เยื่อหุ้มสมองและไขสันหลัง (meninges) เป็นระบบของที่ปกคลุมระบบประสาทกลาง เยื่อหุ้มสมองประกอบด้วยชั้น 3 ชั้นได้แก่ เยื่อดูรา หรือเยื่อหุ้มสมองชั้นนอก (dura mater) , เยื่ออะแร็กนอยด์ หรือเยื่อหุ้มสมองชั้นกลาง (arachnoid mater) , และเยื่อเพีย หรือเยื่อหุ้มสมองชั้นใน (pia mater) หน้าที่หลักของเยื่อหุ้มสมองและน้ำหล่อสมองไขสันหลัง (cerebrospinal fluid) คือเพื่อปกป้องระบบประสาทกลาง
เยื่อหุ้มสมอง (และไขสันหลัง) (Meninges) | |
---|---|
เยื่อหุ้มสมองของระบบประสาทกลาง | |
รายละเอียด | |
หลอดเลือดแดง | หลอดเลือดแดงที่เลี้ยงมีดังนี้
|
ประสาท | (middle meningeal nerve) , |
ตัวระบุ | |
MeSH | D008578 |
TA98 | A14.1.01.001 |
TA2 | 5369 |
FMA | 231572 |
[แก้ไขบนวิกิสนเทศ] |
กายวิภาคศาสตร์ของเยื่อหุ้มสมอง
เยื่อเพีย
เยื่อเพีย หรือเยื่อหุ้มสมองชั้นใน (pia mater) เป็นเยื่อที่มีความบอบบางมาก อยู่ใกล้ชิดกับสมองและไขสันหลังมากที่สุด แนบไปกับกลีบ (gyrus) และร่อง (sulcus) ของสมอง เป็นเยื่อที่อยู่ชิดติดแน่นกับผิวของสมองและไขสันหลัง เยื่อเพียเป็นเยื่อที่บางมาก ประกอบด้วยเนื้อเยื่อเส้นใย (fibrous tissue) ที่ถูกปกคลุมด้วยแผ่นของเซลล์แบนๆ ที่เชื่อว่าน้ำซึมผ่านไม่ได้ เยื่อเพียจะมีหลอดเลือดที่ทอดตัวไปตามสมองและไขสันหลัง และมีหลอดเลือดฝอยที่ทำหน้าที่เลี้ยงสมอง
เยื่ออะแร็กนอยด์
เยื่อที่อยู่ชั้นกลางเรียกว่า เยื่ออะแร็กนอยด์ หรือเยื่อหุ้มสมองชั้นกลาง (arachnoid mater) ชื่อ อะแร็กนอยด์ (arachnoid) มีความหมายว่า คล้ายใยแมงมุม เนื่องจากเยื่อชั้นนี้มีลักษณะคล้ายกับ ทำหน้าที่กันการกระทบกระเทือนต่อระบบประสาทกลาง เยื่ออะแร็กนอยด์มีลักษณะบาง ใส ประกอบด้วยเนื้อเยื่อเส้นใยที่ถูกปกคลุมด้วยแผ่นของเซลล์แบนๆ ที่เชื่อว่าน้ำซึมผ่านไม่ได้เช่นเดียวกับเยื่อเพีย เยื่อนี้จะไม่แนบไปกับร่องหรือลอนสมองบนผิวสมอง และจะมองดูเป็นถุงหุ้มหลวมๆ ในบริเวณของสมองจะมีเส้นใยละเอียดจำนวนมาก เรียกว่า (arachnoid trabeculae) ที่ผ่านชั้นอะแร็กนอยด์ไปยังช่องว่างใต้เยื่ออะแร็กนอยด์ (subarachnoid space) เพื่อเชื่อมกับเนื้อเยื่อของเยื่อเพีย
เยื่ออะแร็กนอยด์และเยื่อเพียอาจเรียกรวมกันว่า "เลปโตเมนิงซ์" (leptomeninges)
เยื่อดูรา
