บทความนี้ไม่มีจาก |
เมืองยอง (ไทใหญ่: မိူင်းယွင်း; พม่า: မိုင်းယောင်း; ไทลื้อ: ᩮᨾᩨ᩠ᨦᨿᩬᨦ) เป็นเมืองหนึ่งในรัฐฉาน ประเทศพม่า ขึ้นกับ เป็นเมืองที่มีประวัติศาสตร์อันยาวนาน ทั้งเกี่ยวข้องกับพม่า ล้านนา สยาม ลาว และเขตสิบสองปันนาของจีน ผู้ที่อยู่อาศัยในเมืองเรียกว่าชาวลื้อ
เมืองยอง | |
---|---|
เมือง | |
เมืองยอง ที่ตั้งเมืองยองในประเทศพม่า | |
พิกัด: 21°11′N 100°22′E / 21.183°N 100.367°E | |
ประเทศ | พม่า |
รัฐ | รัฐฉาน |
เขตเวลา | (เวลามาตรฐานพม่า) |
คนเมืองยองสืบเชื้อสายมาจากผู้คนที่อพยพมาจากเมืองเชียงรุ่งและเมืองอื่น ๆ ในสิบสองพันนา ซึ่งเป็นคนลื้อหรือไทลื้อ และเมื่ออพยพเข้ามาตั้งถิ่นฐานครั้งใหญ่ในเมืองลำพูนในปี พ.ศ. 2348 คนทั่วไปจึงเรียกว่า คนเมืองยอง เพราะในสมัยนั้นรัฐประชาชาติหรือรัฐชาติ (nation state) แบบตะวันตกยังไม่เกิดขึ้น ในสมัยนั้นผู้คนต่างบ้านหลายเมืองที่มาอยู่ร่วมกัน จึงเรียนขานกันตามชื่อบ้านเมืองเดิม เช่น คนเมืองเชียงใหม่ คนเมืองลำปาง คนเมืองแพร่ คนเมืองน่าน คนเมืองเชียงตุง เป็นต้น ฉะนั้นคนไทยองจึงไม่ใช่คนไทที่เป็นชาติพันธุ์ยอง แต่เป็นคนไทลื้อที่อาศัยอยู่เมืองยอง
ภูมิลักษณะ
- ตัวเมืองตั้งอยู่ทางทิศตะวันออกของเชียงตุง ห่างกันประมาณ 80 กิโลเมตร ห่างจากชายแดนอำเภอแม่สายประมาณ 157 กิโลเมตร
- ตัวเมืองยองเป็นแอ่งที่ราบกลางหุบเขา มีภูเขาล้อมรอบ มีความอุดมสมบูรณ์ เพราะมีแหล่งน้ำที่ดี นับเป็นเขตเกษตรกรรมที่สำคัญอีกแห่งหนึ่ง ตั้งแต่อดีตจึงมีผู้คนอพยพจากที่ต่าง ๆ เข้ามาตั้งถิ่นฐานตลอดเวลา ภูมิประเทศด้านตะวันตกสูงกว่าด้านตะวันออก แม่น้ำสายสำคัญคือแม่น้ำลาบ แม่น้ำวัง และแม่น้ำยอง ไหลไปทางทิศตะวันออก ไปสู่แม่น้ำโขง
กำแพง ประตู และใจกลางเมืองยอง
เขตกำแพงเมืองลักษณะกลมรีตั้งอยู่บนเนินสูง มีคูน้ำคันดิน ที่ตั้งประกอบด้วยประตูเมืองทั้ง 4 ด้าน ดังนี้
- ทิศเหนือ ติดกับดอยปางหนาว มีประตูม่อนแสน
- ทิศตะวันตก ติดเทือกเขา มีประตูปางหิ่ง
- ทิศตะวันออก ติดที่ราบ มีประตูป่าแดง และประตูน้อย
- ทิศใต้ ติดที่ราบ โดยมีไหลผ่าน มีประตูเสื้อเมือง
นอกจากนั้น ยังมีอีก 3 ประตู ภายในเวียง คือ ประตูดินแดง ประตูหูหูด และประตูผาบ่อง บริเวณใจกลางเมืองมีต้นสรี หรือต้นโพธิ์มีไม้ค้ำโดยรอบซึ่งแสดงถึงความเชื่อเรื่อง เช่นเดียวกับคนเมืองในล้านนา
ประวัติ
การอพยพมาของชาวไทลื้อ
คำว่ายองหรือ ญอง อันเป็นชื่อเมืองนั้น ตำนานเมืองยองได้อธิบายว่าเป็นชื่อหญ้าชนิดหนึ่งที่เคยขึ้นในบริเวณเมืองยอง ครั้งหนึ่งมีนายพรานมาจากอาฬวีนคร ได้จุดไฟเผาป่าทำให้หญ้ายองปลิวไปทั่ว เมืองยองมีชื่อเป็นภาษาบาลีว่า มหิยังคนคร (ตำนานเมืองยอง)
เมืองยองเป็นเมืองที่มีตำนานกล่าวถึงพัฒนาการของบ้านเมืองที่เริ่มขึ้นในราว โดยเริ่มจากการตั้งถิ่นฐานของกลุ่มคนพื้นเมือง ซึ่งได้แก่พวกลัวะ
ต่อมาในราวพุทธศตวรรษที่ 19 มีกลุ่มคนไทจากเมืองเชียงรุ่ง นำโดยเจ้าสุนันทะโอรสของเจ้าเมืองเชียงรุ่ง ได้พาบริวารเข้ามามีอำนาจปกครองเมืองยองเหนือคนพื้นเมือง โดยมีทั้งปัจจัยภายในเป็นสิ่งสนับสนุน ได้แก่การผสมผสานระบบความเชื่อและพิธีกรรมที่มีอยู่แต่เดิมกับพุทธศาสนาที่เข้ามาภายหลัง กับได้สร้างความสัมพันธ์กับคนพื้นเมือง
ส่วนปัจจัยภายนอกได้แก่
- ความสัมพันธ์ทางเครือญาติและระบบบรรณาการกับเมืองเชียงรุ่ง เชียงตุง เชียงใหม่
- การสร้างพันธมิตรทางการเมืองกับกลุ่มเมืองในที่ราบเชียงราย บนฝั่งแม่น้ำโขงตอนกลาง เช่น เชียงแสน เชียงของ เป็นต้น
เมืองยองในยุคต้นของตำนานจึงมีความสัมพันธ์ทางสังคมและวัฒนธรรมกับเมืองเชียงรุ่งอย่างใกล้ชิด
ในกรณีของคนเมืองยองต่อมาคำว่าเมืองได้หายไป คงเหลืออยู่คำว่า "ฅนยอง" ดังนั้น ยองจึงมิใช่ชาติพันธุ์ เมื่อวิเคราะห์จากพัฒนาการและภูมิหลังทางประวัติศาสตร์ของเมืองยองแล้ว คนยองก็คือคนเผ่าไทลื้อนั่นเอง ในปัจจุบันชาวเมืองยองในรัฐฉานและในจังหวัดน่าน ยังเรียกตัวเองว่า เป็น "คนลื้อเมืองยอง"
ยุคอาณาจักรล้านนา
