เวลาสุริยคติ หรือ เวลาสุริยะ (solar time) เป็นที่ถือว่าคือเวลาที่ดวงอาทิตย์ขึ้นถึงจุดสูงสุดบนทรงกลมท้องฟ้า หรือก็คือเมื่อผ่านเส้นเมริเดียนท้องฟ้า จากการสังเกตการณ์การเคลื่อนที่ของดวงอาทิตย์จากบนพื้นโลก
ระยะเวลาระหว่างที่ดวงอาทิตย์เคลื่อนผ่านเส้นเมริเดียนท้องฟ้า 2 ครั้งเมื่อมองจากผู้สังเกตการณ์บนโลกจะเรียกว่า วันสุริยคติ (solar day) ซึ่งจะยาวกว่าวันดาราคติซึ่งพิจารณาการเคลื่อนที่เทียบกับดาวฤกษ์ที่อยู่ห่างไกล
เวลาสุริยคติปรากฏ
เวลาสุริยคติปรากฏ (apparent solar time) หรือเวลาสุริยคติจริง (true solar time) คือเวลาสุริยคติที่ยืนพื้นตามวันสุริยคติปรากฏ (apparent solar day) โดยวันสุริยคติปรากฏคือช่วงระยะเวลาระหว่างที่เห็นดวงอาทิตย์เคลื่อนผ่านเส้นเมริเดียน 2 ครั้งในแต่ละวันตามที่ปรากฏจริง ๆ สามารถวัดเวลาสุริยคติปรากฏได้โดยใช้นาฬิกาแดด ความยาวของวันสุริยคติปรากฏในแต่ละวันของปีจะไม่เท่ากัน เปลี่ยนไปเรื่อย ๆ
วันที่ | ระยะเวลาสุริยคติปรากฏ |
---|---|
11 กุมภาพันธ์ | 24 ชั่วโมง |
26 มีนาคม | 24 ชั่วโมง − 18.1 วินาที |
14 พฤษภาคม | 24 ชั่วโมง |
19 มิถุนายน | 24 ชั่วโมง + 13.1 วินาที |
25/26 กรกฎาคม | 24 ชั่วโมง |
16 กันยายน | 24 ชั่วโมง − 21.3 วินาที |
2/3 พฤศจิกายน | 24 ชั่วโมง |
22 ธันวาคม | 24 ชั่วโมง + 29.9 วินาที |
ในสังคมสมัยใหม่ที่นาฬิกาถูกใช้กันอย่างแพร่หลายนั้นแทบไม่มีการใช้เวลาสุริยคติปรากฏอีกต่อไปแล้ว แต่ในระบบการก่อสร้างที่ต้องคำนึงถึงการทับแสงอาทิตย์นั้นยังต้องใช้เวลาดวงอาทิตย์ปรากฏอยู่
ความยาวของวันสุริยคติปรากฏจะแตกต่างกันไปตลอดทั้งปีด้วยเหตุผลสองประการ ประการแรก เนื่องจากวงโคจรของโลกมีลักษณะเป็นวงรี ไม่ใช่วงกลม โลกจึงโคจรเร็วใกล้ที่จุดใกล้ดวงอาทิตย์ และเคลื่อนที่ช้าที่จุดไกลดวงอาทิตย์ ซึ่งเป็นไปตามกฎของเค็พเพลอร์ ประการที่สอง เนื่องจากแกน โลกเอียง โดยปกติแล้วดวงอาทิตย์จะไม่เคลื่อนที่ผ่านกึ่งกลางเส้นศูนย์สูตรของโลก แต่จะดูเหมือนว่าเคลื่อนโดยทำมุมห่างจากแนวเส้นศูนย์สูตรต่างไปตามเวลาตลอดปี กล่าวอีกนัยหนึ่งคือ สุริยวิถีไม่ตรงกับ เส้นศูนย์สูตรท้องฟ้า แต่จะตัดกับเส้นศูนย์สูตรท้องฟ้าโดยทำมุมเอียงเท่ากับความเอียงของแกนโลก ดังนั้นจึงทำให้ดวงอาทิตย์ดูเหมือนจะเคลื่อนที่เร็วขึ้นเมื่ออยู่ห่างจากเส้นศูนย์สูตรท้องฟ้า และช้าลงเมื่อเข้าใกล้เส้นศูนย์สูตรท้องฟ้า (ดูเพิ่มที่ ปีสุริยคติ) ด้วยเหตุผลเหล่านี้ วันสุริยคติปรากฏในเดือนมีนาคม (วันที่ 26-27) และกันยายน (วันที่ 12-13) จึงสั้นกว่าในเดือนมิถุนายน (วันที่ 18-19) และธันวาคม (วันที่ 20-21)