เยื่อดูรา หรือเยื่อหุ้มสมองชั้นนอก (dura mater) [หรืออาจเรียกว่า meninx fibrosa หรือ "แพคีเมนิงซ์" (pachymeninx)] เป็นเยื่อที่หนาและทนทาน ใกล้กับกะโหลกศีรษะมากที่สุด ภายในมีหลอดเลือดขนาดใหญ่ซึ่งแตกแขนงออกเป็นหลอดเลือดฝอยในเยื่อเพีย ประกอบด้วยเนื้อเยื่อเส้นใยชนิดหนา (dense fibrous tissue) และผิวด้านในปกคลุมด้วยเซลล์แบนๆ ชนิดเดียวกับที่อยู่บนผิวของเยื่อเพียและเยื่ออะแร็กนอยด์ดังที่กล่าวมาแล้ว เยื่อดูราเป็นถุงที่ปกคลุมเยื่ออะแร็กนอยด์ และอาจเปลี่ยนปลงรูปร่างไปทำหน้าที่ต่างๆ ได้หลากหลาย เยื่อดูราอาจถูกล้อมรอบและค้ำจุนไปด้วยช่องเลือดดำขนาดใหญ่ (venous channels) เรียกว่า dural sinuse ทำหน้าที่ขนส่งเลือดจากสมองไปยังหัวใจ
ช่องว่าง
ช่องว่างใต้เยื่ออะแร็กนอยด์ (subarachnoid space) เป็นช่องว่างที่โดยทั่วไปอยู่ระหว่างเยื่ออะแร็กนอยด์และเยื่อเพีย ภายในมีน้ำหล่อสมองไขสันหลัง (cerebrospinal fluid)
โดยปกติแล้วเยื่อดูราจะอยู่ชิดกับกะโหลกศีรษะ หรือกระดูกอื่นๆ ของช่องในกระดูกสันหลังซึ่งเป็นที่อยู่ของไขสันหลัง เยื่ออะแร็กนอยด์จะติดกับเยื่อดูรา และเยื่อเพียจะติดกับเนื้อเยื่อของระบบประสาทกลาง เมื่อเกิดเหตุที่ทำให้เยื่อดูราและเยื่ออะแร็กนอยด์แยกจากกันเช่นจากอุบัติเหตุหรือความเจ็บป่วย จะเกิดช่องว่างใต้เยื่อดูรา (subdural space)
พยาธิวิทยา
การตกเลือด (hemorrhage) ที่เกี่ยวข้องกับเยื่อหุ้มสมองมี 3 ประเภท
- เลือดออกใต้เยื่อหุ้มสมองชั้นกลาง (subarachnoid hemorrhage) เป็นการตกเลือดอย่างเฉียบพลันใต้เยื่ออะแร็กนอยด์ อาจเกิดขึ้นได้เองหรือเป็นผลจากการบาดเจ็บ
- เลือดออกใต้เยื่อหุ้มสมองชั้นนอก (subdural hematoma) เป็น (hematoma) ที่อยู่ในรอยแยกของเยื่ออะแร็กนอยด์และเยื่อดูรา เกิดจากหลอดเลือดดำขนาดเล็กซึ่งเชื่อมระหว่างเยื่อดูราและเยื่ออะแร็กนอยด์เกิดฉีกขาดจากอุบัติเหตุ ทำให้เลือดออกมาขังบริเวณนี้ได้
- เลือดออกเหนือเยื่อหุ้มสมองชั้นนอก (epidural hematoma) มักเกิดขึ้นได้เองหรือเกิดหลังจากอุบัติเหตุ เช่น (middle meningeal artery) ฉีกขาดหลังจากถูกกระแทกอย่างแรงที่ทัดดอกไม้ (pterion)
ภาวะทางการแพทย์อื่นๆ ที่เกี่ยวข้องกับเยื่อหุ้มสมอง เช่น เยื่อหุ้มสมองอักเสบ (meningitis) มักเกิดจากเชื้อรา, แบคทีเรีย, หรือการติดเชื้อจากไวรัส และ (meningioma) เกิดจากเนื้องอกในเยื่อหุ้มสมองเองหรือเนื้องอกจากบริเวณอื่นที่แพร่กระจายมายังเยื่อหุ้มสมอง
ภาพอิ่นๆ
- แผนภาพแสดงภาพตัดผ่านด้านบนของกะโหลกศีรษะ
- ภาพตัดผ่านหนังศีรษะ
-
อ้างอิง
- Orlando Regional Healthcare, Education and Development. 2004. "Overview of Adult Traumatic Brain Injuries." 2008-02-27 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน เข้าชมเมื่อ 16 มกราคม พ.ศ. 2551
wikipedia, แบบไทย, วิกิพีเดีย, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด, บทความ, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม, มือถือ, โทรศัพท์, Android, iOS, Apple, โทรศัพท์โมบิล, Samsung, iPhone, Xiomi, Xiaomi, Redmi, Honor, Oppo, Nokia, Sonya, MI, PC, พีซี, web, เว็บ, คอมพิวเตอร์