ในยุคที่อาณาจักรล้านนาสมัยราชวงศ์มังรายเจริญรุ่งเรืองและมีอำนาจ เมื่อกองทัพมองโกลหรือพวกฮ่อยกกองทัพเข้ายึดเมืองยองได้และเลยมาตีถึงเชียงแสน
สมัยพญาสามฝั่งแกน (พ.ศ. 1947–1948) กองทัพเชียงใหม่ สามารถขับไล่พวกฮ่อออกจากเชียงแสนและเมืองยองได้ เมืองยองจึงได้หันมาส่งบรรณาการให้กับเชียงใหม่
ในสมัยที่ที่ล้านนามีอำนาจสูงสุด พญาติโลกราช (พ.ศ. 1984–2030) ได้ขึ้นไปปกครองเมืองยองอยู่ระยะหนึ่งในราว พ.ศ. 1985 เพราะตำนานเมืองยอง และตำนานพื้นเมืองเชียงใหม่ ได้กล่าวถึงถึงการขยายอำนาจของล้านนาไปจนถึงดินแดนสิบสองพันนา พญาติโลกราช ซึ่งในตำนานได้ระบุว่า พระเจ้าอโศก ได้บูรณะพระธาตุจอมยอง และทรงทะนุบำรุงพระพุทธศาสนาในเมืองยองให้เจริญมั่นคง สันนิษฐานว่าพุทธศาสนาแบบลังกาได้ขึ้นไปเผยแผ่ถึงหัวเมืองต่าง ๆ ทางตอนบนระยะเวลานี้ด้วย
เหตุการณ์ดังกล่าวได้บ่งบอกถึงความสัมพันธ์ระหว่างเมืองยองกับเชียงใหม่ที่มีมาตั้งแต่สมัยราชวงศ์มังราย ในระหว่างพุทธศตวรรษที่ 19-22 ในยุคที่อาณาจักรขนาดใหญ่ได้ขยายตัวออกไปโดยการทำสงคราม เช่น พม่า จีนหรือสิบสองพันนา ดังนั้น ล้านนาและล้านช้างจึงให้ความสำคัญต่อการเพิ่มกำลังคนซึ่งเป็นส่วนประกอบสำคัญในการขยายอำนาจและสร้างอาณาจักร และยังใช้เป็นสิ่งที่แสดงอิทธิพลเหนือดินแดนต่าง ๆ ในปริมณฑลแห่งอำนาจหรือเมืองชายขอบ
จากสภาพที่ตั้งทางภูมิศาสตร์ เมืองยองจึงอยู่ท่ามกลางการขยายอำนาจและการแสดงอิทธิพลของศูนย์อำนาจต่าง ๆ ตลอดเวลา การอยู่ในฐานะรัฐกันกระทบหรือรัฐกันชน (buffer state) ระหว่างอาณาจักรใหญ่ ต้องปรับตัวโดยการสร้างความสัมพันธ์ในหลายรูปแบบ เพื่อให้เกิดความสมดุลของอำนาจจากฝ่ายต่าง ๆ ที่อยู่รายรอบ ทำให้เมืองยองมีลักษณะเป็นเมืองที่เรียกกันว่า เมืองสามฝ่ายฟ้า เพราะมีความสัมพันธ์ในเชิงบรรณาการ (tribute) และเชิงอำนาจกับจีน พม่าและเชียงใหม่ในเวลาเดียวกัน ในยามทำสงคราม เมืองยองจึงถูกดึงเข้าสู่การสู้รบ โดยถูกเกณฑ์ทั้งเสบียงอาหารและผู้คน ตลอดจนการกวาดต้อนผู้คนไปตั้งถิ่นฐานในที่ต่าง ๆ ครั้งที่มีความสำคัญมากที่สุดคือ
สมัยพระเจ้ากาวิละ
ปี พ.ศ. 2348 กองทัพเชียงใหม่สมัยพระเจ้ากาวิละ นำโดยเจ้าอุปราชธัมมลังกา และ ได้ยกกองทัพขึ้นไปกวาดต้อนผู้คน จากเมืองยองและเมืองใกล้เคียง โดยเฉพาะหัวเมืองต่าง ๆ ทางตอนบนที่เคยมีความสัมพันธ์กันในด้านสังคมและวัฒนธรรม มาตั้งถิ่นฐานในเมืองลำพูน และเชียงใหม่ ซึ่งถือว่าเป็นนโยบายสำคัญของพระเจ้ากาวิละโดยการสนับสนุนของกรุงเทพฯ เพื่อฟื้นฟูบ้านเมืองต่าง ๆ ในล้านนา ที่ได้รับความเสียหายจากสงครามและการยึดครองของพม่า
ย้อนกลับไประหว่างปี พ.ศ. 2325–2339 พระเจ้ากาวิละและญาติ ได้ตั้งมั่นและรวบรวมผู้คนอยู่ที่เวียงป่าซางเขตเมืองลำพูน จนมีกำลังคนเพียงพอแล้วจึงได้เข้ามาตั้งมั่นและฟื้นฟูเมืองเชียงใหม่ ใน ปี พ.ศ. 2339
พระเจ้ากาวิละยังได้ดำเนินการรวบรวม และกวาดต้อนผู้คนต่อมาอีกหลายครั้งและได้ขยายขอบเขตการกวาดต้อนผู้คนออกไปยังบริเวณอื่นโดยเฉพาะในแถบตะวันออกของแม่น้ำฅง ด้วยเหตุนี้ พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลก รัชกาลที่ 1 จึงได้ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ สถาปนาเจ้ากาวิละ ดำรงตำแหน่งเจ้าประเทศราชในปี พ.ศ. 2345 ทำให้พระเจ้ากาวิละเป็นที่ยอมรับของหัวเมืองต่าง ๆ ในล้านนาและหัวเมืองทางตอนบน อีกทั้งได้รับการสนับสนุนจากกรุงเทพฯ มากขึ้นกว่าเดิม
ดังจะเห็นได้จากในคราวที่พระเจ้ากาวิละยกกองทัพไปตีเชียงแสนในปี พ.ศ. 2345–2347 ก็ได้รับการสนับสนุนกำลังทหารจากกรุงเทพฯ เวียงจันทน์ เมืองลำปาง เมืองน่าน และครั้งที่ยกไปตีและกวาดต้อนผู้คนจากเมืองยองครั้งใหญ่ ในปี พ.ศ. 2348 นั้นก็ได้รับการสนับสนุนกองทัพจากเมืองลำปาง เมืองแพร่ เมืองน่าน และเชียงตุง ที่มีกำลังคนนับ 19,999 คน นับเป็นการยกทัพครั้งใหญ่ที่สุดในสมัยพระเจ้ากาวิละ
ในปี พ.ศ. 2347 เมืองเชียงแสนซึ่งเป็นที่มั่นแห่งสุดท้ายของพม่า ที่ใช้เป็นฐานกำลังสำคัญในการควบคุมหัวเมืองต่าง ๆ ในดินแดนทางตะวันออกบริเวณลุ่มแม่น้ำโขงตอนกลาง ได้ถูกกองทัพของพระเจ้ากาวิละตีแตก
