บทความนี้ไม่มีจาก |
อักษรขอม พัฒนามาจากอักษรขอมโบราณ ซึ่งพัฒนามาจาก และอักษรปัลลวะอีกทีหนึ่ง เป็นตัวอักษรของราชวงศ์ปัลลวะในอินเดียใต้ ภายหลังได้มาติดต่อกับภูมิภาคอุษาคเนย์จึงได้ถ่ายทอดวัฒนธรรมซึ่งรวมถึงตัวอักษรปัลลวะไว้ให้กับกลุ่มคนที่อาศัยอยู่บริเวณนี้อีกด้วย อักษรปัลลวะเป็นที่นิยมอย่างแพร่หลายในภูมิภาคนี้ และมีวิวัฒนาการจากอักษรปัลลวะเป็นอักษรหลังปัลลวะ และแตกแขนงเป็นสองสาขาใหญ่ ๆ คืออักษรมอญโบราณ และอักษรขอมโบราณ
อักษรขอมโบราณใช้ในอาณาจักรต่างๆ สองฝั่งแม่น้ำโขงตั้งแต่สมัยก่อนเมืองพระนคร ต่อมาจึงกลายเป็นอักษรท้องถิ่นในสมัยพระนคร และเป็นต้นแบบของอักษรไทยและอักษรเขมรในปัจจุบัน
เอกลักษณ์ของอักษรขอม คือ เปลี่ยนบางอักษรของอักษรปัลลวะเป็นศกหรือหนามเตย อักษรนี้พัฒนาไป 2 ทิศทาง คือ เป็นอักษรขอมในประเทศไทย (ใช้เขียนภาษาไทย ภาษาบาลี ภาษาเขมร) และอักษรขอมในประเทศกัมพูชา (ใช้เขียนภาษาเขมร ภาษาบาลี)
อักษรขอมในประเทศไทย
พบหลักฐานการใช้อักษรขอมโบราณเขียน ภาษาสันสกฤต และภาษาเขมร ในบริเวณภาคอีสาน ภาคกลาง และภาคใต้ ของประเทศไทยปัจจุบัน ระหว่างพุทธศตวรรษที่ 14-16 แต่จะไม่พบเอกสารโบราณประเภทจารึกที่ใช้อักษรขอมโบราณ ในแถบภาคเหนือตั้งแต่จังหวัดตากขึ้นไป หลักฐานทำนองนี้รวมไปถึงโบราณสถาน ที่เรียกว่า ปราสาทหิน ปราสาทอิฐ และพระปรางค์แบบขอม หรือลพบุรีที่มีอยู่ทั่วไปในภาคอีสาน ภาคกลาง ภาคใต้ แต่ไม่เคยปรากฏอยู่ทางภาคเหนือ
ในประเทศไทย อักษรขอมถือเป็นอักษรศักดิ์สิทธิ์ ใช้ในงานด้านศาสนาเป็นส่วนใหญ่ อักษรขอมที่ใช้เขียนภาษาบาลีเรียก อักษรขอมบาลี ส่วนที่ใช้เขียนภาษาไทยเรียก อักษรขอมไทย ซึ่งมีอักขรวิธีต่างจากอักษรขอมกลุ่มอื่นๆ ต่อมา อักษรขอมไทยถูกแทนที่ด้วยอักษรไทย ส่วนอักษรขอมบาลียังคงใช้เขียนภาษาบาลีเรื่อยมา แม้จะมีการพัฒนาอักษรไทยและอักษรอริยกะมาเขียนภาษาบาลีก็ตาม อักษรขอมบาลีถูกยกเลิกไปในสมัย จอมพล ป. พิบูลสงคราม
รูปแบบ
รูปแบบของอักษรขอมในประเทศไทยทั้งขอมไทยและขอมบาลี แบ่งได้เป็น 3 แบบ คือ
- อักษรบรรจง เป็นรูปสี่เหลี่ยม ทรงมน ใช้เขียนคัมภีร์ทางศาสนา
- อักษรตัวเกษียณ เป็นตัวเฉียงทแยง เอียงขวา ใช้บันทึกคำอธิบาย หรือเขียนหวัด
- อักษรเฉียงขอมหรือเฉมเขม คล้ายอักษรเขมรแบบตัวเชรียง รูปสระและการประสมสระต่างไปจาก 2 แบบ ข้างต้น
อ้างอิง
- กรมศิลปากร, หอสมุดแห่งชาติ. (2529). จารึกในประเทศไทย เล่ม ๔ : อักษรขอม พุทธศตวรรษที่ ๑๗-๑๘. กรุงเทพฯ: ภาพพิมพ์. หน้า 13. ISBN
- ขอมอยู่ไหน? ไทยอยู่นั่น ขอมกับไทย ไม่พรากจากกัน ศิลปวัฒนธรรม สืบค้นเมื่อ 12 มิถุนายน 2566
ดูเพิ่ม
wikipedia, แบบไทย, วิกิพีเดีย, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด, บทความ, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม, มือถือ, โทรศัพท์, Android, iOS, Apple, โทรศัพท์โมบิล, Samsung, iPhone, Xiomi, Xiaomi, Redmi, Honor, Oppo, Nokia, Sonya, MI, PC, พีซี, web, เว็บ, คอมพิวเตอร์
