อุทยานแห่งชาติแก่งตะนะ ตั้งอยู่ในท้องที่ อำเภอโขงเจียม และอำเภอสิรินธร จังหวัดอุบลราชธานี สภาพ พื้นที่ทั่วไปเป็นที่ราบและเนินเขาเตี้ยๆ โดยมียอดเขาบรรทัดเป็นจุดสูงสุด ความสูงประมาณ 543 เมตรจากระดับน้ำทะเลปานกลาง มีแม่น้ำมูลและแม่น้ำโขงไหลผ่านตามแนวเขตทางด้านทิศเหนือไปออกประเทศลาว บริเวณแก่งตะนะจะมีสายน้ำที่เชี่ยวและลึก อีกทั้งยังมีถ้ำใต้น้ำหลายแห่ง จึงทำให้มีปลาอาศัยอยู่ชุกชุม ตรงกลางมีโขดหินขนาดใหญ่เป็นเกาะกลาง มีเนื้อที่ประมาณ 50,000 ไร่ หรือ 80 ตารางกิโลเมตร
อุทยานแห่งชาติแก่งตะนะ | |
---|---|
ไอยูซีเอ็นกลุ่ม 2 (อุทยานแห่งชาติ) | |
แก่งตะนะ | |
ที่ตั้ง | อำเภอโขงเจียมและอำเภอสิรินธร จังหวัดอุบลราชธานี |
พิกัด | 15°17′50″N 105°28′25″E / 15.29722°N 105.47361°E |
พื้นที่ | 85.26 ตารางกิโลเมตร (53,290 ไร่) |
จัดตั้ง | 14 กรกฎาคม พ.ศ. 2524 |
ผู้เยี่ยมชม | 31,170 (2562) |
หน่วยราชการ | กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช |
คำว่า “ตะนะ” จากการเล่าขานตามความเชื่อของชาวบ้านและประชาชนทั่วไป เดิมมาจากคำว่า “มรณะ” เนื่องจากบริเวณแก่งตะนะนี้มีกระแสน้ำไหลที่เชี่ยวกราก และมีโขดหินใหญ่น้อยอยู่ทั่วไป ตลอดจนมีถ้ำใต้น้ำอยู่หลายแห่ง ชาวบ้านที่สัญจรทางน้ำหรือออกจับปลา มักประสบอุบัติเหตุเสียชีวิตอยู่เป็นประจำ ชาวบ้านจึงเรียกแก่งนี้ว่า “แก่งมรณะ” ตามแรงบันดาลจากสภาพของสายน้ำที่ไหลผ่านแก่งนี้ ซึ่งต่อมาเรียกว่า “แก่งตะนะ” จึงตั้งเป็นชื่ออุทยานแห่งชาติ
ลักษณะภูมิประเทศ
สภาพพื้นที่ทั่วไปเป็นที่ราบ เป็นเขาเตี้ยๆ มีแม่น้ำมูล แม่น้ำโขง และ ลำโดมน้อย ซึ่งเป็นแม่น้ำขนาดเล็ก ไกล้เคียงกับแม่น้ำมูล ไหลผ่าน เขื่อนสิรินธร มาบรรจบกับแม่น้ำมูล ที่หน้าเขื่อนปากมูล ความสูงโดยเฉลี่ยของพื้นที่ประมาณ 200 เมตร จากระดับน้ำทะเล ยอดเขาที่สูงที่สุดคือ ยอดเขาบรรทัด สูงประมาณ 543 เมตร สภาพป่าทั่วไปเป็น ป่าเต็งรัง ป่าแพะหรือป่าแดง จะมีป่าดิบเฉพาะบริเวณริมห้วยขนาดใหญ่เท่านั้น สภาพพื้นที่ส่วนมากเป็นป่าสลับพลาญหินทราย และหินศิลา ส่วนดินเป็นดินลูกรัง ดินบรบือ และดินตะกอน จะมีทรายปะปนในดิน
ลักษณะภูมิอากาศ
ด้วยพื้นที่อุทยานแห่งชาติแก่งตะนะอยู่ในเขตมรสุม ซึ่งมี 3 ฤดู ดังนี้