ปีถัดมา พ.ศ. 2348 กองทัพจากหัวเมืองต่าง ๆ นำโดยกองทัพเมืองเชียงใหม่ ได้ยกขึ้นไปถึงเมืองยองและได้ "เทครัว" คือนำผู้คนในเมืองยองและหัวเมืองใกล้เคียงเป็นจำนวนมาก มาตั้งถิ่นฐานในเมืองลำพูนและเชียงใหม่ ซึ่งก่อนหน้านี้มีผู้คนเบาบาง การ "เทครัว" จากเมืองยองครั้งนี้ นับเป็นการอพยพผู้คนครั้งสำคัญครั้งหนึ่ง ที่มีการนำมาทั้งระบบของเมือง อันประกอบด้วยเจ้าเมืองยอง บุตร ภรรยา ญาติพี่น้อง ขุนนาง พระสงฆ์ และผู้นำท้องถิ่นระดับต่าง ๆ ตลอดจนไพร่พลจำนวนมากเข้ามาตั้งถิ่นฐานในเมืองลำพูน
เมืองยองเป็นศูนย์อำนาจย่อยของพม่ากับหัวเมืองบริเวณใกล้เคียง สืบเนื่องจากในสมัย (พ.ศ. 2148-2191) พม่าได้มอบหมายให้เจ้าฟ้าเมืองยองดูแลหัวเมืองต่าง ๆ ถึง 12 หัวเมืองแถบสิบสองปันนาตอนล่างไปจนสุดแม่น้ำโขงที่เมืองเชียงลาบมาก่อน ภายหลังที่เมืองยองยอมสวามิภักดิ์ต่อเชียงใหม่ มีผลทำให้หัวเมืองอื่น ๆ ในบริเวณแถบนี้ยอมสวามิภักดิ์ต่อเชียงใหม่เช่นเดียวกัน ทำให้เชียงใหม่สามารถขยายอิทธิพลเข้าไปถึงสิบสองพันนาและหัวเมืองอื่น ๆ ที่เคยอยู่ภายใต้อำนาจและอิทธิพลของพม่าได้สะดวก
ตำนานพื้นเมืองเชียงใหม่เป็นเอกสารพื้นเมืองเพียงฉบับเดียว ที่ให้รายละเอียดถึงเหตุการณ์ที่กองทัพเชียงใหม่ยกทัพไปกวาดต้อนผู้คนจากเมืองยองในปี พ.ศ. 2348 การที่พระเจ้ากาวิละยกทัพไปตีเมืองยองครั้งนี้ ก็อ้างว่าเป็นการกระทำดังที่กษัตริย์ในราชวงศ์มังรายได้ปฏิบัติมาก่อน การที่เมืองยองได้ยอมสวามิภักดิ์ และถวายสิ่งของต่าง ๆ รวมถึงนางหน่อแก้วเกี๋ยงคำ น้องต่างมารดาของเจ้าฟ้าหลวงเมืองยอง ให้กับเจ้าอุปราชธรรมลังกา พร้อมด้วยผู้คนอีก 19,999 คน และอาวุธต่าง ๆ เช่น ปืนใหญ่ถึง 1,999 กระบอกกับช้างม้าเป็นอันมาก แสดงให้เห็นว่าทางเมืองยองมีกำลังไพร่พลและอาวุธจำนวนไม่น้อย
เป็นที่น่าสังเกตว่า ตำนานเมืองยองไม่ได้กล่าวถึงเรื่องการยอมสวามิภักดิ์แต่อย่างใด แต่ในทางตรงกันข้าม กลับกล่าวถึงการสู้รบอย่างหนักติดต่อกันนานถึง 3 วัน กองทัพของเชียงใหม่ที่ยกมา ยังประกอบด้วยกองทัพของเจ้าเชียงตุงและเจ้าจอมหง (เจ้าเชื้อสายเชียงตุง) การรบครั้งนี้ทำให้จอมหงแม่ทัพคนสำคัญคนหนึ่งของฝ่ายเชียงใหม่เสียชีวิต แต่เมืองยองก็แพ้ต่อกองทัพเมืองเชียงใหม่ ดังที่ตำนานเมืองยองกล่าวถึงเหตุการณ์ครั้งนี้ว่า ..แต่นั้นครั้นรบกัน ได้แพ้ (ชนะ) เมืองยองแล้ว ก็เอากันไปหาบ้านเมืองแห่งเขาหั้นและ.. ซึ่งแสดงให้เห็นว่าเมืองยองไม่ได้ยอมสวามิภักดิ์โดยดีตามที่ตำนานพื้นเมืองเชียงใหม่กล่าวไว้ และในขณะที่เอกสารที่เขียนโดยชาวอังกฤษชื่อ เจ. จอร์จ สกอตต์ (J. George Scott) ได้กล่าวถึงสงครามครั้งนี้ว่า คนเมืองยองได้ตื่นตระหนกตกใจหนีเข้าป่าไปจำนวนหนึ่ง และอีกจำนวนหนึ่งถูกบังคับและกวาดต้อนไป บ้านเมืองถูกทำลายและได้รับความเสียหายจากกองทัพสยาม
ในขณะที่กองทัพเชียงใหม่พักไพร่พลอยู่ที่เมืองยองในปี พ.ศ. 2348 นั้น ก็ได้ถือโอกาสยกทัพออกไปปราบปรามและกวาดต้อนผู้คนจากหัวเมืองต่าง ๆ ที่อยู่ใกล้เคียงกับเมืองยอง และดินแดนสิบสองพันนา ได้แก่ บ้านยู้ เมืองหลวย เมืองกาย เมืองขัน เชียงขาง เมืองวะ เมืองลวง เมืองหน (หุน) เมืองแช่ เมืองราย (ฮาย) เมืองเจื่อง ท่าล้อ เมืองม้า เมืองของ เมืองวัง เมืองมาง เมืองขาง เมืองงาด เมืองออ เมืองงิม เมืองเสี้ยว เชียงรุ่ง ทำให้อำนาจของเชียงใหม่ขยายกว้างใหญ่เหมือนในสมัยราชวงศ์มังราย
ครั้งนั้นไม่ปรากฏหลักฐานว่ามีการแบ่งผู้คนที่กวาดต้อนมาไปตั้งถิ่นฐานในบริเวณใดของเมืองเชียงใหม่หรือลำพูน แต่น่าจะเป็นบริเวณรอบ ๆ ตัวเมืองเชียงใหม่เป็นส่วนใหญ่ เพราะในปัจจุบันมีชื่อหมู่บ้านและชุมชนที่สอดคล้องกับเมืองเดิมกระจายตัวอยู่รอบ ๆ ตัวเมืองเชียงใหม่ เช่น บ้านเมืองวะ บ้านเมืองก๋าย บ้านเมืองเลน บ้านเมืองลวง บ้านวัวลาย บ้านตองกาย บ้านท่าสะต๋อย บ้านเชียงขาง วัดเชียงรุ่ง เป็นต้น จะมีเพียงเจ้าเมืองยองและญาติพี่น้องพร้อมกับไพร่พลเท่านั้นที่ได้รับมอบหมายให้เข้ามาตั้งถิ่นฐานในเมืองลำพูนและมีบทบาทในการบริหารบ้านเมืองร่วมกับกลุ่มเจ้าเจ็ดตน