eyuxhumsmxngaelaikhsnhlng meninges epnrabbkhxngthipkkhlumrabbprasathklang eyuxhumsmxngprakxbdwychn 3 chnidaek eyuxdura hruxeyuxhumsmxngchnnxk dura mater eyuxxaaerknxyd hruxeyuxhumsmxngchnklang arachnoid mater aelaeyuxephiy hruxeyuxhumsmxngchnin pia mater hnathihlkkhxngeyuxhumsmxngaelanahlxsmxngikhsnhlng cerebrospinal fluid khuxephuxpkpxngrabbprasathklangeyuxhumsmxng aelaikhsnhlng Meninges eyuxhumsmxngkhxngrabbprasathklangraylaexiydhlxdeluxdaednghlxdeluxdaedngthieliyngmidngni middle meningeal artery aekhnngemningeciylkhxng meningeal branches of the ascending pharyngeal artery accessory meningeal artery aekhnngkhxng branch of anterior ethmoidal artery aekhnngemningeciylkhxng meningeal branches of vertebral artery prasath middle meningeal nerve twrabuMeSHD008578TA98A14 1 01 001TA25369FMA231572 aekikhbnwikisneths kaywiphakhsastrkhxngeyuxhumsmxngeyuxephiy eyuxephiy hruxeyuxhumsmxngchnin pia mater epneyuxthimikhwambxbbangmak xyuiklchidkbsmxngaelaikhsnhlngmakthisud aenbipkbklib gyrus aelarxng sulcus khxngsmxng epneyuxthixyuchidtidaennkbphiwkhxngsmxngaelaikhsnhlng eyuxephiyepneyuxthibangmak prakxbdwyenuxeyuxesniy fibrous tissue thithukpkkhlumdwyaephnkhxngesllaebn thiechuxwanasumphanimid eyuxephiycamihlxdeluxdthithxdtwiptamsmxngaelaikhsnhlng aelamihlxdeluxdfxythithahnathieliyngsmxng eyuxxaaerknxyd eyuxthixyuchnklangeriykwa eyuxxaaerknxyd hruxeyuxhumsmxngchnklang arachnoid mater chux xaaerknxyd arachnoid mikhwamhmaywa khlayiyaemngmum enuxngcakeyuxchnnimilksnakhlaykb thahnathiknkarkrathbkraethuxntxrabbprasathklang eyuxxaaerknxydmilksnabang is prakxbdwyenuxeyuxesniythithukpkkhlumdwyaephnkhxngesllaebn thiechuxwanasumphanimidechnediywkbeyuxephiy eyuxnicaimaenbipkbrxnghruxlxnsmxngbnphiwsmxng aelacamxngduepnthunghumhlwm inbriewnkhxngsmxngcamiesniylaexiydcanwnmak eriykwa arachnoid trabeculae thiphanchnxaaerknxydipyngchxngwangiteyuxxaaerknxyd subarachnoid space ephuxechuxmkbenuxeyuxkhxngeyuxephiy eyuxxaaerknxydaelaeyuxephiyxaceriykrwmknwa elpotemnings leptomeninges eyuxdura eyuxdura hruxeyuxhumsmxngchnnxk