- ฤดูร้อน จะไม่ร้อนจนเกินไป ระหว่างเดือนกุมภาพันธ์-พฤษภาคม อุณหภูมิประมาณ30◦-35◦
- ฤดูหนาว ก็ไม่หนาวจัด ระหว่างเดือนตุลาคม-มกราคม อุณหภูมิประมาณ 18◦- 22◦
- ฤดูฝน ระหว่างเดือนมิถุนายน-กันยายน อุณหภูมิประมาณ 25◦-30 ◦ ฝนค่อนข้างตกชุก
จึงทำให้นักท่องเที่ยวนิยมเข้าไปเที่ยวในช่วงปลายฤดูฝนเพราะอากาศจะร่มรื่นเย็นสบาย และพันธุ์ไม้ดอกขึ้นเป็นจำนวนมาก
ทรัพยากรป่าไม้
อุทยานแห่งชาติแก่งตะนะ สามารถสำแนกประเภทของสังคมพืชออกได้เป็น
ป่าดิบแล้ง ป่าดิบแล้งในบริเวณอุทยานแห่งชาติมีอยู่เพียงเล็กน้อย ประมาณ 6.96 ตารางกิโลเมตร หรือ 8.354 เปอร์เซ็นต์ ของพื้นที่ทั้งหมด โดยขึ้นปกคลุมอยู่ทางด้านทิศตะวันออก ของอุทยานแห่งชาติบริเวณห้วยกระดิน และห้วยหัวเจ้า ป่าชนิดนี้มีลักษณะโครงสร้างทางด้านตั้งประกอบด้วยไม้ที่ขึ้นอยู่ 4 ชั้นระดับด้วยกัน โดยชั้นสูงสุด ประกอบด้วยไม้ชนิดต่างๆ ที่มีความสูงตั้งแต่ 21 เมตรขึ้นไป ได้แก่ ยางนา ตะเคียนหิน กะบก และชนิดอื่นๆ ไม้ชั้นกลาง ซึ่งมีเรือนยอดปกคลุมต่อเนื่อง ประกอบด้วยไม้ขนาดกลางที่มีความสูงตั้งแต่ 15-20 เมตร ไม้ที่พบเห็นโดยทั่วไป ได้แก่ ติ้ว ประดู่ และ มะค่าโมง ไม้ชั้นล่าง ประกอบด้วยไม้ขนาดเล็กที่มีความสูงระหว่าง 4-14 เมตร ชนิดไม้ที่สำคัญ ได้แก่ เหมือด ตีนนก และหว้า
ป่าเต็งรัง ป่าเต็งรังในบริเวณอุทยานแห่งชาติปกคลุมเป็นบริเวณกว้าง กล่าวคือ ครอบคลุมเนื้อที่ 69.97 ตารางกิโลเมตร หรือประมาณ 84 เปอร์เซ็นต์ของพื้นที่ทั้งหมด โดยขึ้นปกคลุมพื้นที่ของอุทยานแห่งชาติอยู่ทั่วๆ ไป โครงสร้างตามแนวดิ่ง ประกอบด้วยไม้สามชั้น ชั้นบนสุด (Upper Layer) ประกอบด้วย ไม้ที่มีความสูงตั้งแต่ 16 เมตรขึ้นไป เป็นไม้ขนาดใหญ่ ลำต้นค่อนข้างเปล่าตรงขึ้นกระจัดกระจายห่างๆ พันธุ์ไม้ที่พบ ได้แก่ รกฟ้า ประดู่ ไม้ชั้นกลาง ประกอบดด้วยไม้ขนาดกลางที่มีความสูงระหว่าง 15-20 เมตร ขึ้นรวมกันหนาแน่นกว่าชนิดอื่นๆ ไม่ที่เด่นและพบเห็นทั่วไป ได้แก่ เต็ง รัง พลวง แดง เป็นต้น ส่วนไม้ล่าง เป็นไม้ขนาดเล็กที่มีความสูงต่ำกว่า 5 เมตร ลงมา ประกอบด้วย รักทะนง ยอป่า เหมือด เป็นต้น ส่วนไม้พื้นล่าง เป็นพวกลูกไม้ต่างๆ ปรงป่า
ทรัพยากรสัตว์ป่า
สัตว์ป่า ที่พบในเขตอุทยานแห่งชิแก่งตะนะ สามารถจำแนกเป็น
