อาริสตาร์โคส (กรีก: Αρίσταρχος, arístarkhos, [a.rís.tar.kʰos], 310 BC – 230 BC) เป็นนักดาราศาสตร์และนักคณิตศาสตร์ ชาวกรีกโบราณ เกิดที่เมืองซาโมส ประเทศกรีซ เนื่องจากมีคนที่ชื่อเดียวกันนี้อยู่หลายคน จึงมักถูกเรียกว่า อาริสตาร์โคสแห่งซาโมส (Αρίσταρχος ὁ Σάμιος, arístarkhos ho Sámios) เพื่อแยกแยะจากบุคคลอื่นที่ชื่ออาริสตาร์โคสเหมือนกัน
อาริสตาร์โคส | |
---|---|
รูปปั้นของอาริสตาร์โคสที่ | |
เกิด | ป. 310 BC ซาโมส |
เสียชีวิต | c. 230 BC (อายุประมาณ 80) อะเล็กซานเดรีย,ราชอาณาจักรทอเลมี |
สัญชาติ | กรีก |
อาชีพ |
เขาเป็นคนแรกที่เสนอแนวคิดดวงอาทิตย์เป็นศูนย์กลาง ซึ่งอธิบายว่าดวงอาทิตย์เป็นศูนย์กลางของเอกภพ ไม่ใช่โลก ซึ่งเป็นสาเหตุที่บางครั้งเขาถูกเรียกว่า "นิโคเลาส์ โคเปอร์นิคัสแห่งยุคโบราณ" ทฤษฎีดาราศาสตร์ของเขาไม่ได้รับการยอมรับอย่างกว้างขวาง ทฤษฎีของเขาโดดเด่นสู้อริสโตเติลและปโตเลไมโอสไม่ได้ จนกระทั่งประมาณ 2,000 ปีต่อมา เมื่อนิโคเลาส์ โคเปอร์นิคัสสนับสนุนแนวคิดดวงอาทิตย์เป็นศูนย์กลางของเขาอีกครั้ง และนำไปสู่การพัฒนาต่อมา
ทฤษฎี
แนวคิดดวงอาทิตย์เป็นศูนย์กลาง
งานเดียวที่ยังหลงเหลืออยู่ของอาริสตาร์โคสคือ ''Περί μεγεθών και αποστημάτων Ηλίου και Σελήνης'' (ว่าด้วยขนาดและระยะทางของดวงอาทิตย์และดวงจันทร์) นั้นยืนพื้นจากแนวคิดโลกเป็นศูนย์กลาง อย่างไรก็ตาม เป็นที่ชัดเจนจากข้อความที่ยกมาในบันทึกว่าอาริสตาร์โคสได้เขียนหนังสืออีกเล่มหนึ่งซึ่งเขาเสนอสมมติฐานของแนวคิดดวงอาทิตย์เป็นศูนย์กลางขึ้นมาแทน งานนี้ได้ถูกรวมอยู่ในรวบรวมบทความของ เรื่อง "Μικρὸς Ἀστρονοµούµενος" (ดาราศาสตร์เล็ก) มีการแปลเป็นภาษาอาหรับในราวศตวรรษที่ 10 และการแปลเป็นภาษาละตินเผยแพร่ในราวศตวรรษที่ 15 ข้อความภาษากรีกตีพิมพ์ประมาณปี 1700 ฉบับแปลภาษาฝรั่งเศสและเยอรมันได้รับการตีพิมพ์ในราวปี ค.ศ. 1800
ความเข้าใจที่ว่าแนวคิดดวงอาทิตย์เป็นศูนย์กลางของอาริสตาร์โคสถูกคนสมัยนั้นมองว่าหมิ่นต่อพระเจ้านั้นเป็นเรื่องเข้าใจผิด นักประวัติศาสตร์วิทยาศาสตร์ชาวอิตาลี ได้อธิบายว่าความเข้าใจผิดนี้มาจากข้อความของปลูตาร์โคสในหนังสือของเขา
ขนาดของดวงจันทร์
อาริสตาร์โคสได้สังเกตเห็นดวงจันทร์ผ่านเงาของโลกในระหว่างเกิดจันทรุปราคา จากการสังเกตนี้ เขาประเมินว่าเส้นผ่านศูนย์กลางของโลกเป็นประมาณ 3 เท่าของดวงจันทร์ เอราโตสเทแนสซึ่งได้คำนวณเส้นรอบวงโลกได้ 252,000 สตาเดีย (บางคนว่าประมาณ 42,000 กม.) ได้ข้อสรุปว่าเส้นรอบวงของดวงจันทร์อยู่ที่ประมาณ 14,000 กม. อย่างไรก็ตาม เส้นรอบวงที่แท้จริงของดวงจันทร์อยู่ที่ประมาณ 10,916 กม.
