชวิทยาลัย ๑๐๐ ปีนามพระราชทาน. นครเชียงใหม่ : ประวัติศาสตร์ การพัฒนาการศึกษา และสังคมเมืองเชียงใหม่. โรงเรียนยุพราชวิทยาลัย พ.ศ. 2550
- มูลนิธิสถาบันพัฒนาเมืองเชียงใหม่. วันสถาปนาเมืองเชียงใหม่. เชียงใหม่ : โรงพิมพ์มิ่งเมือง, 2559. 64 หน้า. ISBN
- อรุณรัตน์ วิเชียรเขียว และเดวิด เค. วัยอาจ (ปริวรรต). ตำนานพื้นเมืองเชียงใหม่. กรุงเทพฯ : ซิลค์เวอร์ม, 2543. 232 หน้า. ISBN
ก่อนหน้า | เวียงเชียงใหม่ | ถัดไป | ||
---|---|---|---|---|
เวียงกุมกาม | เมืองหลวงของอาณาจักรล้านนา (พ.ศ. 1839–2318) | – |
wikipedia, แบบไทย, วิกิพีเดีย, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด, บทความ, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม, มือถือ, โทรศัพท์, Android, iOS, Apple, โทรศัพท์โมบิล, Samsung, iPhone, Xiomi, Xiaomi, Redmi, Honor, Oppo, Nokia, Sonya, MI, PC, พีซี, web, เว็บ, คอมพิวเตอร์
ewiyngechiyngihm hruxchuxinrchsmyphraecakawilakhux emuxngrttntingsaxphinwpuri hmaythungekhtemuxngnkhrhlwngkhxngechiyngihm ekhtemuxngekainpccubn aebngxxkepnsxngchn idaek ewiyngchnnxk epnekhtemuxngobranrupwngklm imaenchdthungpisrangaelaphusrang aettanankhadwasrangodyphyalwa sungtxmathukthingrang aela ewiyngchnin epnekhtemuxngrupsiehliymcturs sungphyamngraythrngsthapnakhunemuxwnthi 12 emsayn tamptithincueliyn hrux 19 emsayn tamptithinkrikxeriyn ph s 1839 epnkarsrangthbewiyngchnnxk ephuxepnemuxnghlwngaehngihmkhxngxanackrlannaaethnthiewiyngkumkam skrach 658 pirwaysn eduxnwisakha xxk 8 kha wn 5 wnithy emingepla yamaetrrungaelw 2 luknathi play 2 bathna lkhnaeswynwangkhphvhsbdi inminrasi phyamngrayeca aelaphyangaemuxng phyarwng thngsamkhn tnghxnxnthichyphumi rachmnethiyr khudkhuxemuxng kxtriburthngsidan carukhlkthi 76 wdechiyngmnekhtewiyngchnin ewiyngchnin epnthixyukhxngecaphukhrxngnkhr echuxphrawngs khunnang aelachawywnsungepnchawemuxngphunthin mikaaephngxithhnalxmrxbthngsidan mipratuxyu 5 pratu mumkaaephngthng 4 mum thaepnpxmprakaraebbimmihlngkha rxbkaaephngdannxk khudepnkhuna kwangpraman 16 emtr inxdit odychknamacakdxysuethphekhathangkhuemuxngtrngpxmthistawntkechiyngehnux odynathichkmamikarekbepnchwng khuna aetlachwngkhxngkhunakcamikhwamsungphunthildhlnknip erimcakcudthichknaekhama epncudthimikhwamsungmakthisud aelatrngpxmdanthistawnxxkechiyngit epncudthimikhwamsungphunthitathisud inekhtewiyngchninni yngepnthitngkhxngewiyngaekw hruxekhtphrarachthankhxngkstriyaelaecaphukhrxngnkhr chnnxk ewiyngchnnxk sungtngxyuimekinipkwaaenwkaaephngdin epnekhtthixyuxasykhxngklumchatiphnthuhlakhlay echn chawekhin mxy phma ithihy aelaithywn mikaaephngkhxyoxblxmewiyngchniniwechphaadanthisit aelathistawnxxkethann swnthisehnuxaelathistawntkkhxngemuxng mikaaephngxyuchnediywkhuxkaaephngkhxngewiyngchnin ewiyngchnnxkmipratuxyu 5 pratu twkaaephngmithngchwngthikxxith aelaepnkaaephngdinthidanbnpudwyxithichepnthangedin tidkbkaaephngdannxk mikhlxngaemkha epnprakarchnaerk twkaaephngsungraw 8 emtr mithankwangraw 6 emtr thangedindanbnkwangraw 3 emtr mipxmtrwckarnepnraya twemuxngechiyngihmniepnthiihyotaelaphumthandiyingnk smkhwrthicaepnemuxngihyaehngphrarachxanackrfayehnux mibaneruxnorngrantukhangxyangdiekuxbcaephlxipwaepnkrungethph idbangthiediyw miaeplkxyanghnungthibanemuxngthikhrukkhrunmaxyurimlaaemnathnghmd swnphayinkaaephngthiekhaeriykknthiniwainewiyngxxkcaklayepnpa miaetwdmakkwaxyangxun mithirk thingxyuepla epnxnmak thiyngepnthikhnxyuidtidxyuediywni ephraaehtuthimisalarthbalaelsthanthirachkarbangxyangtngxyuphayinkaaephngemuxng thaihkhntxngipma kmirasdrtngxyukhaykhawkhaykhxngbang aetrwngoryesiyetmthikhwamrusukediywnithieriykwainewiynghnataepnnxkewiyng swntwemuxngcring xyukhangnxkthngnn smedcphraxnuchathirach krmhlwngnkhrrachsima esdctrwcrachkarfayehnux emux ph s 2463xangxingechingxrrthtananphunemuxngechiyngihm hna 176 wnsthapnaemuxngechiyngihm hna 5 hxcdhmayehtuaehngchati r 6 m 27 10 eruxng smedcecafa krmhlwngnkhrrachsima esdcmnthlphayph 31 tulakhm 2463 29 minakhm 2467 brrnanukrmthiw wichykhthkha 2527 kaaephngemuxngaelapratuemuxngechiyngihmaelaphaphprakxb bthkhwaminphakhphnwk hna 91 93 inhnngsuxlannaithy xnusrnphrarachphithiepidphrabrmrachanusawriysamkstriy ph s 2526 2527 phrabarmipkekla yuphrachwithyaly 100 pinamphrarachthan nkhrechiyngihm prawtisastr karphthnakarsuksa aelasngkhmemuxngechiyngihm orngeriynyuphrachwithyaly ph s 2550 mulnithisthabnphthnaemuxngechiyngihm wnsthapnaemuxngechiyngihm echiyngihm orngphimphmingemuxng 2559 64 hna ISBN 978 616 91942 6 2 xrunrtn wiechiyrekhiyw aelaedwid ekh wyxac priwrrt tananphunemuxngechiyngihm krungethph silkhewxrm 2543 232 hna ISBN 978 974 9575 51 2 kxnhna ewiyngechiyngihm thdipewiyngkumkam emuxnghlwngkhxngxanackrlanna ph s 1839 2318