- สัตว์เลี้ยงลูกด้วยน้ำนม ส่วนใหญ่จะเป็นสัตว์ขนาดกลางและขนาดเล็กมีอยู่ชุกชุมทางด้านทิศตะวันออกของอุทยานแห่งชาติบริเวณเทือกเขาบรรทัด เช่น กวาง หมีหมาหรือหมีคน อีเก้งหรือฟาน หมูป่า กระต่ายป่า สัตว์จำพวกกระรอก กระแต ตัวลิ่น หรือ นิ่ม สัตว์จำพวก แมวป่า ขนาดเล็ก จำพวก อีเห็น อีกหลายชนิด เป็นต้น
- สัตว์ปีก จากการสำรวจของคณะเจ้าหน้าที่อุทยาแห่งชาติแก่งตะนะ ร่วมกับมหาวิทยาลัยมหิดล สำรวจเบื้องต้น พบนกในอุทยานแห่งชาติแก่งตะนะ มีจำนวน 48 ชนิด ประกอบด้วย เหยี่ยวแดง นกกะปูดใหญ่ นกเค้าโมง นกนางแอ่น นกแซงแซวหงอนขน นกแซงแซวสีเทา นกกระจี๊ดธรรมดา นกกระจี๊ดสีคล้ำ นกจับแมลงหัวเทา นกจับแมลงคอแดง นกอุ้มบาตร์ นกเด้าดินสวน นกกินปลี นกปรอดทอง นกพญาไฟสีกุหลาบ เป็นต้น
- สัตว์สะเทินน้ำสะเทินบก ที่พบได้แก่ กบ คางคก อึ่งอ่าง ปาด และเขียดหลายชนิดแต่ยังมิได้มีการสำรวจแจกแจงชนิดอย่างละเอียด
- สัตว์น้ำ จำพวกปลา เนื่องจากอุทยานแห่งชาติแก่งตะนะมีอาณาเขตติดต่อกับแม่น้ำใหญ่ถึง 2 สาย คือแม่น้ำโขงและแม่น้ำมูล จึงมีพันธ์ปลาจำนานมากอาศัยอยู่ พบรวบรวมได้ 139 ชนิด จัดอยู่ใน 23 วงศ์ 10 อันดับ เป็นวงศ์ปลาตะเพียน 68 ชนิด วงศ์ปลาสวาย 10 ชนิด วงศ์ปลาเนื้ออ่อน 9 ชนิด วงศ์ปลากด 9 ชนิด และวงศ์ปลาอื่นๆอีก 43 ชนิด ปลาส่วนใหญ่เหมือนกับปลาที่มีอยู่ในภาคอื่นๆ เช่น ปลาตะเพียนขาว ปลากระสูบ ปลาเทโพ ปลากราย ปลายี่สก ปลากระโห้ ปลาโกก แต่มีปลาหลายชนิดที่ไม่พบในแหล่งน้ำอื่น เช่น ปลาหมากยาง หรือ ปลามงโกรย และ ปลาบึก ปลาดุกมูน ปลาก้าง และสัตว์น้ำ ที่เป็นสัตว์ที่พบในพื้นที่ เช่น ปูภูเขา กระตาม ปูสีส้ม เป็นต้น
อ้างอิง
- . กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช. December 2020. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2022-11-03. สืบค้นเมื่อ 1 November 2022, no 33
{{}}
: CS1 maint: postscript () - . กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 17 November 2015. สืบค้นเมื่อ 16 November 2015.
- Wikramanayake, Eric D. (2002). Terrestrial ecoregions of the Indo-Pacific: a conservation assessment. Island Press. ISBN . สืบค้นเมื่อ October 1, 2011.