เวลาสุริยคติเฉลี่ย
เวลาสุริยคติเฉลี่ย (mean solar time) หมายถึงเวลาที่ถูกกำหนดโดยนาฬิกาที่เสถียรในอุดมคติที่ปรับให้เข้ากับค่าเฉลี่ยของเวลาสุริยคติปรากฏ โดยยืนพื้นตามการสังเกตการเคลื่อนที่ในรอบวันของดาวฤกษ์
อย่างไรก็ตาม หากคิดโดยละเอียดแล้ว เวลาสุริยคติเฉลี่ยจริง ๆ ก็ยังมีความไม่คงที่แน่นอนเนื่องจากผลกระทบของแรงน้ำขึ้นลง โดยในปี 2013 ค่าเฉลี่ยของเวลา 1 วันตามเวลาสุริยคตินั้นมีความยาวนานกว่า 86,400 วินาที (=24 ชั่วโมง) ไปประมาณ 1–2 มิลลิวินาที
เมื่อเทียบกับวันสุริยคติเฉลี่ยแล้ว วันสุริยคติปรากฏอาจสั้นกว่าอยู่ 22 วินาที หรือนานกว่า 29 วินาที ขึ้นอยู่กับฤดูกาล เนื่องจากมีทั้งวันที่สั้นและยาวต่อเนื่องกันไป ความแตกต่างสูงสุดระหว่างทั้งสองค่านี้เมื่อดูตลอด 1 ปีคืออาจมากสุดที่เร็วกว่าประมาณ 17 นาทีและช้าสุดที่ช้ากว่าประมาณ 14 นาที
ความแตกต่างระหว่างเวลาสุริยคติปรากฏและเวลาสุริยคติเฉลี่ยนั้นเรียกว่าสมการเวลา
ประวัติศาสตร์
ในอดีตมีการใช้วิธีการต่าง ๆ เพื่อจำลองเวลาสุริยคติเฉลี่ย ที่ใช้ในยุคแรกสุดคือ นาฬิกาน้ำ ซึ่งใช้มาตลอดเวลาประมาณ 4 พันปีตั้งแต่กลาง สหัสวรรษที่ 2 ก่อนคริสตกาลมาจนถึงต้นคริสต์สหัสวรรษที่ 2 ก่อนกลางคริสต์สหัสวรรษที่ 1 นาฬิกาน้ำถูกตั้งให้ตรงกับวันสุริยคติปรากฏ ดังนั้นจึงไม่มีข้อได้เปรียบเมื่อเทียบกับแบบที่ใช้เงาที่เกิดจากเข็มของนาฬิกาแดด นอกจากการที่สามารถใช้ได้ในเวลากลางคืนที่ไม่มีแสงแดด
อย่างไรก็ตาม เป็นที่ทราบกันดีตั้งแต่ยุคนั้นแล้วว่าดวงอาทิตย์เคลื่อนไปทางทิศตะวันออกตามสุริยวิถีเมื่อเทียบกับดาวฤกษ์ที่อยู่นิ่ง ดังนั้น ตั้งแต่กลางสหัสวรรษที่ 1 เป็นต้นมา การเคลื่อนที่ในรอบวันของดาวฤกษ์จึงถูกนำมาใช้เพื่อกำหนดเวลาสุริยคติเฉลี่ย โดยมีการเปรียบเทียบระหว่างเวลาในนาฬิกากับการเคลื่อนที่ของดาวฤกษ์ นักดาราศาสตร์ชาวบาบิโลนรู้สมการของเวลาและได้ทำการปรับแก้มัน พวกเขายังรู้วัฏจักรของดาวฤกษ์ที่แตกต่างจากดวงอาทิตย์ ซึ่งก็คือเวลาดาราคติ และใช้เวลาดาราคติเพื่อระบุเวลาดวงอาทิตย์เฉลี่ยได้แม่นยำกว่านาฬิกาน้ำ ตั้งแต่นั้นมา เวลาเฉลี่ยดวงอาทิตย์ในอุดมคติถูกนำมาใช้เพื่ออธิบายการเคลื่อนที่ของดาวเคราะห์ ดวงจันทร์ และดวงอาทิตย์
