ในทฤษฎีอะตอมและกลศาสตร์ควอนตัม ออร์บิทัลเชิงอะตอม (Atomic orbitals) เป็นฟังก์ชันที่สามารถอธิบายตำแหน่งและพฤติกรรมคล้ายคลื่นของอิเล็กตรอนในอะตอม ฟังก์ชันนี้สามารถใช้ในการคำนวณความน่าจะเป็นที่จะพบอิเล็กตรอนใดๆ ของอะตอมในบริเวณรอบนิวเคลียสของอะตอม คำว่าออร์บิทัลเชิงอะตอมยังอาจหมายถึงบริเวณหรือช่องว่างทางกายภาพที่สามารถคำนวณได้ว่าอิเล็กตรอนมีอยู่ ตามที่คำนวณไว้โดยรูปแบบทางคณิตศาสตร์เฉพาะของออร์บิทัล
แต่ละออร์บิทัลในอะตอมมีลักษณะเฉพาะด้วยชุดค่าของเลขควอนตัมสามชุด คือ n ℓ และ mℓ ซึ่งสอดคล้องกับพลังงานของอิเล็กตรอนและโมเมนตัมเชิงมุมตามลำดับ แทนที่จะใช้เลขควอนตัมแม่เหล็ก ออร์บิทัลมักถูกระบุด้วยพหุนามฮาร์โมนิก (เช่น xy, x2 − y2) และแต่ละออร์บิทัลสามารถบรรจุอิเล็กตรอนได้สูงสุดสองตัว โดยแต่ละตัวจะมีเลขควอนตัมของสปินเป็นค่าเฉพาะ ส่วนสัญลักษณ์ s orbital, p orbital, d orbital, และ f orbital แสดงถึงออร์บิทัลซึ่งขึ้นอยู่กับเลขควอนตัมโมเมนตัมเชิงมุม ℓ = 0, 1, 2, และ 3 ตามลำดับ. ชื่อเหล่านี้พร้อมกับค่าของ n, aใช้เพื่ออธิบายโครงร่างอิเล็กตรอนของอะตอม พวกมันได้มาจากคำอธิบายโดยนักสเปกโทรสโกปีในยุคแรกๆ ของเส้นสเปกโทรสโกปีของโลหะอัลคาไลบางชุดว่ามีความ , , และ . ออร์บิทัลที่มีค่า ℓ > 3 จะใช้เป็นตัวอักษรที่ต่อเนื่องจาก f ไปเรื่อย ๆ (g, h, i, k, ...), โดยละเว้น j เนื่องจากบางภาษาไม่แยกความแตกต่างระหว่างตัวอักษร "i" และ "j"
ออร์บิทัลเชิงอะตอมเป็นองค์ประกอบพื้นฐานของแบบจำลองของอะตอมเชิงออร์บิทัล (กลุ่มหมอกอิเล็กตรอนหรือแบบจำลองกลศาสตร์ของคลื่น) ซึ่งเป็นวิธีคิดที่ทันสมัยสำหรับการแสดงพฤติกรรมของอิเล็กตรอนในสสาร ในแบบจำลองนี้ กลุ่มหมอกอิเล็กตรอนของอะตอมอาจถูกมองว่าสร้างขึ้นจากการจัดเรียงอิเล็กตรอนที่เป็นผลมาจากออร์บิทัลของอะตอม ส่วนคาบซ้ำของหมู่ธาตุ 2, 6, 10 และ 14 ภายในตารางธาตุเกิดขึ้นจากจำนวนอิเล็กตรอนทั้งหมดที่บรรจุเต็มในออร์บิทัล s, p, d และ f ตามลำดับ พลังงานของออร์บิทัลบางชนิดจะใกล้เคียงกันมาก ดังนั้นลำดับในการเติมอิเล็กตรอนในออร์บิทัล ไม่ขึ้นอยู่กับเลขควอมตัม n (เช่น Cr = [Ar] 4s1 3d5 และ Cr2+ = [Ar] 3d4) ที่มีการเติมอิเล็กตรอนใน 4s ก่อน 3d แต่เมื่ออะตอมมีประจุบวก จะดึงอิเล็กตรอนออกจาก 4s ก่อน เนื่องจากอยู่ในระดับชั้นพลังงานที่สูงกว่า
คุณสมบัติของอิเล็กตรอน
ด้วยการพัฒนากลศาสตร์ควอนตัมและการค้นพบจากการทดลอง (เช่น การเลี้ยวเบนของอิเล็กตรอนแบบสลิตสองช่อง) พบว่าอิเล็กตรอนที่โคจรรอบนิวเคลียสไม่สามารถอธิบายได้แน่ชัดว่าเป็นอนุภาค แต่จำเป็นต้องอธิบายด้วยทวิภาคของคลื่น–อนุภาค ซึ่งอธิบายได้ดังนี้
คุณสมบัติคล้ายคลื่น:
- อิเล็กตรอนไม่ได้โคจรรอบนิวเคลียสในลักษณะของดาวเคราะห์ที่โคจรรอบดวงอาทิตย์ แต่มีอยู่ในรูปของคลื่นนิ่ง ดังนั้นพลังงานที่ต่ำที่สุดเท่าที่จะเป็นไปได้ที่อิเล็กตรอนสามารถรับได้จะคล้ายกับความถี่มูลฐานของคลื่นบนเส้นเชือก ส่วนสถานะพลังงานที่สูงขึ้นจะเป็นลักษณะฮาร์มอนิกของความถี่มูลฐานนั้น
- อิเล็กตรอนไม่อยู่ในตำแหน่งที่แน่นอน แม้ว่าความน่าจะเป็นจากอิเล็กตรอนเพียงหนึ่งตัวสามารถพบได้จากฟังก์ชันคลื่นของอิเล็กตรอน แต่ประจุของอิเล็กตรอนจะถูกกระจายออกไปในโดยกระจายอย่างต่อเนื่อง เป็นสัดส่วน ณ จุดใดๆ เทียบกับขนาดกำลังสองของฟังก์ชันคลื่นของอิเล็กตรอน
คุณสมบัติคล้ายอนุภาค:
- จำนวนอิเล็กตรอนที่โคจรรอบนิวเคลียสสามารถเป็นจำนวนเต็มได้เท่านั้น
- อิเล็กตรอนสามารถเคลื่อนที่ระหว่างระดับชั้นพลังงานเหมือนอนุภาค ตัวอย่างเช่น ถ้าโฟตอนหนึ่งตัวกระทบกับอิเล็กตรอน ผลที่ตามมาคืออิเล็กตรอนเพียงตัวเดียวจะเปลี่ยนเป็นสถานะกระตุ้น
- อิเล็กตรอนยังคงคุณสมบัติคล้ายอนุภาค เช่น แต่ละสถานะของคลื่นมีประจุไฟฟ้าเท่ากับอิเล็กตรอน แต่ละสถานะของคลื่นจะมีการหมุนแบบไม่ต่อเนื่องเพียงครั้งเดียว (หมุนขึ้นหรือหมุนลง) ซึ่งขึ้นอยู่กับ
ดังนั้น อิเล็กตรอนจึงไม่สามารถอธิบายง่ายๆ ได้ว่าเป็นอนุภาค แต่อาจเป็นกลุ่มหมอกขนาดใหญ่และมักมีรูปร่างแปลกประหลาด กระจายอยู่รอบๆ นิวเคลียส ออร์บิทัลเชิงอะตอมจะอธิบายรูปร่างของกลุ่มหมอกนี้ได้ก็ต่อเมื่อมีอิเล็กตรอนอยู่ตัวเดียว เมื่อมีการเพิ่มอิเล็กตรอนมากขึ้น อิเล็กตรอนเพิ่มเติมมีแนวโน้มที่จะเติมเต็มปริมาตรของพื้นที่รอบนิวเคลียสให้เท่าๆ กันมากขึ้น เพื่อให้กลุ่มหมอกที่ได้มีแนวโน้มไปทางทรงกลม จากหลักความไม่แน่นอนที่ใช้อธิบายตำแหน่งของอิเล็กตรอนได้
คำนิยามควอนตัมเชิงกลอย่างเป็นทางการ
ออร์บิทัลของอะตอมอาจกำหนดได้แม่นยำกว่าในภาษาควอนตัมเชิงกลที่เป็นทางการ ซึ่งเป็นคำตอบโดยประมาณของสมการชโรดิงเงอร์สำหรับอิเล็กตรอนที่จับกับอะตอมด้วยสนามไฟฟ้าของนิวเคลียสในอะตอม โดยเฉพาะอย่างยิ่ง ในกลศาสตร์ควอนตัม สถานะของอะตอมจะถูกประมาณจากชุดค่าผสมเชิงเส้นของผลเฉลยจากหนึ่งฟังก์ชันของอิเล็กตรอน ส่วนประกอบเชิงพื้นที่ของฟังก์ชันอิเล็กตรอนเดี่ยวเหล่านี้เรียกว่าออร์บิทัลของอะตอม (เมื่อพิจารณาส่วนประกอบของสปินด้วย จะสามารถอธิบายได้ถึงวงโคจรของอะตอม) ดังนั้นการเคลื่อนที่ของอิเล็กตรอนจึงสัมพันธ์กัน แต่มักจะประมาณโดยแบบจำลองอนุภาคอิสระของผลเฉลยของฟังก์ชันคลื่นอิเล็กตรอน (ตัวอย่างเช่น แรงกระจายของลอนดอน ขึ้นอยู่กับความสัมพันธ์ของการเคลื่อนที่ของอิเล็กตรอน)
ในฟิสิกส์อะตอม เส้นสเปกตรัมของอะตอมสอดคล้องกับการเปลี่ยนผ่านระหว่างสถานะควอนตัมของอะตอม สถานะเหล่านี้ถูกระบุด้วยชุดของเลขควอนตัมที่สรุปไว้ในสัญลักษณ์ของคำศัพท์ และมักจะเกี่ยวข้องกับการกำหนดค่าอิเล็กตรอนเฉพาะ (เช่น 1s2 2s2 2p6 สำหรับสถานะพื้นของสัญลักษณ์นีออน: 1S0) .