อ้างอิง
- . World History. 8 September 2015. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 7 May 2018. สืบค้นเมื่อ 29 November 2018.
- (2013). The Forgotten Revolution: How Science Was Born in 300 BC and Why it Had to Be Reborn. แปลโดย Levy, Silvio. . p. 82, fn.106. ISBN . สืบค้นเมื่อ 13 June 2017.
- Plutarch. "De facie quae in orbe lunae apparet, Section 6". . Tufts University. สืบค้นเมื่อ 13 June 2017.
อ่านเพิ่มเติม
- T. L. Heath. Aristarchus of Samos - The Ancient Copernicus, A history of Greek astronomy to Aristarchus together with Aristarchus' treatise on the sizes and distances of the sun and moon, a new Greek text with translation and notes. ()
- A.C. Bowen and B.R. Goldstein, Aristarchus, Thales, and Heraclitus on solar eclipses, Physis Riv. Internaz. Storia Sci. (N.S.) 31 (3) (1994), 689-729.
- Owen Gingerich, Did Copernicus owe a debt to Aristarchus?, J. Hist. Astronom. 16 (1) (1985), 37-42.
- M. Milankovitch, Aristarchos und Apollonios. Das heliozentrische und das geozentrische Weltsystem des klassischen Altertums, Acad. Serbe. Sci.Publ. Inst. Math. 9 (1956), 79-92.
- Otto Neugebauer, Archimedes and Aristarchus, Isis 34 (1942), 4-6.
- R. von Erhardt and E von Erhardt-Siebold, Archimedes' Sand-Reckoner. Aristarchos and Copernicus, Isis 33 (1942), 578-602.
- E. Wall, Anatomy of a precursor: the historiography of Aristarchos of Samos, Studies in Hist. and Philos. Sci. 6 (3) (1975), 201-228.
- S.V. Zhitomirskii, The heliocentric hypothesis of Aristarchos of Samos and ancient cosmology (Russian), Istor.-Astronom. Issled. No. 18 (1986), 151-160.
- The Sand Reckoner 2007-08-11 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน(University of Waterloo, Faculty of Mathematics).
- 世界の名著 9巻 ギリシアの科学 中央公論社 1972年
wikipedia, แบบไทย, วิกิพีเดีย, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด, บทความ, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม, มือถือ, โทรศัพท์, Android, iOS, Apple, โทรศัพท์โมบิล, Samsung, iPhone, Xiomi, Xiaomi, Redmi, Honor, Oppo, Nokia, Sonya, MI, PC, พีซี, web, เว็บ, คอมพิวเตอร์
xaristarokhs krik Aristarxos aristarkhos a ris tar kʰos 310 BC 230 BC epnnkdarasastraelankkhnitsastr chawkrikobran ekidthiemuxngsaoms praethskris enuxngcakmikhnthichuxediywknnixyuhlaykhn cungmkthukeriykwa xaristarokhsaehngsaoms Aristarxos ὁ Samios aristarkhos ho Samios ephuxaeykaeyacakbukhkhlxunthichuxxaristarokhsehmuxnknxaristarokhsruppnkhxngxaristarokhsthiekidp 310 BC saomsesiychiwitc 230 BC xayupraman 80 xaelksanedriy rachxanackrthxelmisychatikrikxachiphnkkhnitsastrnkdarasastr ekhaepnkhnaerkthiesnxaenwkhiddwngxathityepnsunyklang sungxthibaywadwngxathityepnsunyklangkhxngexkphph imicholk sungepnsaehtuthibangkhrngekhathukeriykwa niokhelas okhepxrnikhsaehngyukhobran thvsdidarasastrkhxngekhaimidrbkaryxmrbxyangkwangkhwang thvsdikhxngekhaoddednsuxrisotetilaelapotelimoxsimid cnkrathngpraman 2 000 pitxma emuxniokhelas