แหล่งข้อมูลอื่น
- อุทยานแห่งชาติแก่งตะนะ - กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช
wikipedia, แบบไทย, วิกิพีเดีย, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด, บทความ, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม, มือถือ, โทรศัพท์, Android, iOS, Apple, โทรศัพท์โมบิล, Samsung, iPhone, Xiomi, Xiaomi, Redmi, Honor, Oppo, Nokia, Sonya, MI, PC, พีซี, web, เว็บ, คอมพิวเตอร์
xuthyanaehngchatiaekngtana tngxyuinthxngthi xaephxokhngeciym aelaxaephxsirinthr cnghwdxublrachthani sphaph phunthithwipepnthirabaelaeninekhaetiy odymiyxdekhabrrthdepncudsungsud khwamsungpraman 543 emtrcakradbnathaelpanklang miaemnamulaelaaemnaokhngihlphantamaenwekhtthangdanthisehnuxipxxkpraethslaw briewnaekngtanacamisaynathiechiywaelaluk xikthngyngmithaitnahlayaehng cungthaihmiplaxasyxyuchukchum trngklangmiokhdhinkhnadihyepnekaaklang mienuxthipraman 50 000 ir hrux 80 tarangkiolemtrxuthyanaehngchatiaekngtanaixyusiexnklum 2 xuthyanaehngchati aekngtanathitngxaephxokhngeciymaelaxaephxsirinthr cnghwdxublrachthaniphikd15 17 50 N 105 28 25 E 15 29722 N 105 47361 E 15 29722 105 47361phunthi85 26 tarangkiolemtr 53 290 ir cdtng14 krkdakhm ph s 2524phueyiymchm31 170 2562 hnwyrachkarkrmxuthyanaehngchati stwpa aelaphnthuphuch khawa tana cakkarelakhantamkhwamechuxkhxngchawbanaelaprachachnthwip edimmacakkhawa mrna enuxngcakbriewnaekngtananimikraaesnaihlthiechiywkrak aelamiokhdhinihynxyxyuthwip tlxdcnmithaitnaxyuhlayaehng chawbanthisycrthangnahruxxxkcbpla mkprasbxubtiehtuesiychiwitxyuepnpraca chawbancungeriykaekngniwa aekngmrna tamaerngbndalcaksphaphkhxngsaynathiihlphanaekngni sungtxmaeriykwa aekngtana cungtngepnchuxxuthyanaehngchatilksnaphumipraethssphaphphunthithwipepnthirab epnekhaetiy miaemnamul aemnaokhng aela laodmnxy sungepnaemnakhnadelk iklekhiyngkbaemnamul ihlphan ekhuxnsirinthr mabrrcbkbaemnamul thihnaekhuxnpakmul khwamsungodyechliykhxngphunthipraman 200 emtr cakradbnathael yxdekhathisungthisudkhux yxdekhabrrthd sungpraman 543 emtr sphaphpathwipepn paetngrng paaephahruxpaaedng camipadibechphaabriewnrimhwykhnadihyethann sphaphphunthiswnmakepnpaslbphlayhinthray aelahinsila swndinepndinlukrng dinbrbux aeladintakxn camithraypapnindinlksnaphumixakasdwyphunthixuthyanaehngchatiaekngtanaxyuinekhtmrsum sungmi 3 vdu dngni vdurxn caimrxncnekinip rahwangeduxnkumphaphnth phvsphakhm xunhphumipraman30 35 vduhnaw kimhnawcd rahwangeduxntulakhm mkrakhm xunhphumipraman 18 22 vdufn rahwangeduxnmithunayn knyayn xunhphumipraman 25 30 fnkhxnkhangtkchuk cungthaihnkthxngethiywniymekhaipethiywinchwngplayvdufnephraaxakascarmruneynsbay aelaphnthuimdxkkhunepncanwnmakthrphyakrpaimxuthyanaehngchatiaekngtana samarthsaaenkpraephthkhxngsngkhmphuchxxkidepn padibaelng padibaelnginbriewnxuthyanaehngchatimixyuephiyngelknxy praman 6 96 tarangkiolemtr hrux 8 354 epxresnt khxngphunthithnghmd odykhunpkkhlumxyuthangdanthistawnxxk khxngxuthyanaehngchatibriewnhwykradin aelahwyhweca pachnidnimilksnaokhrngsrangthangdantngprakxbdwyimthikhunxyu 4 chnradbdwykn odychnsungsud prakxbdwyimchnidtang thimikhwamsungtngaet 21 emtrkhunip idaek yangna taekhiynhin kabk aelachnidxun imchnklang sungmieruxnyxdpkkhlumtxenuxng prakxbdwyimkhnadklangthimikhwamsungtngaet 15 20 emtr imthiphbehnodythwip idaek tiw pradu