อักษรอริยกะ เป็นอักษรที่ใช้เขียนภาษาบาลีในประเทศไทย พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวทรงประดิษฐ์ขึ้นขณะผนวชในราว พ.ศ. 2390 มีสัณฐานคล้ายอักษรโรมัน อักษรนี้ใช้เขียนภาษาไทยไม่ได้เนื่องจากขาดสระและพยัญชนะหลายตัว และความที่อักษรดังกล่าวมีลักษณะรูปร่างและการเขียนต่างจากอักษรไทยและขอมมาก จึงทำให้มิได้รับความนิยมจนเลิกใช้ในที่สุด
อักษรอริยกะ | |
---|---|
ภิกขุปาติโมกข์ เขียนด้วยอักษรอริยกะแบบบรรจง | |
ชนิด | |
ผู้ประดิษฐ์ | พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว |
ช่วงยุค | ราว พ.ศ. 2390–2411 |
ทิศทาง | ซ้ายไปขวา |
ภาษาพูด | บาลี |
ประวัติ
พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวทรงประดิษฐ์อักษรอริยกะในขึ้นราว พ.ศ. 2390 ขณะผนวชเป็นพระวชิรญาณภิกขุ เพราะทรงเห็นว่าเมื่อเขียนภาษาบาลีมาแต่เดิมนั้นใช้อักษรขอม จนทำให้อักษรขอมกลายเป็นของขลังไป เหตุนี้จึงทรงให้สมเด็จพระอริยวงศาคตญาณ สมเด็จพระสังฆราช (สา ปุสฺสเทโว) คิดวิธีเขียนอักษรไทยให้ใช้เขียนภาษาบาลีได้เช่นอักษรขอม ส่วนพระองค์เองได้ประดิษฐ์อักษรชุดใหม่เรียกว่า "อักษรอริยกะ" มีความหมายว่า "อักษรของผู้เป็นอารยชน" สัณฐานอักษรมีเค้าอักษรโรมัน กล่าวคือ เป็นการกลับหน้ากลับหลังอักษรโรมัน หรือใช้เส้นประดิษฐ์อักษรเพิ่มเติมอักษรโรมัน พยัญชนะและสระอยู่ในบรรทัดเดียวกันต่างจากอักษรไทยและขอมที่มีสระอยู่บนและล่างพยัญชนะ จุดประสงค์ก็เพื่อความสะดวกแก่การเขียนและพิมพ์
มีการทดลองใช้ในกลุ่มพระสงฆ์ธรรมยุติกนิกายเฉพาะในวัดบวรนิเวศราชวรวิหาร แต่ไม่สู้แพร่หลายนัก เมื่อมิได้รับความนิยม อักษรนี้ก็เป็นอันยกเลิกไป มีบันทึกเพียงว่ามีการใช้อักษรอริยกะในการตีพิมพ์หนังสือปาฏิโมกข์และหนังสืออื่น ๆ บ้าง นอกจากนี้ยังมีจารึกอักษรอริยกะที่วัดราชประดิษฐสถิตมหาสีมารามราชวรวิหารอีกแห่งหนึ่ง
ปัจจุบันมีการศึกษาอักษรอริยกะในมหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย แต่มีปัญหาเรื่องการตีพิมพ์ตำราและข้อสอบเพราะไม่มีชุดแบบอักษร
ลักษณะ
อักษรอริยกะมีพยัญชนะ 33 ตัว และสระ 8 ตัวเท่าภาษาบาลี แบ่งอักษรเป็นสองกลุ่มคือ อริยกะตัวพิมพ์ และอริยกะตัวเขียน เหมือนอักษรโรมัน และมีอักขรวิธีดังนี้
- สระวางไว้หลังพยัญชนะต้น
- ถ้าเสียงสระอยู่หน้าคำ ใช้สระเขียนได้
- หากพยัญชนะไม่มีสระตามหลังแสดงว่าเป็นตัวสะกด
- หากคำใดเป็นเสียงนิคหิต จะใช้ทั้งสระอะ และตามด้วยนิคหิต
อ้างอิง
- นิตยา กาญจนะวรรณ, รศ. ดร. "อักษรอริยกะ (๑)". ราชบัณฑิตยสถาน. สืบค้นเมื่อ 4 เมษายน 2558.
{{}}
: ตรวจสอบค่าวันที่ใน:|accessdate=
((help)) - น้าชาติ ประชาชื่น (22 ธันวาคม พ.ศ. 2547). . ข่าวสดออนไลน์. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2016-03-04. สืบค้นเมื่อ 4 เมษายน 2558.
{{}}
: ตรวจสอบค่าวันที่ใน:|accessdate=
และ|date=
((help)) - ธวัช ปุณโณทก. อักษรไทยโบราณ ลายสือไทย และวิวัฒนาการของชนชาติไทย. กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2549, หน้า 120-121
- . Exteen. 19 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2552. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2015-07-05. สืบค้นเมื่อ 4 เมษายน 2558.