สัญกรณ์นี้หมายความว่าที่สอดคล้องกันนั้นมีน้ำหนักที่สูงกว่าใน configuration interaction expansion แนวคิดเกี่ยวกับวงโคจรของอะตอมจึงเป็นแนวคิดหลักในการแสดงภาพกระบวนการกระตุ้นที่เกี่ยวข้องกับการเปลี่ยนแปลงที่กำหนด ตัวอย่างเช่น เราสามารถบอกได้ว่าการเปลี่ยนผ่านเฉพาะนั้นสอดคล้องกับการกระตุ้นของอิเล็กตรอนจากออร์บิทัลที่มีอิเล็กตรอนไปยังอีกออร์บิทัลหนึ่งที่ว่างอยู่ แต่สิ่งสำคัญคือต้องจำไว้ว่าอิเล็กตรอนเป็นเฟอร์มิออนและอยู่ภายใต้หลักการกีดกันของเพาลี อิเล็กตรอนจึงไม่สามารถแยกความแตกต่างจากกันได้ ยิ่งกว่านั้น บางครั้งมันเกิดขึ้นที่ configuration interaction expansion เกิดช้ามากและเราไม่สามารถพูดถึงฟังก์ชันคลื่นเพียงหนึ่งตัวได้ เพราะมันเป็นความสัมพันธ์ของอิเล็กตรอนที่มีขนาดใหญ่
โดยพื้นฐานแล้ว ออร์บิทัลเชิงอะตอมเป็นฟังก์ชันคลื่นที่มีอิเล็กตรอนหนึ่งตัว แม้ว่าอะตอมส่วนใหญ่มีอิเล็กตรอนหลายตัว ดังนั้นมุมมองของอิเล็กตรอนหนึ่งตัวจึงเป็นค่าประมาณ และเมื่อนึกถึงออร์บิทัล ส่วนใหญ่เราจะได้รับข้อมูลจาก ซึ่งเป็นวิธีหนึ่งที่ช่วยลดความซับซ้อนของทฤษฎีออร์บิทัลเชิงโมเลกุล
ชนิดของออร์บิทัล
ออร์บิทัลเชิงอะตอมเป็นออร์บิทัลคล้ายไฮโดรเจน (The hydrogen-like orbitals) ซึ่งเป็นคำตอบที่ถูกต้องของสมการชโรดิงเงอร์สำหรับอะตอมที่คล้ายไฮโดรเจน (เช่น อะตอมที่มีอิเล็กตรอน 1 ตัว) อีกทางหนึ่ง ออร์บิทัลของอะตอมหมายถึงฟังก์ชันที่ขึ้นอยู่กับพิกัดของอิเล็กตรอนหนึ่งตัว แต่ใช้เป็นจุดเริ่มต้นสำหรับการประมาณฟังก์ชันคลื่นที่ขึ้นอยู่กับ simultaneous coordinates ของอิเล็กตรอนทั้งหมดในอะตอมหรือโมเลกุล ระบบพิกัดที่เลือกสำหรับออร์บิทัลมักจะเป็นระบบพิกัดเชิงขั้ว (r, θ, φ) ในอะตอม และระบบพิกัดคาร์ทีเซียน (x, y, z) ในโมเลกุลที่มีหลายอะตอม ข้อได้เปรียบของพิกัดเชิงขั้วในที่นี้คือฟังก์ชันคลื่นโคจรเป็นผลคูณของสามตัวแปรที่แต่ละส่วนขึ้นอยู่กับพิกัดเดียว: ψ(r, θ, φ) = R(r) Θ(θ) Φ(φ) ส่วนเชิงมุมของออร์บิทัลเชิงอะตอม Θ(θ) Φ(φ) สามารถบอกรูปร่างออร์บิทัลได้ และทำหน้าที่เป็นหนึ่งในชุดตัวแปรของฮาร์มอนิกทรงกลม Yℓm(θ, φ) (โดยที่ ℓ และ m เป็นเลขควอนตัม) และสำหรับส่วนเชิงรัศมี R(r) สามารถบอกขนาดออร์บิทัลได้ และเป็นจุดเริ่มต้นสำหรับการคำนวณคุณสมบัติของอะตอมและโมเลกุลที่มีอิเล็กตรอนจำนวนมากได้:
- ออร์บิทัลคล้ายไฮโดรเจนได้มาจากผลเฉลยของสมการชโรดิงเงอร์สำหรับอิเล็กตรอน 1 ตัวและนิวเคลียสสำหรับอะตอมคล้ายไฮโดรเจน ส่วนของฟังก์ชันที่ขึ้นอยู่กับระยะทาง r จากนิวเคลียสจะมี radial node และสลายเป็น
- ออร์บิทัลชนิดสเลเตอร์ (The Slater-type orbital: STO) เป็นรูปแบบที่ไม่มี radial node แต่แยกตัวออกจากนิวเคลียส เช่นเดียวกับออร์บิทัลที่มีลักษณะคล้ายไฮโดรเจน