aela makhaomng imchnlang prakxbdwyimkhnadelkthimikhwamsungrahwang 4 14 emtr chnidimthisakhy idaek ehmuxd tinnk aelahwa paetngrng paetngrnginbriewnxuthyanaehngchatipkkhlumepnbriewnkwang klawkhux khrxbkhlumenuxthi 69 97 tarangkiolemtr hruxpraman 84 epxresntkhxngphunthithnghmd odykhunpkkhlumphunthikhxngxuthyanaehngchatixyuthw ip okhrngsrangtamaenwding prakxbdwyimsamchn chnbnsud Upper Layer prakxbdwy imthimikhwamsungtngaet 16 emtrkhunip epnimkhnadihy latnkhxnkhangeplatrngkhunkracdkracayhang phnthuimthiphb idaek rkfa pradu imchnklang prakxbddwyimkhnadklangthimikhwamsungrahwang 15 20 emtr khunrwmknhnaaennkwachnidxun imthiednaelaphbehnthwip idaek etng rng phlwng aedng epntn swnimlang epnimkhnadelkthimikhwamsungtakwa 5 emtr lngma prakxbdwy rkthanng yxpa ehmuxd epntn swnimphunlang epnphwklukimtang prngpathrphyakrstwpastwpa thiphbinekhtxuthyanaehngchiaekngtana samarthcaaenkepn stweliynglukdwynanm swnihycaepnstwkhnadklangaelakhnadelkmixyuchukchumthangdanthistawnxxkkhxngxuthyanaehngchatibriewnethuxkekhabrrthd echn kwang hmihmahruxhmikhn xieknghruxfan hmupa krataypa stwcaphwkkrarxk kraaet twlin hrux nim stwcaphwk aemwpa khnadelk caphwk xiehn xikhlaychnid epntnstwpik cakkarsarwckhxngkhnaecahnathixuthyaaehngchatiaekngtana rwmkbmhawithyalymhidl sarwcebuxngtn phbnkinxuthyanaehngchatiaekngtana micanwn 48 chnid prakxbdwy ehyiywaedng nkkapudihy nkekhaomng nknangaexn nkaesngaeswhngxnkhn nkaesngaeswsietha nkkracidthrrmda nkkracidsikhla nkcbaemlnghwetha nkcbaemlngkhxaedng nkxumbatr nkedadinswn nkkinpli nkprxdthxng nkphyaifsikuhlab epntnstweluxykhlan thiphbodythwip takwd hrux aeln tukaek aey ngucngxang ngueha aelanguxun thngthimiphisaelaimmiphisxikhlaychnid tlxdcndphbphwk cingck cingehln aela kingka kathang kingka xikhlaychnid epntnstwsaethinnasaethinbk thiphbidaek kb khangkhk xungxang pad aelaekhiydhlaychnidaetyngmiidmikarsarwcaeckaecngchnidxyanglaexiydstwna caphwkpla enuxngcakxuthyanaehngchatiaekngtanamixanaekhttidtxkbaemnaihythung 2 say khuxaemnaokhngaelaaemnamul cungmiphnthplacananmakxasyxyu phbrwbrwmid 139 chnid cdxyuin 23 wngs 10 xndb epnwngsplataephiyn 68 chnid wngsplasway 10 chnid wngsplaenuxxxn 9 chnid wngsplakd 9 chnid aelawngsplaxunxik 43 chnid plaswnihyehmuxnkbplathimixyuinphakhxun echn plataephiynkhaw plakrasub plaethoph plakray playisk plakraoh plaokk aetmiplahlaychnidthiimphbinaehlngnaxun echn plahmakyang hrux plamngokry aela plabuk pladukmun plakang aelastwna thiepnstwthiphbinphunthi echn puphuekha kratam pusism epntnxangxing krmxuthyanaehngchati stwpa aelaphnthuphuch December 2020 khlngkhxmulekaekbcakaehlngedimemux 2022 11 03 subkhnemux 1 November 2022 no 33 a href wiki E0 B9 81 E0 B8 A1 E0 B9 88 E0 B9 81 E0 B8 9A E0 B8 9A Cite web title aemaebb Cite web cite web a CS1 maint postscript lingk krmxuthyanaehngchati stwpa aelaphnthuphuch khlngkhxmulekaekbcakaehlngedimemux 17 November 2015 subkhnemux 16 November 2015 Wikramanayake Eric D 2002 Terrestrial ecoregions of the Indo Pacific a conservation assessment Island Press ISBN 978 1 55963 923 1 subkhnemux October 1 2011 aehlngkhxmulxunxuthyanaehngchatiaekngtana krmxuthyanaehngchati stwpa aelaphnthuphuch bthkhwamxakhar hrux sthanthisakhyniyngepnokhrng khunsamarthchwywikiphiediyidodykarephimetimkhxmuldk