dura mater hruxxaceriykwa meninx fibrosa hrux aephkhiemnings pachymeninx epneyuxthihnaaelathnthan iklkbkaohlksirsamakthisud phayinmihlxdeluxdkhnadihysungaetkaekhnngxxkepnhlxdeluxdfxyineyuxephiy prakxbdwyenuxeyuxesniychnidhna dense fibrous tissue aelaphiwdaninpkkhlumdwyesllaebn chnidediywkbthixyubnphiwkhxngeyuxephiyaelaeyuxxaaerknxyddngthiklawmaaelw eyuxduraepnthungthipkkhlumeyuxxaaerknxyd aelaxacepliynplngruprangipthahnathitang idhlakhlay eyuxduraxacthuklxmrxbaelakhacunipdwychxngeluxddakhnadihy venous channels eriykwa dural sinuse thahnathikhnsngeluxdcaksmxngipynghwic chxngwang chxngwangiteyuxxaaerknxyd subarachnoid space epnchxngwangthiodythwipxyurahwangeyuxxaaerknxydaelaeyuxephiy phayinminahlxsmxngikhsnhlng cerebrospinal fluid odypktiaelweyuxduracaxyuchidkbkaohlksirsa hruxkradukxun khxngchxnginkraduksnhlngsungepnthixyukhxngikhsnhlng eyuxxaaerknxydcatidkbeyuxdura aelaeyuxephiycatidkbenuxeyuxkhxngrabbprasathklang emuxekidehtuthithaiheyuxduraaelaeyuxxaaerknxydaeykcakknechncakxubtiehtuhruxkhwamecbpwy caekidchxngwangiteyuxdura subdural space phyathiwithyakartkeluxd hemorrhage thiekiywkhxngkbeyuxhumsmxngmi 3 praephth eluxdxxkiteyuxhumsmxngchnklang subarachnoid hemorrhage epnkartkeluxdxyangechiybphlniteyuxxaaerknxyd xacekidkhunidexnghruxepnphlcakkarbadecb eluxdxxkiteyuxhumsmxngchnnxk subdural hematoma epn hematoma thixyuinrxyaeykkhxngeyuxxaaerknxydaelaeyuxdura ekidcakhlxdeluxddakhnadelksungechuxmrahwangeyuxduraaelaeyuxxaaerknxydekidchikkhadcakxubtiehtu thaiheluxdxxkmakhngbriewnniid eluxdxxkehnuxeyuxhumsmxngchnnxk epidural hematoma mkekidkhunidexnghruxekidhlngcakxubtiehtu echn middle meningeal artery chikkhadhlngcakthukkraaethkxyangaerngthithddxkim pterion phawathangkaraephthyxun thiekiywkhxngkbeyuxhumsmxng echn eyuxhumsmxngxkesb meningitis mkekidcakechuxra aebkhthieriy hruxkartidechuxcakiwrs aela meningioma ekidcakenuxngxkineyuxhumsmxngexnghruxenuxngxkcakbriewnxunthiaephrkracaymayngeyuxhumsmxngphaphxinaephnphaphaesdngphaphtdphandanbnkhxngkaohlksirsa phaphtdphanhnngsirsaxangxingOrlando Regional Healthcare Education and Development 2004 Overview of Adult Traumatic Brain Injuries 2008 02 27 thi ewyaebkaemchchin ekhachmemux 16 mkrakhm ph s 2551