- รูปแบบของออร์บิทัลแบบเกาส์เซียน (Gaussians) ไม่มีโหนดในแนวรัศมีและแยกออกเป็น
แม้ว่าออร์บิทัลคล้ายไฮโดรเจนยังคงใช้เป็นเครื่องมือในการสอน แต่การกำเนิดของคอมพิวเตอร์ทำให้ STO เป็นที่นิยมมากกว่าสำหรับอะตอมและโมเลกุลไดอะตอมมิก เนื่องจากการรวมกันของ STO สามารถแทนที่โหนดในออร์บิทัลคล้ายไฮโดรเจนได้ Gaussians มักใช้ในโมเลกุลที่มีอะตอมตั้งแต่สามอะตอมขึ้นไป แม้ว่าตัวเองจะไม่แม่นยำเท่า STO แต่การรวมกันของเกาส์เซียนจำนวนมากสามารถบรรลุความแม่นยำของออร์บิทัลคล้ายไฮโดรเจนได้
อ้างอิง
wikipedia, แบบไทย, วิกิพีเดีย, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด, บทความ, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม, มือถือ, โทรศัพท์, Android, iOS, Apple, โทรศัพท์โมบิล, Samsung, iPhone, Xiomi, Xiaomi, Redmi, Honor, Oppo, Nokia, Sonya, MI, PC, พีซี, web, เว็บ, คอมพิวเตอร์
inthvsdixatxmaelaklsastrkhwxntm xxrbithlechingxatxm Atomic orbitals epnfngkchnthisamarthxthibaytaaehnngaelaphvtikrrmkhlaykhlunkhxngxielktrxninxatxm fngkchnnisamarthichinkarkhanwnkhwamnacaepnthicaphbxielktrxnid khxngxatxminbriewnrxbniwekhliyskhxngxatxm khawaxxrbithlechingxatxmyngxachmaythungbriewnhruxchxngwangthangkayphaphthisamarthkhanwnidwaxielktrxnmixyu tamthikhanwniwodyrupaebbthangkhnitsastrechphaakhxngxxrbithlruprangkhxngxxrbithl 5 radbphlngnganaerk 1s 2s 2px 2py and 2pz odysikhxngxxrbithlthngsxngaesdng phase thiaetktanginaetlaswn odyepnkaraesdngfngkchn ps x y z sungkhunxyukbxielktrxnhnungtw aetlaxxrbithlinxatxmmilksnaechphaadwychudkhakhxngelkhkhwxntmsamchud khux n ℓ aela mℓ sungsxdkhlxngkbphlngngankhxngxielktrxnaelaomemntmechingmumtamladb aethnthicaichelkhkhwxntmaemehlk xxrbithlmkthukrabudwyphhunamharomnik echn xy x2 y2 aelaaetlaxxrbithlsamarthbrrcuxielktrxnidsungsudsxngtw odyaetlatwcamielkhkhwxntmkhxngspinepnkhaechphaa ms displaystyle m s swnsylksn s orbital p orbital d orbital aela f orbital aesdngthungxxrbithlsungkhunxyukbelkhkhwxntmomemntmechingmum ℓ 0 1 2 aela 3 tamladb chuxehlaniphrxmkbkhakhxng n aichephuxxthibayokhrngrangxielktrxnkhxngxatxm phwkmnidmacakkhaxthibayodynksepkothrsokpiinyukhaerk khxngesnsepkothrsokpikhxngolhaxlkhailbangchudwamikhwam aela xxrbithlthimikha ℓ gt 3 caichepntwxksrthitxenuxngcak f iperuxy g h i k odylaewn j enuxngcakbangphasaimaeykkhwamaetktangrahwangtwxksr i aela j xxrbithlechingxatxmepnxngkhprakxbphunthankhxngaebbcalxngkhxngxatxmechingxxrbithl klumhmxkxielktrxnhruxaebbcalxngklsastrkhxngkhlun