จนกระทั่งต้นศตวรรษที่ 20 นาฬิกาจักรกลมีความแม่นยำเทียบเท่ากับนาฬิกาดาวฤกษ์ตามธรรมชาติ โดยอิงตาม ในปี 1928 แนวคิดที่อ้างถึงเวลาอ้างอิงทั่วไปที่ไม่ขึ้นกับลองจิจูดได้นำไปสู่เวลามาตรฐานกรีนิช และเวลาสากลซึ่งได้นิยามอย่างชัดเจนให้เป็นเวลาซึ่งเริ่มคำนวณจากเที่ยงคืนที่กรีนิช และในปี 1935 ได้ถูกกำหนดให้ใช้สากลทั่วโลก ทุกวันนี้แม้ว่านาฬิกาอะตอมในปัจจุบันจะแม่นยำและคงที่มากกว่าการหมุนของโลกมาก แต่การสังเกตการเคลื่อนที่ของดาวฤกษ์ยังคงใช้ในการกำหนดเวลาสากล (UT1) ในความเป็นจริง ตั้งแต่ช่วงปลายคริสต์ทศวรรษ 1900 เป็นต้นมา การหมุนของโลกได้ถูกกำหนดขึ้นสำหรับกลุ่มของนอกทางช้างเผือก และอัตราการหมุนนี้จะคูณด้วยค่าคงที่เพื่อแปลงเป็นเวลาสากล (UT1) แม้ว่าเวลาสากลเชิงพิกัด (UTC) ในปัจจุบันจะอิงตามเวลาอะตอมระหว่างประเทศ แต่ก็มีการปรับเปลี่ยนโดยการใส่อธิกวินาที เพื่อให้ความแตกต่างน้อยกว่า 0.9 วินาทีเพื่อให้ใกล้เคียงกับเวลาสากล (UT1)
เวลารัฐคติและเวลาเชิงดาราศาสตร์
ในอดีต เวลาสุริยคติที่ใช้ในทางดาราศาสตร์จะใช้เวลาเที่ยงวันเป็นเขตแบ่งเวลา นั่นคือวันที่จะเปลี่ยนเมื่อถึงตอน เรียกระบบเวลาแบบนี้ว่า "เวลาเชิงดาราศาสตร์" (astronomical time) เนื่องจากวันที่ไม่เปลี่ยนแปลงในเวลา จึงสะดวกสำหรับการสังเกตและบันทึกทางดาราศาสตร์ในเวลากลางคืน ปโตเลมี นักดาราศาสตร์ในยุคกรีซโบราณเป็นคนเริ่มใช้เวลาเชิงดาราศาสตร์นี้
ในทางกลับกันจะเรียกเวลาที่ใช้เที่ยงคืนเป็นจุดแบ่งวันว่า เวลารัฐคติ
เนื่องจากการใช้เวลาเชิงดาราศาสตร์มีแนวโน้มที่จะทำให้เกิดความเข้าใจผิดในสังคมทั่วไป ดังนั้นในทางดาราศาสตร์เองก็ถูกยกเลิกการใช้ตั้งแต่วันที่ 1 มกราคม 1925 และใช้เป็นระบบเวลารัฐคติทั้งหมด
อย่างไรก็ตาม เที่ยงวันยังคงถูกกำหนดให้เป็นจุดเริ่มต้นของวันจูเลียน
อ่านเพิ่ม
อ้างอิง
- (1871), 航海教授書, vol. 5, 東京: 海軍兵学寮, 全国書誌番号:40067381、:846974
{{}}
: CS1 maint: date and year () - 中山智行 (1918), 航海術・運用術・術語界説, : 中山海士学館, 全国書誌番号:43023578、:955436
{{}}
: CS1 maint: date and year () - Jean Meeus (1997), Mathematical astronomy morsels (Richmond, VA: Willmann-Bell) 346. ISBN .
- 建築基準法施行規則(昭和25年建設省令第40号), 1950-11-16, 第1条の3 表2の(30)項、第10条の16第1号の表の(と)項
{{}}
: CS1 maint: date and year () e-Gov法令検索。 - (1949), 天体観測法, 東京: , 全国書誌番号:48000347、:1154244
{{}}
: CS1 maint: date and year () (1949), 天体観測法, 東京: , 全国書誌番号:48000347、:1154244{{}}
: CS1 maint: date and year () - 中山智行 1918.