โดยที่ระหว่างปี พ.ศ. 2325–2347 ก่อนการก่อตั้งเมืองลำพูน พระเจ้ากาวิละยังไม่ได้แต่งตั้งให้ผู้ใดเป็นเจ้าเมืองลำพูน ด้านการปกครองยังคงมีสภาพเป็นส่วนหนึ่งของเมืองเชียงใหม่ จนถึงปี พ.ศ. 2348 พระเจ้ากาวิละเห็นความจำเป็นที่จะต้องจัดตั้งและฟื้นฟูเมืองลำพูนอันเป็นนโยบายการเตรียมกำลังคนเพื่อสนับสนุนเชียงใหม่เมื่อมีการสงคราม นอกจากนี้กำลังคนในเมืองลำพูนก็ลดลงไปในครั้งที่พระเจ้ากาวิละพาไปตั้งที่เมืองเชียงใหม่ในปี พ.ศ. 2339 ครั้งหนึ่งแล้ว ยังสูญเสียไปกับความไม่สงบและสงครามหลายครั้ง เมืองลำพูนจึงอยู่ในสภาพที่จะรองรับผู้คนที่มาจากเมืองยองและเมืองต่าง ๆ นอกจากนี้ เมืองลำพูนยังอยู่ติดกับเชียงใหม่ ทำให้สามารถควบคุมดูแลได้ง่าย กับทั้งยังเป็นการปูนบำเหน็จความชอบแก่ญาติพี่น้องที่ได้ช่วยกันทำศึกสงครามมาเป็นเวลานาน และเป็นการขยายตำแหน่งทางการเมืองเพื่อป้องกันการขัดแย้งในการขึ้นดำรงตำแหน่งต่าง ๆ ในหมู่พี่น้องตระกูลเจ้าเจ็ดตนในอนาคตอีกด้วย
ดังนั้นเมื่อเดือน 7 (ราวเดือนเมษายนของไทย) ขึ้น 5 ค่ำ ตรงกับวันจันทร์ พ.ศ. 2348 พระเจ้ากาวิละได้มอบหมายให้เจ้าฅำฝั้นและบริวารจากเมืองเชียงใหม่และเจ้าบุญมา น้องคนสุดท้องและบริวารจากเมืองลำปาง ร่วมกับเจ้าเมืองยองพร้อมด้วยบุตรภรรยา น้องทั้ง 4 ญาติพี่น้อง ขุนนาง พระสงฆ์ และไพร่พลจากเมืองยองนับ 19,999 คน เข้ามาแผ้วถางเมืองลำพูนที่ร้างอยู่ จนถึงวันพุธขึ้น 8 ค่ำ จึงเข้ามาตั้งเมืองลำพูนได้ พระสงฆ์จำนวน 198 รูป สวดมงคลพระปริตในที่ไชยยะมงคล 9 แห่งในเมืองลำพูน เจ้าเมืองยอง บุตรภรรยา ญาติพี่น้อง ขุนนาง และพระสงฆ์ระดับสูงได้ตั้งเข้าอยู่บริเวณเวียงยองทางฝั่งตะวันออกของแม่น้ำกวง ส่วนไพร่พลอื่น ๆ ได้แยกย้ายกันออกไปตั้งในพื้นที่ต่าง ๆ ของลำพูน
การที่ชาวยองเข้ามาตั้งถิ่นฐานในเมืองลำพูนอย่างเป็นกลุ่มเป็นก้อนเป็นจำนวนมาก ในระยะแรก กลุ่มเจ้าเจ็ดตนที่ปกครองเมืองลำพูนได้ยินยอมให้เจ้าเมืองยองและญาติพี่น้องมีบทบาทและมีส่วนร่วมในการปกครองบ้านเมือง ซึ่งแตกต่างจากเจ้าเมืองอื่น ๆ ที่อพยพมาในคราวเดียวกัน ต่อมาในปี พ.ศ. 2444–2445 ในสมัยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 5 ได้มีการสำมะโนประชากรในเมืองลำพูนเป็นครั้งแรก ตรงกับสมัยของเจ้าอินทยงยศโชติ เจ้าผู้ครองนครลำพูนลำดับที่ 9 พบว่ามีประชากรทั้งหมด 199,934 คน ส่วนใหญ่สืบเชื้อสายมาจากผู้คนที่อพยพมาจากเมืองยองและเมืองอื่นที่อยู่ใกล้เคียง
ซึ่งสอดคล้องกับที่ ร้อยโท ดับเบิ้ลยู ซี แมคเคลาน์ (W.C. McCloed) ข้าราชการชาวอังกฤษ ได้รายงานไว้ในช่วงระยะเวลาที่เดินทางเข้ามาในเมืองลำพูนในปี พ.ศ. 2389 ฅนยองหรือชาวยอง (คนลื้อเมืองยอง) จึงเป็นประชากรส่วนใหญ่ของเมืองลำพูน ประชากรมากกว่าร้อยละ 89 สืบเชื้อสายมาจากผู้คนที่อพยพมาจากเมืองยองและเมืองใกล้เคียง เช่น เมืองยู้ เมืองหลวย ในแถบหัวเมืองทางตอนบน ซึ่งปัจจุบันอยู่ในประเทศพม่าและสิบสองพันนาของจีน องค์ประกอบด้านประชากรจึงแตกต่างไปจากหัวเมืองอื่น ๆ ในล้านนา การผสมผสานและการปรับตัวของฅนยองในเมืองลำพูนจึงไม่ใช่เป็นลักษณะของคนส่วนน้อยในสังคม (Minority Group) ดังเช่นกลุ่มชาวไทเขิน ลัวะ กะเหรี่ยง ไทใหญ่หรือเงี้ยว จีน หรือฮ่อ ที่อพยพเข้ามาในช่วงระยะเวลาเดียวกัน ด้วยเหตุนี้ คนยองในเมืองลำพูนจึงยังคงรักษาลักษณะทางสังคมและวัฒนธรรมบางอย่าง เช่นภาษาไว้ได้ค่อนข้างยาวนานจนถึงปัจจุบัน
wikipedia, แบบไทย, วิกิพีเดีย, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด, บทความ, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม, มือถือ, โทรศัพท์, Android, iOS, Apple, โทรศัพท์โมบิล, Samsung, iPhone, Xiomi, Xiaomi, Redmi, Honor, Oppo, Nokia, Sonya, MI, PC, พีซี, web, เว็บ, คอมพิวเตอร์