bthkhwamniimmikarxangxingcakaehlngthimaidkrunachwyprbprungbthkhwamni odyephimkarxangxingaehlngthimathinaechuxthux enuxkhwamthiimmiaehlngthimaxacthukkhdkhanhruxlbxxk eriynruwacanasaraemaebbnixxkidxyangiraelaemuxir xksrkhxm phthnamacakxksrkhxmobran sungphthnamacak aelaxksrpllwaxikthihnung epntwxksrkhxngrachwngspllwainxinediyit phayhlngidmatidtxkbphumiphakhxusakhenycungidthaythxdwthnthrrmsungrwmthungtwxksrpllwaiwihkbklumkhnthixasyxyubriewnnixikdwy xksrpllwaepnthiniymxyangaephrhlayinphumiphakhni aelamiwiwthnakarcakxksrpllwaepnxksrhlngpllwa aelaaetkaekhnngepnsxngsakhaihy khuxxksrmxyobran aelaxksrkhxmobransilacarukxksrkhxmobran thiesainprasatholelyphrarachlyckrphrabrmrachoxngkarsahrbphimphhwkradasprakaskdhmaytang aebbthiichinchwngkxn ph s 2483 khxkhwaminaephraethbtxnlangsudepnxksrkhxmkhxkhwam ph rabrm mrachoxng kar xksrkhxmobranichinxanackrtang sxngfngaemnaokhngtngaetsmykxnemuxngphrankhr txmacungklayepnxksrthxngthininsmyphrankhr aelaepntnaebbkhxngxksrithyaelaxksrekhmrinpccubn exklksnkhxngxksrkhxm khux epliynbangxksrkhxngxksrpllwaepnskhruxhnamety xksrniphthnaip 2 thisthang khux epnxksrkhxminpraethsithy ichekhiynphasaithy phasabali phasaekhmr aelaxksrkhxminpraethskmphucha ichekhiynphasaekhmr phasabali xksrkhxminpraethsithyphbhlkthankarichxksrkhxmobranekhiyn phasasnskvt aelaphasaekhmr inbriewnphakhxisan phakhklang aelaphakhit khxngpraethsithypccubn rahwangphuththstwrrsthi 14 16 aetcaimphbexksarobranpraephthcarukthiichxksrkhxmobran inaethbphakhehnuxtngaetcnghwdtakkhunip hlkthanthanxngnirwmipthungobransthan thieriykwa prasathhin prasathxith aelaphraprangkhaebbkhxm hruxlphburithimixyuthwipinphakhxisan phakhklang phakhit aetimekhypraktxyuthangphakhehnux inpraethsithy xksrkhxmthuxepnxksrskdisiththi ichinngandansasnaepnswnihy xksrkhxmthiichekhiynphasabalieriyk xksrkhxmbali swnthiichekhiynphasaithyeriyk xksrkhxmithy sungmixkkhrwithitangcakxksrkhxmklumxun txma xksrkhxmithythukaethnthidwyxksrithy swnxksrkhxmbaliyngkhngichekhiynphasabalieruxyma aemcamikarphthnaxksrithyaelaxksrxriykamaekhiynphasabaliktam xksrkhxmbalithukykelikipinsmy cxmphl p phibulsngkhramrupaebbrupaebbkhxngxksrkhxminpraethsithythngkhxmithyaelakhxmbali aebngidepn 3 aebb khux xksrbrrcng epnrupsiehliym thrngmn ichekhiynkhmphirthangsasna xksrtweksiyn epntwechiyngthaeyng exiyngkhwa ichbnthukkhaxthibay hruxekhiynhwd xksrechiyngkhxmhruxechmekhm khlayxksrekhmraebbtwechriyng rupsraaelakarprasmsratangipcak 2 aebb khangtnxangxingkrmsilpakr hxsmudaehngchati 2529 carukinpraethsithy elm 4 xksrkhxm phuththstwrrsthi 17 18 krungethph phaphphimph hna 13 ISBN 974 7920 74 3 khxmxyuihn ithyxyunn khxmkbithy imphrakcakkn silpwthnthrrm subkhnemux 12 mithunayn 2566duephimxksrekhmr xksrkhxmithy