okhepxrnikhssnbsnunaenwkhiddwngxathityepnsunyklangkhxngekhaxikkhrng aelanaipsukarphthnatxmathvsdiaenwkhiddwngxathityepnsunyklang nganediywthiynghlngehluxxyukhxngxaristarokhskhux Peri mege8wn kai aposthmatwn Hlioy kai Selhnhs wadwykhnadaelarayathangkhxngdwngxathityaeladwngcnthr nnyunphuncakaenwkhidolkepnsunyklang xyangirktam epnthichdecncakkhxkhwamthiykmainbnthukwaxaristarokhsidekhiynhnngsuxxikelmhnungsungekhaesnxsmmtithankhxngaenwkhiddwngxathityepnsunyklangkhunmaaethn nganniidthukrwmxyuinrwbrwmbthkhwamkhxng eruxng Mikrὸs Ἀstronoµoyµenos darasastrelk mikaraeplepnphasaxahrbinrawstwrrsthi 10 aelakaraeplepnphasalatinephyaephrinrawstwrrsthi 15 khxkhwamphasakriktiphimphpramanpi 1700 chbbaeplphasafrngessaelaeyxrmnidrbkartiphimphinrawpi kh s 1800 khwamekhaicthiwaaenwkhiddwngxathityepnsunyklangkhxngxaristarokhsthukkhnsmynnmxngwahmintxphraecannepneruxngekhaicphid nkprawtisastrwithyasastrchawxitali idxthibaywakhwamekhaicphidnimacakkhxkhwamkhxngplutarokhsinhnngsuxkhxngekha khnadkhxngdwngcnthr xaristarokhsidsngektehndwngcnthrphanengakhxngolkinrahwangekidcnthruprakha cakkarsngektni ekhapraeminwaesnphansunyklangkhxngolkepnpraman 3 ethakhxngdwngcnthr exraotsethaenssungidkhanwnesnrxbwngolkid 252 000 staediy bangkhnwapraman 42 000 km idkhxsrupwaesnrxbwngkhxngdwngcnthrxyuthipraman 14 000 km xyangirktam esnrxbwngthiaethcringkhxngdwngcnthrxyuthipraman 10 916 km xangxing World History 8 September 2015 khlngkhxmulekaekbcakaehlngedimemux 7 May 2018 subkhnemux 29 November 2018 2013 The Forgotten Revolution How Science Was Born in 300 BC and Why it Had to Be Reborn aeplody Levy Silvio p 82 fn 106 ISBN 978 3642189043 subkhnemux 13 June 2017 Plutarch De facie quae in orbe lunae apparet Section 6 Tufts University subkhnemux 13 June 2017 xanephimetimT L Heath Aristarchus of Samos The Ancient Copernicus A history of Greek astronomy to Aristarchus together with Aristarchus treatise on the sizes and distances of the sun and moon a new Greek text with translation and notes A C Bowen and B R Goldstein Aristarchus Thales and Heraclitus on solar eclipses Physis Riv Internaz Storia Sci N S 31 3 1994 689 729 Owen Gingerich Did Copernicus owe a debt to Aristarchus J Hist Astronom 16 1 1985 37 42 M Milankovitch Aristarchos und Apollonios Das heliozentrische und das geozentrische Weltsystem des klassischen Altertums Acad Serbe Sci Publ Inst Math 9 1956 79 92 Otto Neugebauer Archimedes and Aristarchus Isis 34 1942 4 6 R von Erhardt and E von Erhardt Siebold Archimedes Sand Reckoner Aristarchos and Copernicus Isis 33 1942 578 602 E Wall Anatomy of a precursor the historiography of Aristarchos of Samos Studies in Hist and Philos Sci 6 3 1975 201 228 S V Zhitomirskii The heliocentric hypothesis of Aristarchos of Samos and ancient cosmology Russian Istor Astronom Issled No 18 1986 151 160 The Sand Reckoner 2007 08 11 thi ewyaebkaemchchin University of Waterloo Faculty of Mathematics 世界の名著 9巻 ギリシアの科学 中央公論社 1972年