bthkhwamniimmikarxangxingcakaehlngthimaidkrunachwyprbprungbthkhwamni odyephimkarxangxingaehlngthimathinaechuxthux enuxkhwamthiimmiaehlngthimaxacthukkhdkhanhruxlbxxk eriynruwacanasaraemaebbnixxkidxyangiraelaemuxir emuxngyxng ithihy မ င ယ င phma မ င ယ င ithlux ᨾ ᨦᨿ ᨦ epnemuxnghnunginrthchan praethsphma khunkb epnemuxngthimiprawtisastrxnyawnan thngekiywkhxngkbphma lanna syam law aelaekhtsibsxngpnnakhxngcin phuthixyuxasyinemuxngeriykwachawluxemuxngyxngemuxngemuxngyxngthitngemuxngyxnginpraethsphmaphikd 21 11 N 100 22 E 21 183 N 100 367 E 21 183 100 367praeths phmarth rthchanekhtewlaUTC 6 30 ewlamatrthanphma khnemuxngyxngsubechuxsaymacakphukhnthixphyphmacakemuxngechiyngrungaelaemuxngxun insibsxngphnna sungepnkhnluxhruxithlux aelaemuxxphyphekhamatngthinthankhrngihyinemuxnglaphuninpi ph s 2348 khnthwipcungeriykwa khnemuxngyxng ephraainsmynnrthprachachatihruxrthchati nation state aebbtawntkyngimekidkhun insmynnphukhntangbanhlayemuxngthimaxyurwmkn cungeriynkhankntamchuxbanemuxngedim echn khnemuxngechiyngihm khnemuxnglapang khnemuxngaephr khnemuxngnan khnemuxngechiyngtung epntn channkhnithyxngcungimichkhniththiepnchatiphnthuyxng aetepnkhnithluxthixasyxyuemuxngyxngphumilksnatwemuxngtngxyuthangthistawnxxkkhxngechiyngtung hangknpraman 80 kiolemtr hangcakchayaednxaephxaemsaypraman 157 kiolemtr twemuxngyxngepnaexngthirabklanghubekha miphuekhalxmrxb mikhwamxudmsmburn ephraamiaehlngnathidi nbepnekhtekstrkrrmthisakhyxikaehnghnung tngaetxditcungmiphukhnxphyphcakthitang ekhamatngthinthantlxdewla phumipraethsdantawntksungkwadantawnxxk aemnasaysakhykhuxaemnalab aemnawng aelaaemnayxng ihlipthangthistawnxxk ipsuaemnaokhngkaaephng pratu aelaicklangemuxngyxngekhtkaaephngemuxnglksnaklmritngxyubneninsung mikhunakhndin thitngprakxbdwypratuemuxngthng 4 dan dngni thisehnux tidkbdxypanghnaw mipratumxnaesn thistawntk tidethuxkekha mipratupanghing thistawnxxk tidthirab mipratupaaedng aelapratunxy thisit tidthirab odymiihlphan mipratuesuxemuxng nxkcaknn yngmixik 3 pratu phayinewiyng khux pratudinaedng pratuhuhud aelapratuphabxng briewnicklangemuxngmitnsri hruxtnophthimiimkhaodyrxbsungaesdngthungkhwamechuxeruxng echnediywkbkhnemuxnginlannaprawtikarxphyphmakhxngchawithlux khawayxnghrux yxng xnepnchuxemuxngnn tananemuxngyxngidxthibaywaepnchuxhyachnidhnungthiekhykhuninbriewnemuxngyxng khrnghnungminayphranmacakxalwinkhr idcudifephapathaihhyayxngpliwipthw emuxngyxngmichuxepnphasabaliwa mhiyngkhnkhr tananemuxngyxng emuxngyxngepnemuxngthimitananklawthungphthnakarkhxngbanemuxngthierimkhuninraw odyerimcakkartngthinthankhxngklumkhnphunemuxng sungidaekphwklwa txmainrawphuththstwrrsthi 19 miklumkhnithcakemuxngechiyngrung naodyecasunnthaoxrskhxngecaemuxngechiyngrung idphabriwarekhamamixanacpkkhrxngemuxngyxngehnuxkhnphunemuxng odymithngpccyphayinepnsingsnbsnun idaekkarphsmphsanrabbkhwamechuxaelaphithikrrmthimixyuaetedimkbphuththsasnathiekhamaphayhlng kbidsrangkhwamsmphnthkbkhnphunemuxng swnpccyphaynxkidaek khwamsmphnththangekhruxyatiaelarabbbrrnakarkbemuxngechiyngrung echiyngtung echiyngihm karsrangphnthmitrthangkaremuxngkbklumemuxnginthirabechiyngray bnfngaemnaokhngtxnklang echn echiyngaesn echiyngkhxng epntn emuxngyxnginyukhtnkhxngtanancungmikhwamsmphnththangsngkhmaelawthnthrrmkbemuxngechiyngrungxyangiklchid inkrnikhxngkhnemuxngyxngtxmakhawaemuxngidhayip khngehluxxyukhawa Khnyxng dngnn yxngcungmiichchatiphnthu emuxwiekhraahcakphthnakaraelaphumihlngthangprawtisastrkhxngemuxngyxngaelw