{{}}
: ตรวจสอบค่าวันที่ใน:|accessdate=
และ|date=
((help))
แหล่งข้อมูลอื่น
wikipedia, แบบไทย, วิกิพีเดีย, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด, บทความ, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม, มือถือ, โทรศัพท์, Android, iOS, Apple, โทรศัพท์โมบิล, Samsung, iPhone, Xiomi, Xiaomi, Redmi, Honor, Oppo, Nokia, Sonya, MI, PC, พีซี, web, เว็บ, คอมพิวเตอร์
xksrxriyka epnxksrthiichekhiynphasabaliinpraethsithy phrabathsmedcphracxmeklaecaxyuhwthrngpradisthkhunkhnaphnwchinraw ph s 2390 misnthankhlayxksrormn xksrniichekhiynphasaithyimidenuxngcakkhadsraaelaphyychnahlaytw aelakhwamthixksrdngklawmilksnaruprangaelakarekhiyntangcakxksrithyaelakhxmmak cungthaihmiidrbkhwamniymcnelikichinthisudxksrxriykaphikkhupatiomkkh ekhiyndwyxksrxriykaaebbbrrcngchnidxksrsraprakxbphupradisthphrabathsmedcphracxmeklaecaxyuhwchwngyukhraw ph s 2390 2411thisthangsayipkhwaphasaphudbali bthkhwamniprakxbdwyinsthxksrsakl IPA sahrbkhaaenanaebuxngtnekiywkbsylksn IPA oprddu sahrbkhwamaetktangrahwang aela duthi sthxksrsakl wngelbehliymaelathbtrahxphrasmudwchiryanekhiyndwyxksrxriykaprawtiphrabathsmedcphracxmeklaecaxyuhwthrngpradisthxksrxriykainkhunraw ph s 2390 khnaphnwchepnphrawchiryanphikkhu ephraathrngehnwaemuxekhiynphasabalimaaetedimnnichxksrkhxm cnthaihxksrkhxmklayepnkhxngkhlngip ehtunicungthrngihsmedcphraxriywngsakhtyan smedcphrasngkhrach sa pus sethow khidwithiekhiynxksrithyihichekhiynphasabaliidechnxksrkhxm swnphraxngkhexngidpradisthxksrchudihmeriykwa xksrxriyka mikhwamhmaywa xksrkhxngphuepnxarychn snthanxksrmiekhaxksrormn klawkhux epnkarklbhnaklbhlngxksrormn hruxichesnpradisthxksrephimetimxksrormn phyychnaaelasraxyuinbrrthdediywkntangcakxksrithyaelakhxmthimisraxyubnaelalangphyychna cudprasngkhkephuxkhwamsadwkaekkarekhiynaelaphimph mikarthdlxngichinklumphrasngkhthrrmyutiknikayechphaainwdbwrniewsrachwrwihar aetimsuaephrhlaynk emuxmiidrbkhwamniym xksrnikepnxnykelikip mibnthukephiyngwamikarichxksrxriykainkartiphimphhnngsuxpatiomkkhaelahnngsuxxun bang nxkcakniyngmicarukxksrxriykathiwdrachpradisthsthitmhasimaramrachwrwiharxikaehnghnung pccubnmikarsuksaxksrxriykainmhawithyalymhamkutrachwithyaly aetmipyhaeruxngkartiphimphtaraaelakhxsxbephraaimmichudaebbxksrlksnaxksrxriykamiphyychna 33 tw aelasra 8 twethaphasabali aebngxksrepnsxngklumkhux xriykatwphimph aelaxriykatwekhiyn ehmuxnxksrormn aelamixkkhrwithidngni srawangiwhlngphyychnatn thaesiyngsraxyuhnakha ichsraekhiynid hakphyychnaimmisratamhlngaesdngwaepntwsakd hakkhaidepnesiyngnikhhit caichthngsraxa aelatamdwynikhhitxangxingnitya kaycnawrrn rs dr xksrxriyka 1 rachbnthitysthan subkhnemux 4 emsayn 2558 a href wiki E0 B9 81 E0 B8 A1 E0 B9 88 E0 B9 81 E0 B8 9A E0 B8 9A Cite web title aemaebb Cite web cite web a trwcsxbkhawnthiin accessdate help nachati prachachun 22 thnwakhm ph s 2547 khawsdxxniln khlngkhxmulekaekbcakaehlngedimemux 2016 03 04 subkhnemux 4 emsayn 2558 a href wiki E0 B9 81 E0 B8 A1 E0 B9 88 E0 B9 81 E0 B8 9A E0 B8 9A Cite web title aemaebb Cite web cite web a trwcsxbkhawnthiin accessdate aela date help thwch punonthk xksrithyobran laysuxithy aelawiwthnakarkhxngchnchatiithy krungethph orngphimphculalngkrnmhawithyaly 2549 hna 120 121 Exteen 19 kumphaphnth ph s 2552 khlngkhxmulekaekbcakaehlngedimemux 2015 07 05 subkhnemux 4 emsayn 2558 a href wiki E0 B9 81 E0 B8 A1 E0 B9 88 E0 B9 81 E0 B8 9A E0 B8 9A Cite web title aemaebb Cite web cite web a trwcsxbkhawnthiin accessdate aela date help aehlngkhxmulxunwikimiediykhxmmxnsmisuxthiekiywkhxngkb xksrxriyka