sungepnwithikhidthithnsmysahrbkaraesdngphvtikrrmkhxngxielktrxninssar inaebbcalxngni klumhmxkxielktrxnkhxngxatxmxacthukmxngwasrangkhuncakkarcderiyngxielktrxnthiepnphlmacakxxrbithlkhxngxatxm swnkhabsakhxnghmuthatu 2 6 10 aela 14 phayintarangthatuekidkhuncakcanwnxielktrxnthnghmdthibrrcuetminxxrbithl s p d aela f tamladb phlngngankhxngxxrbithlbangchnidcaiklekhiyngknmak dngnnladbinkaretimxielktrxninxxrbithl imkhunxyukbelkhkhwxmtm n echn Cr Ar 4s1 3d5 aela Cr2 Ar 3d4 thimikaretimxielktrxnin 4s kxn 3d aetemuxxatxmmipracubwk cadungxielktrxnxxkcak 4s kxn enuxngcakxyuinradbchnphlngnganthisungkwa wngokhcrkhxngxatxmkhxngxielktrxninxatxmkhxngihodrecnthiradbphlngngantangkn khwamnacaepninkarphbxielktrxnthukkahndodysi dngthiaesdngepnaethbefsdankhwabnkhunsmbtikhxngxielktrxndwykarphthnaklsastrkhwxntmaelakarkhnphbcakkarthdlxng echn kareliywebnkhxngxielktrxnaebbslitsxngchxng phbwaxielktrxnthiokhcrrxbniwekhliysimsamarthxthibayidaenchdwaepnxnuphakh aetcaepntxngxthibaydwythwiphakhkhxngkhlun xnuphakh sungxthibayiddngni khunsmbtikhlaykhlun xielktrxnimidokhcrrxbniwekhliysinlksnakhxngdawekhraahthiokhcrrxbdwngxathity aetmixyuinrupkhxngkhlunning dngnnphlngnganthitathisudethathicaepnipidthixielktrxnsamarthrbidcakhlaykbkhwamthimulthankhxngkhlunbnesnechuxk swnsthanaphlngnganthisungkhuncaepnlksnaharmxnikkhxngkhwamthimulthannn xielktrxnimxyuintaaehnngthiaennxn aemwakhwamnacaepncakxielktrxnephiynghnungtwsamarthphbidcakfngkchnkhlunkhxngxielktrxn aetpracukhxngxielktrxncathukkracayxxkipinodykracayxyangtxenuxng epnsdswn n cudid ethiybkbkhnadkalngsxngkhxngfngkchnkhlunkhxngxielktrxn khunsmbtikhlayxnuphakh canwnxielktrxnthiokhcrrxbniwekhliyssamarthepncanwnetmidethann xielktrxnsamarthekhluxnthirahwangradbchnphlngnganehmuxnxnuphakh twxyangechn thaoftxnhnungtwkrathbkbxielktrxn phlthitammakhuxxielktrxnephiyngtwediywcaepliynepnsthanakratun xielktrxnyngkhngkhunsmbtikhlayxnuphakh echn aetlasthanakhxngkhlunmipracuiffaethakbxielktrxn aetlasthanakhxngkhluncamikarhmunaebbimtxenuxngephiyngkhrngediyw hmunkhunhruxhmunlng sungkhunxyukb dngnn xielktrxncungimsamarthxthibayngay idwaepnxnuphakh aetxacepnklumhmxkkhnadihyaelamkmiruprangaeplkprahlad kracayxyurxb niwekhliys xxrbithlechingxatxmcaxthibayruprangkhxngklumhmxkniidktxemuxmixielktrxnxyutwediyw emuxmikarephimxielktrxnmakkhun xielktrxnephimetimmiaenwonmthicaetimetmprimatrkhxngphunthirxbniwekhliysihetha