- [1] 自然科学研究機構 国立天文台、よくある質問、質問4-4)1日の長さは変化しているの?
- [2] 右側のグラフが最近1年間程度の、「LODから86 400秒を差し引いた値」の変化を示している
- Société d'Astronomie d'Anvers, บ.ก. (1928), "天文月報" (PDF), 天文月報, 三鷹村: , vol. 21 no. 11, pp. 212–214, ISSN 0374-2466, NCID AN00154555、:3304101、ガゼットアストロノミーク誌(ISSN 0374-3241), สืบค้นเมื่อ 2014-01-09
- "雑報 万國天文学協会第五回総会記事" (PDF). 天文月報. 三鷹村: 日本天文学会. 28 (11): 193. 1935. ISSN 0374-2466. NCID AN00154555、:3304186. สืบค้นเมื่อ 2014-01-09.
- [3] 国立天文台 > 暦計算室 > 暦Wiki >1日の始まり
- "雑報 緑威平均時の争論" (PDF). 天文月報. 三鷹村: 日本天文学会. 18 (10): 156. 1925. ISSN 0374-2466. NCID AN00154555、:3304063. สืบค้นเมื่อ 2014-02-02.
wikipedia, แบบไทย, วิกิพีเดีย, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด, บทความ, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม, มือถือ, โทรศัพท์, Android, iOS, Apple, โทรศัพท์โมบิล, Samsung, iPhone, Xiomi, Xiaomi, Redmi, Honor, Oppo, Nokia, Sonya, MI, PC, พีซี, web, เว็บ, คอมพิวเตอร์
ewlasuriykhti hrux ewlasuriya solar time epnthithuxwakhuxewlathidwngxathitykhunthungcudsungsudbnthrngklmthxngfa hruxkkhuxemuxphanesnemriediynthxngfa cakkarsngektkarnkarekhluxnthikhxngdwngxathitycakbnphunolkphaphthixthibayihehnwawnsuriykhti ewlainkarekhluxncak 1 ip 3 yawkwawndarakhti ewlainkarekhluxncak 1 ip 2 rayaewlarahwangthidwngxathityekhluxnphanesnemriediynthxngfa 2 khrngemuxmxngcakphusngektkarnbnolkcaeriykwa wnsuriykhti solar day sungcayawkwawndarakhtisungphicarnakarekhluxnthiethiybkbdawvksthixyuhangiklewlasuriykhtipraktewlasuriykhtiprakt apparent solar time hruxewlasuriykhticring true solar time khuxewlasuriykhtithiyunphuntamwnsuriykhtiprakt apparent solar day odywnsuriykhtipraktkhuxchwngrayaewlarahwangthiehndwngxathityekhluxnphanesnemriediyn 2 khrnginaetlawntamthipraktcring samarthwdewlasuriykhtipraktidodyichnalikaaedd khwamyawkhxngwnsuriykhtipraktinaetlawnkhxngpicaimethakn epliyniperuxy khwamyawkhxngwnsuriykhtipraktinrxbpi 1998 wnthi rayaewlasuriykhtiprakt11 kumphaphnth 24 chwomng26 minakhm 24 chwomng 18 1 winathi14 phvsphakhm 24 chwomng19 mithunayn 24 chwomng 13 1 winathi25 26 krkdakhm 24 chwomng16 knyayn 24 chwomng 21 3 winathi2 3 phvscikayn 24 chwomng22 thnwakhm 24 chwomng 29 9 winathi insngkhmsmyihmthinalikathukichknxyangaephrhlaynnaethbimmikarichewlasuriykhtipraktxiktxipaelw aetinrabbkarkxsrangthitxngkhanungthungkarthbaesngxathitynnyngtxngichewladwngxathitypraktxyu khwamyawkhxngwnsuriykhtipraktcaaetktangkniptlxdthngpidwyehtuphlsxngprakar prakaraerk enuxngcakwngokhcrkhxngolkmilksnaepnwngri imichwngklm olkcungokhcrerwiklthicudikldwngxathity aelaekhluxnthichathicudikldwngxathity sungepniptamkdkhxngekhphephlxr prakarthisxng enuxngcakaekn olkexiyng odypktiaelwdwngxathitycaimekhluxnthiphankungklangesnsunysutrkhxngolk aetcaduehmuxnwaekhluxnodythamumhangcakaenwesnsunysutrtangiptamewlatlxdpi