khnyxngkkhuxkhnephaithluxnnexng inpccubnchawemuxngyxnginrthchanaelaincnghwdnan yngeriyktwexngwa epn khnluxemuxngyxng yukhxanackrlanna inyukhthixanackrlannasmyrachwngsmngrayecriyrungeruxngaelamixanac emuxkxngthphmxngoklhruxphwkhxykkxngthphekhayudemuxngyxngidaelaelymatithungechiyngaesn smyphyasamfngaekn ph s 1947 1948 kxngthphechiyngihm samarthkhbilphwkhxxxkcakechiyngaesnaelaemuxngyxngid emuxngyxngcungidhnmasngbrrnakarihkbechiyngihm insmythithilannamixanacsungsud phyatiolkrach ph s 1984 2030 idkhunippkkhrxngemuxngyxngxyurayahnunginraw ph s 1985 ephraatananemuxngyxng aelatananphunemuxngechiyngihm idklawthungthungkarkhyayxanackhxnglannaipcnthungdinaednsibsxngphnna phyatiolkrach sungintananidrabuwa phraecaxosk idburnaphrathatucxmyxng aelathrngthanubarungphraphuththsasnainemuxngyxngihecriymnkhng snnisthanwaphuththsasnaaebblngkaidkhunipephyaephthunghwemuxngtang thangtxnbnrayaewlanidwy ehtukarndngklawidbngbxkthungkhwamsmphnthrahwangemuxngyxngkbechiyngihmthimimatngaetsmyrachwngsmngray inrahwangphuththstwrrsthi 19 22 inyukhthixanackrkhnadihyidkhyaytwxxkipodykarthasngkhram echn phma cinhruxsibsxngphnna dngnn lannaaelalanchangcungihkhwamsakhytxkarephimkalngkhnsungepnswnprakxbsakhyinkarkhyayxanacaelasrangxanackr aelayngichepnsingthiaesdngxiththiphlehnuxdinaedntang inprimnthlaehngxanachruxemuxngchaykhxb caksphaphthitngthangphumisastr emuxngyxngcungxyuthamklangkarkhyayxanacaelakaraesdngxiththiphlkhxngsunyxanactang tlxdewla karxyuinthanarthknkrathbhruxrthknchn buffer state rahwangxanackrihy txngprbtwodykarsrangkhwamsmphnthinhlayrupaebb ephuxihekidkhwamsmdulkhxngxanaccakfaytang thixyurayrxb thaihemuxngyxngmilksnaepnemuxngthieriykknwa emuxngsamfayfa ephraamikhwamsmphnthinechingbrrnakar tribute aelaechingxanackbcin phmaaelaechiyngihminewlaediywkn inyamthasngkhram emuxngyxngcungthukdungekhasukarsurb odythukeknththngesbiyngxaharaelaphukhn tlxdcnkarkwadtxnphukhniptngthinthaninthitang khrngthimikhwamsakhymakthisudkhux smyphraecakawila pi ph s 2348 kxngthphechiyngihmsmyphraecakawila naodyecaxuprachthmmlngka aela idykkxngthphkhunipkwadtxnphukhn cakemuxngyxngaelaemuxngiklekhiyng odyechphaahwemuxngtang thangtxnbnthiekhymikhwamsmphnthknindansngkhmaelawthnthrrm matngthinthaninemuxnglaphun aelaechiyngihm sungthuxwaepnnoybaysakhykhxngphraecakawilaodykarsnbsnunkhxngkrungethph ephuxfunfubanemuxngtang inlanna thiidrbkhwamesiyhaycaksngkhramaelakaryudkhrxngkhxngphma yxnklbiprahwangpi ph s 2325 2339 phraecakawilaaelayati idtngmnaelarwbrwmphukhnxyuthiewiyngpasangekhtemuxnglaphun cnmikalngkhnephiyngphxaelwcungidekhamatngmnaelafunfuemuxngechiyngihm in pi ph s 2339 phraecakawilayngiddaeninkarrwbrwm aelakwadtxnphukhntxmaxikhlaykhrngaelaidkhyaykhxbekhtkarkwadtxnphukhnxxkipyngbriewnxunodyechphaainaethbtawnxxkkhxngaemnaKhng dwyehtuni phrabathsmedcphraphuththyxdfaculaolk rchkalthi 1 cungidthrngphrakrunaoprdekla sthapnaecakawila darngtaaehnngecapraethsrachinpi ph s 2345 thaihphraecakawilaepnthiyxmrbkhxnghwemuxngtang inlannaaelahwemuxngthangtxnbn xikthngidrbkarsnbsnuncakkrungethph makkhunkwaedim dngcaehnidcakinkhrawthiphraecakawilaykkxngthphiptiechiyngaesninpi ph s 2345 2347 kidrbkarsnbsnunkalngthharcakkrungethph ewiyngcnthn emuxnglapang emuxngnan aelakhrngthiykiptiaelakwadtxnphukhncakemuxngyxngkhrngihy inpi ph s 2348 nnkidrbkarsnbsnunkxngthphcakemuxnglapang emuxngaephr emuxngnan