knmakkhun ephuxihklumhmxkthiidmiaenwonmipthangthrngklm cakhlkkhwamimaennxnthiichxthibaytaaehnngkhxngxielktrxnidkhaniyamkhwxntmechingklxyangepnthangkarxxrbithlkhxngxatxmxackahndidaemnyakwainphasakhwxntmechingklthiepnthangkar sungepnkhatxbodypramankhxngsmkarchordingengxrsahrbxielktrxnthicbkbxatxmdwysnamiffakhxngniwekhliysinxatxm odyechphaaxyangying inklsastrkhwxntm sthanakhxngxatxmcathukpramancakchudkhaphsmechingesnkhxngphlechlycakhnungfngkchnkhxngxielktrxn swnprakxbechingphunthikhxngfngkchnxielktrxnediywehlanieriykwaxxrbithlkhxngxatxm emuxphicarnaswnprakxbkhxngspindwy casamarthxthibayidthungwngokhcrkhxngxatxm dngnnkarekhluxnthikhxngxielktrxncungsmphnthkn aetmkcapramanodyaebbcalxngxnuphakhxisrakhxngphlechlykhxngfngkchnkhlunxielktrxn twxyangechn aerngkracaykhxnglxndxn khunxyukbkhwamsmphnthkhxngkarekhluxnthikhxngxielktrxn infisiksxatxm esnsepktrmkhxngxatxmsxdkhlxngkbkarepliynphanrahwangsthanakhwxntmkhxngxatxm sthanaehlanithukrabudwychudkhxngelkhkhwxntmthisrupiwinsylksnkhxngkhasphth aelamkcaekiywkhxngkbkarkahndkhaxielktrxnechphaa echn 1s2 2s2 2p6 sahrbsthanaphunkhxngsylksnnixxn 1S0 sykrnnihmaykhwamwathisxdkhlxngknnnminahnkthisungkwain configuration interaction expansion aenwkhidekiywkbwngokhcrkhxngxatxmcungepnaenwkhidhlkinkaraesdngphaphkrabwnkarkratunthiekiywkhxngkbkarepliynaeplngthikahnd twxyangechn erasamarthbxkidwakarepliynphanechphaannsxdkhlxngkbkarkratunkhxngxielktrxncakxxrbithlthimixielktrxnipyngxikxxrbithlhnungthiwangxyu aetsingsakhykhuxtxngcaiwwaxielktrxnepnefxrmixxnaelaxyuphayithlkkarkidknkhxngephali xielktrxncungimsamarthaeykkhwamaetktangcakknid yingkwann bangkhrngmnekidkhunthi configuration interaction expansion ekidchamakaelaeraimsamarthphudthungfngkchnkhlunephiynghnungtwid ephraamnepnkhwamsmphnthkhxngxielktrxnthimikhnadihy odyphunthanaelw xxrbithlechingxatxmepnfngkchnkhlunthimixielktrxnhnungtw aemwaxatxmswnihymixielktrxnhlaytw dngnnmummxngkhxngxielktrxnhnungtwcungepnkhapraman aelaemuxnukthungxxrbithl swnihyeracaidrbkhxmulcak sungepnwithihnungthichwyldkhwamsbsxnkhxngthvsdixxrbithlechingomelkul chnidkhxngxxrbithl phaph 3 mitikhxngruprangxxrbithlechingxatxmthiaesdngoxkasinkarphbxielktrxnaelaefs imaesdngxxrbithl g aelaxxrbithlthixyusungkwa xxrbithlechingxatxmepnxxrbithlkhlayihodrecn The hydrogen like orbitals