klawxiknyhnungkhux suriywithiimtrngkb esnsunysutrthxngfa aetcatdkbesnsunysutrthxngfaodythamumexiyngethakbkhwamexiyngkhxngaeknolk dngnncungthaihdwngxathityduehmuxncaekhluxnthierwkhunemuxxyuhangcakesnsunysutrthxngfa aelachalngemuxekhaiklesnsunysutrthxngfa duephimthi pisuriykhti dwyehtuphlehlani wnsuriykhtipraktineduxnminakhm wnthi 26 27 aelaknyayn wnthi 12 13 cungsnkwaineduxnmithunayn wnthi 18 19 aelathnwakhm wnthi 20 21 ewlasuriykhtiechliyewlasuriykhtiechliy mean solar time hmaythungewlathithukkahndodynalikathiesthiyrinxudmkhtithiprbihekhakbkhaechliykhxngewlasuriykhtiprakt odyyunphuntamkarsngektkarekhluxnthiinrxbwnkhxngdawvks xyangirktam hakkhidodylaexiydaelw ewlasuriykhtiechliycring kyngmikhwamimkhngthiaennxnenuxngcakphlkrathbkhxngaerngnakhunlng odyinpi 2013 khaechliykhxngewla 1 wntamewlasuriykhtinnmikhwamyawnankwa 86 400 winathi 24 chwomng ippraman 1 2 milliwinathi emuxethiybkbwnsuriykhtiechliyaelw wnsuriykhtipraktxacsnkwaxyu 22 winathi hruxnankwa 29 winathi khunxyukbvdukal enuxngcakmithngwnthisnaelayawtxenuxngknip khwamaetktangsungsudrahwangthngsxngkhaniemuxdutlxd 1 pikhuxxacmaksudthierwkwapraman 17 nathiaelachasudthichakwapraman 14 nathi khwamaetktangrahwangewlasuriykhtipraktaelaewlasuriykhtiechliynneriykwasmkarewlaprawtisastrinxditmikarichwithikartang ephuxcalxngewlasuriykhtiechliy thiichinyukhaerksudkhux nalikana sungichmatlxdewlapraman 4 phnpitngaetklang shswrrsthi 2 kxnkhristkalmacnthungtnkhristshswrrsthi 2 kxnklangkhristshswrrsthi 1 nalikanathuktngihtrngkbwnsuriykhtiprakt dngnncungimmikhxidepriybemuxethiybkbaebbthiichengathiekidcakekhmkhxngnalikaaedd nxkcakkarthisamarthichidinewlaklangkhunthiimmiaesngaedd xyangirktam epnthithrabknditngaetyukhnnaelwwadwngxathityekhluxnipthangthistawnxxktamsuriywithiemuxethiybkbdawvksthixyuning dngnn tngaetklangshswrrsthi 1 epntnma karekhluxnthiinrxbwnkhxngdawvkscungthuknamaichephuxkahndewlasuriykhtiechliy odymikarepriybethiybrahwangewlainnalikakbkarekhluxnthikhxngdawvks nkdarasastrchawbabiolnrusmkarkhxngewlaaelaidthakarprbaekmn phwkekhayngruwtckrkhxngdawvksthiaetktangcakdwngxathity sungkkhuxewladarakhti aelaichewladarakhtiephuxrabuewladwngxathityechliyidaemnyakwanalikana tngaetnnma ewlaechliydwngxathityinxudmkhtithuknamaichephuxxthibaykarekhluxnthikhxngdawekhraah dwngcnthr aeladwngxathity cnkrathngtnstwrrsthi 20 nalikackrklmikhwamaemnyaethiybethakbnalikadawvkstamthrrmchati odyxingtam inpi 1928 aenwkhidthixangthungewlaxangxingthwipthiimkhunkblxngcicudidnaipsuewlamatrthankrinich aelaewlasaklsungidniyamxyangchdecnihepnewlasungerimkhanwncakethiyngkhunthikrinich aelainpi 1935 idthukkahndihichsaklthwolk thukwnniaemwanalikaxatxminpccubncaaemnyaaelakhngthimakkwakarhmunkhxngolkmak aetkarsngektkarekhluxnthikhxngdawvksyngkhngichinkarkahndewlasakl