aelaechiyngtung thimikalngkhnnb 19 999 khn nbepnkarykthphkhrngihythisudinsmyphraecakawila inpi ph s 2347 emuxngechiyngaesnsungepnthimnaehngsudthaykhxngphma thiichepnthankalngsakhyinkarkhwbkhumhwemuxngtang indinaednthangtawnxxkbriewnlumaemnaokhngtxnklang idthukkxngthphkhxngphraecakawilatiaetk pithdma ph s 2348 kxngthphcakhwemuxngtang naodykxngthphemuxngechiyngihm idykkhunipthungemuxngyxngaelaid ethkhrw khuxnaphukhninemuxngyxngaelahwemuxngiklekhiyngepncanwnmak matngthinthaninemuxnglaphunaelaechiyngihm sungkxnhnanimiphukhnebabang kar ethkhrw cakemuxngyxngkhrngni nbepnkarxphyphphukhnkhrngsakhykhrnghnung thimikarnamathngrabbkhxngemuxng xnprakxbdwyecaemuxngyxng butr phrrya yatiphinxng khunnang phrasngkh aelaphunathxngthinradbtang tlxdcniphrphlcanwnmakekhamatngthinthaninemuxnglaphun emuxngyxngepnsunyxanacyxykhxngphmakbhwemuxngbriewniklekhiyng subenuxngcakinsmy ph s 2148 2191 phmaidmxbhmayihecafaemuxngyxngduaelhwemuxngtang thung 12 hwemuxngaethbsibsxngpnnatxnlangipcnsudaemnaokhngthiemuxngechiynglabmakxn phayhlngthiemuxngyxngyxmswamiphkditxechiyngihm miphlthaihhwemuxngxun inbriewnaethbniyxmswamiphkditxechiyngihmechnediywkn thaihechiyngihmsamarthkhyayxiththiphlekhaipthungsibsxngphnnaaelahwemuxngxun thiekhyxyuphayitxanacaelaxiththiphlkhxngphmaidsadwk tananphunemuxngechiyngihmepnexksarphunemuxngephiyngchbbediyw thiihraylaexiydthungehtukarnthikxngthphechiyngihmykthphipkwadtxnphukhncakemuxngyxnginpi ph s 2348 karthiphraecakawilaykthphiptiemuxngyxngkhrngni kxangwaepnkarkrathadngthikstriyinrachwngsmngrayidptibtimakxn karthiemuxngyxngidyxmswamiphkdi aelathwaysingkhxngtang rwmthungnanghnxaekwekiyngkha nxngtangmardakhxngecafahlwngemuxngyxng ihkbecaxuprachthrrmlngka phrxmdwyphukhnxik 19 999 khn aelaxawuthtang echn punihythung 1 999 krabxkkbchangmaepnxnmak aesdngihehnwathangemuxngyxngmikalngiphrphlaelaxawuthcanwnimnxy epnthinasngektwa tananemuxngyxngimidklawthungeruxngkaryxmswamiphkdiaetxyangid aetinthangtrngknkham klbklawthungkarsurbxyanghnktidtxknnanthung 3 wn kxngthphkhxngechiyngihmthiykma yngprakxbdwykxngthphkhxngecaechiyngtungaelaecacxmhng ecaechuxsayechiyngtung karrbkhrngnithaihcxmhngaemthphkhnsakhykhnhnungkhxngfayechiyngihmesiychiwit aetemuxngyxngkaephtxkxngthphemuxngechiyngihm dngthitananemuxngyxngklawthungehtukarnkhrngniwa aetnnkhrnrbkn idaeph chna emuxngyxngaelw kexakniphabanemuxngaehngekhahnaela sungaesdngihehnwaemuxngyxngimidyxmswamiphkdiodyditamthitananphunemuxngechiyngihmklawiw aelainkhnathiexksarthiekhiynodychawxngkvschux ec cxrc skxtt J George Scott idklawthungsngkhramkhrngniwa khnemuxngyxngidtuntrahnktkichniekhapaipcanwnhnung aelaxikcanwnhnungthukbngkhbaelakwadtxnip banemuxngthukthalayaelaidrbkhwamesiyhaycakkxngthphsyam inkhnathikxngthphechiyngihmphkiphrphlxyuthiemuxngyxnginpi ph s 2348 nn kidthuxoxkasykthphxxkipprabpramaelakwadtxnphukhncakhwemuxngtang thixyuiklekhiyngkbemuxngyxng aeladinaednsibsxngphnna idaek banyu emuxnghlwy emuxngkay emuxngkhn echiyngkhang emuxngwa emuxnglwng emuxnghn hun emuxngaech emuxngray hay emuxngecuxng thalx emuxngma emuxngkhxng emuxngwng emuxngmang emuxngkhang emuxngngad emuxngxx emuxngngim emuxngesiyw echiyngrung thaihxanackhxngechiyngihmkhyaykwangihyehmuxninsmyrachwngsmngray khrngnnimprakthlkthanwamikaraebngphukhnthikwadtxnmaiptngthinthaninbriewnidkhxngemuxngechiyngihmhruxlaphun aetnacaepnbriewnrxb