sungepnkhatxbthithuktxngkhxngsmkarchordingengxrsahrbxatxmthikhlayihodrecn echn xatxmthimixielktrxn 1 tw xikthanghnung xxrbithlkhxngxatxmhmaythungfngkchnthikhunxyukbphikdkhxngxielktrxnhnungtw aetichepncuderimtnsahrbkarpramanfngkchnkhlunthikhunxyukb simultaneous coordinates khxngxielktrxnthnghmdinxatxmhruxomelkul rabbphikdthieluxksahrbxxrbithlmkcaepnrabbphikdechingkhw r 8 f inxatxm aelarabbphikdkharthiesiyn x y z inomelkulthimihlayxatxm khxidepriybkhxngphikdechingkhwinthinikhuxfngkchnkhlunokhcrepnphlkhunkhxngsamtwaeprthiaetlaswnkhunxyukbphikdediyw ps r 8 f R r 8 8 F f swnechingmumkhxngxxrbithlechingxatxm 8 8 F f samarthbxkruprangxxrbithlid aelathahnathiepnhnunginchudtwaeprkhxngharmxnikthrngklm Yℓm 8 f odythi ℓ aela m epnelkhkhwxntm aelasahrbswnechingrsmi R r samarthbxkkhnadxxrbithlid aelaepncuderimtnsahrbkarkhanwnkhunsmbtikhxngxatxmaelaomelkulthimixielktrxncanwnmakid xxrbithlkhlayihodrecnidmacakphlechlykhxngsmkarchordingengxrsahrbxielktrxn 1 twaelaniwekhliyssahrbxatxmkhlayihodrecn swnkhxngfngkchnthikhunxyukbrayathang r cakniwekhliyscami radial node aelaslayepn e ar displaystyle e alpha r xxrbithlchnidseletxr The Slater type orbital STO epnrupaebbthiimmi radial node aetaeyktwxxkcakniwekhliys echnediywkbxxrbithlthimilksnakhlayihodrecn rupaebbkhxngxxrbithlaebbekasesiyn Gaussians immiohndinaenwrsmiaelaaeykxxkepn e ar2 displaystyle e alpha r 2 aemwaxxrbithlkhlayihodrecnyngkhngichepnekhruxngmuxinkarsxn aetkarkaenidkhxngkhxmphiwetxrthaih STO epnthiniymmakkwasahrbxatxmaelaomelkulidxatxmmik enuxngcakkarrwmknkhxng STO samarthaethnthiohndinxxrbithlkhlayihodrecnid Gaussians mkichinomelkulthimixatxmtngaetsamxatxmkhunip aemwatwexngcaimaemnyaetha STO aetkarrwmknkhxngekasesiyncanwnmaksamarthbrrlukhwamaemnyakhxngxxrbithlkhlayihodrecnidxangxingMcCaw Charles S 2015 Orbitals With Applications in Atomic Spectra phasaxngkvs Singapore World Scientific Publishing Company ISBN 9781783264162 Tipler Paul Llewellyn Ralph 2003 Modern Physics 4 ed New York W H Freeman and Company ISBN 978 0 7167 4345 3 Griffiths David 2000 Introduction to Quantum Mechanics 2 ed Benjamin Cummings ISBN 978 0 13 111892 8 Cohen Irwin Bustard Thomas 1966 Atomic Orbitals Limitations and Variations J Chem Educ 43 4 187 Bibcode 1966JChEd 43 187C doi 10 1021 ed043p187 bthkhwamwithyasastrniyngepnokhrng khunsamarthchwywikiphiediyidodykarephimetimkhxmuldk