UT1 inkhwamepncring tngaetchwngplaykhristthswrrs 1900 epntnma karhmunkhxngolkidthukkahndkhunsahrbklumkhxngnxkthangchangephuxk aelaxtrakarhmunnicakhundwykhakhngthiephuxaeplngepnewlasakl UT1 aemwaewlasaklechingphikd UTC inpccubncaxingtamewlaxatxmrahwangpraeths aetkmikarprbepliynodykarisxthikwinathi ephuxihkhwamaetktangnxykwa 0 9 winathiephuxihiklekhiyngkbewlasakl UT1 ewlarthkhtiaelaewlaechingdarasastrinxdit ewlasuriykhtithiichinthangdarasastrcaichewlaethiyngwnepnekhtaebngewla nnkhuxwnthicaepliynemuxthungtxn eriykrabbewlaaebbniwa ewlaechingdarasastr astronomical time enuxngcakwnthiimepliynaeplnginewla cungsadwksahrbkarsngektaelabnthukthangdarasastrinewlaklangkhun potelmi nkdarasastrinyukhkrisobranepnkhnerimichewlaechingdarasastrni inthangklbkncaeriykewlathiichethiyngkhunepncudaebngwnwa ewlarthkhti enuxngcakkarichewlaechingdarasastrmiaenwonmthicathaihekidkhwamekhaicphidinsngkhmthwip dngnninthangdarasastrexngkthukykelikkarichtngaetwnthi 1 mkrakhm 1925 aelaichepnrabbewlarthkhtithnghmd xyangirktam ethiyngwnyngkhngthukkahndihepncuderimtnkhxngwncueliynxanephimwn pisuriykhti xthikwinathi ewlamatrthankrinich ewla wndawxngkharxangxing 1871 航海教授書 vol 5 東京 海軍兵学寮 全国書誌番号 40067381 846974 a href wiki E0 B9 81 E0 B8 A1 E0 B9 88 E0 B9 81 E0 B8 9A E0 B8 9A Citation title aemaebb Citation citation a CS1 maint date and year lingk 中山智行 1918 航海術 運用術 術語界説 中山海士学館 全国書誌番号 43023578 955436 a href wiki E0 B9 81 E0 B8 A1 E0 B9 88 E0 B9 81 E0 B8 9A E0 B8 9A Citation title aemaebb Citation citation a CS1 maint date and year lingk Jean Meeus 1997 Mathematical astronomy morsels Richmond VA Willmann Bell 346 ISBN 0 943396 51 4 建築基準法施行規則 昭和25年建設省令第40号 1950 11 16 第1条の3 表2の 30 項 第10条の16第1号の表の と 項 a href wiki E0 B9 81 E0 B8 A1 E0 B9 88 E0 B9 81 E0 B8 9A E0 B8 9A Citation title aemaebb Citation citation a CS1 maint date and year lingk e Gov法令検索 1949 天体観測法 東京 全国書誌番号 48000347 1154244 a href wiki E0 B9 81 E0 B8 A1 E0 B9 88 E0 B9 81 E0 B8 9A E0 B8 9A Citation title aemaebb Citation citation a CS1 maint date and year lingk 1949 天体観測法 東京 全国書誌番号 48000347 1154244 a href wiki E0 B9 81 E0 B8 A1 E0 B9 88 E0 B9 81 E0 B8 9A E0 B8 9A Citation title aemaebb Citation citation a CS1 maint date and year lingk 中山智行 1918 1 自然科学研究機構 国立天文台 よくある質問 質問4 4 1日の長さは変化しているの 2 右側のグラフが最近1年間程度の LODから86 400秒を差し引いた値 の変化を示している Societe d Astronomie d Anvers b k 1928 天文月報 PDF 天文月報 三鷹村 vol 21 no 11 pp 212 214 ISSN 0374 2466 NCID AN00154555 3304101 ガゼットアストロノミーク誌 ISSN 0374 3241 subkhnemux 2014 01 09 雑報 万國天文学協会第五回総会記事 PDF 天文月報 三鷹村 日本天文学会 28 11 193 1935 ISSN 0374 2466 NCID AN00154555 3304186 subkhnemux 2014 01 09 3 国立天文台 暦計算室 暦Wiki 1日の始まり 雑報 緑威平均時の争論 PDF 天文月報 三鷹村 日本天文学会 18 10 156 1925 ISSN 0374 2466 NCID AN00154555 3304063 subkhnemux 2014 02 02