twemuxngechiyngihmepnswnihy ephraainpccubnmichuxhmubanaelachumchnthisxdkhlxngkbemuxngedimkracaytwxyurxb twemuxngechiyngihm echn banemuxngwa banemuxngkay banemuxngeln banemuxnglwng banwwlay bantxngkay banthasatxy banechiyngkhang wdechiyngrung epntn camiephiyngecaemuxngyxngaelayatiphinxngphrxmkbiphrphlethannthiidrbmxbhmayihekhamatngthinthaninemuxnglaphunaelamibthbathinkarbriharbanemuxngrwmkbklumecaecdtn odythirahwangpi ph s 2325 2347 kxnkarkxtngemuxnglaphun phraecakawilayngimidaetngtngihphuidepnecaemuxnglaphun dankarpkkhrxngyngkhngmisphaphepnswnhnungkhxngemuxngechiyngihm cnthungpi ph s 2348 phraecakawilaehnkhwamcaepnthicatxngcdtngaelafunfuemuxnglaphunxnepnnoybaykaretriymkalngkhnephuxsnbsnunechiyngihmemuxmikarsngkhram nxkcaknikalngkhninemuxnglaphunkldlngipinkhrngthiphraecakawilaphaiptngthiemuxngechiyngihminpi ph s 2339 khrnghnungaelw yngsuyesiyipkbkhwamimsngbaelasngkhramhlaykhrng emuxnglaphuncungxyuinsphaphthicarxngrbphukhnthimacakemuxngyxngaelaemuxngtang nxkcakni emuxnglaphunyngxyutidkbechiyngihm thaihsamarthkhwbkhumduaelidngay kbthngyngepnkarpunbaehnckhwamchxbaekyatiphinxngthiidchwyknthasuksngkhrammaepnewlanan aelaepnkarkhyaytaaehnngthangkaremuxngephuxpxngknkarkhdaeynginkarkhundarngtaaehnngtang inhmuphinxngtrakulecaecdtninxnakhtxikdwy dngnnemuxeduxn 7 raweduxnemsaynkhxngithy khun 5 kha trngkbwncnthr ph s 2348 phraecakawilaidmxbhmayihecaKhafnaelabriwarcakemuxngechiyngihmaelaecabuyma nxngkhnsudthxngaelabriwarcakemuxnglapang rwmkbecaemuxngyxngphrxmdwybutrphrrya nxngthng 4 yatiphinxng khunnang phrasngkh aelaiphrphlcakemuxngyxngnb 19 999 khn ekhamaaephwthangemuxnglaphunthirangxyu cnthungwnphuthkhun 8 kha cungekhamatngemuxnglaphunid phrasngkhcanwn 198 rup swdmngkhlphrapritinthiichyyamngkhl 9 aehnginemuxnglaphun ecaemuxngyxng butrphrrya yatiphinxng khunnang aelaphrasngkhradbsungidtngekhaxyubriewnewiyngyxngthangfngtawnxxkkhxngaemnakwng swniphrphlxun idaeykyayknxxkiptnginphunthitang khxnglaphun karthichawyxngekhamatngthinthaninemuxnglaphunxyangepnklumepnkxnepncanwnmak inrayaaerk klumecaecdtnthipkkhrxngemuxnglaphunidyinyxmihecaemuxngyxngaelayatiphinxngmibthbathaelamiswnrwminkarpkkhrxngbanemuxng sungaetktangcakecaemuxngxun thixphyphmainkhrawediywkn txmainpi ph s 2444 2445 insmyphrabathsmedcphraculcxmeklaecaxyuhw rchkalthi 5 idmikarsamaonprachakrinemuxnglaphunepnkhrngaerk trngkbsmykhxngecaxinthyngysochti ecaphukhrxngnkhrlaphunladbthi 9 phbwamiprachakrthnghmd 199 934 khn swnihysubechuxsaymacakphukhnthixphyphmacakemuxngyxngaelaemuxngxunthixyuiklekhiyng sungsxdkhlxngkbthi rxyoth dbebilyu si aemkhekhlan W C McCloed kharachkarchawxngkvs idraynganiwinchwngrayaewlathiedinthangekhamainemuxnglaphuninpi ph s 2389 Khnyxnghruxchawyxng khnluxemuxngyxng cungepnprachakrswnihykhxngemuxnglaphun prachakrmakkwarxyla 89 subechuxsaymacakphukhnthixphyphmacakemuxngyxngaelaemuxngiklekhiyng echn emuxngyu emuxnghlwy inaethbhwemuxngthangtxnbn sungpccubnxyuinpraethsphmaaelasibsxngphnnakhxngcin xngkhprakxbdanprachakrcungaetktangipcakhwemuxngxun inlanna karphsmphsanaelakarprbtwkhxngKhnyxnginemuxnglaphuncungimichepnlksnakhxngkhnswnnxyinsngkhm Minority Group dngechnklumchawithekhin lwa kaehriyng ithihyhruxengiyw cin hruxhx thixphyphekhamainchwngrayaewlaediywkn dwyehtuni khnyxnginemuxnglaphuncungyngkhngrksalksnathangsngkhmaelawthnthrrmbangxyang echnphasaiwidkhxnkhangyawnancnthungpccubn