หอดูดาวแห่งชาติ (อังกฤษ: Thai National Observatory) หรือชื่ออย่างเป็นทางการคือ หอดูดาวเฉลิมพระเกียรติฯ 7 รอบพระชนมพรรษา เป็นหอดูดาวแห่งชาติของประเทศไทย ดำเนินงานโดย สถาบันวิจัยดาราศาสตร์แห่งชาติ (องค์การมหาชน) กระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม เป็นหอดูดาวระดับมาตรฐานโลก ติดตั้งกล้องโทรทรรศน์ขนาดเส้นผ่านศูนย์กลาง 2.4 เมตร ใหญ่ที่สุดในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ตั้งอยู่บริเวณใกล้กับเส้นศูนย์สูตร สามารถสังเกตท้องฟ้าได้ทั้งซีกฟ้าเหนือและซีกฟ้าใต้ รองรับงานวิจัยทางดาราศาสตร์ทั้งในและต่างประเทศ สามารถเชื่อมโยงกับหอดูดาวในภูมิภาคต่าง ๆ ทั่วโลก เพื่อปฏิบัติการวิจัยและพัฒนาดาราศาสตร์ร่วมกับนานาประเทศในการสร้างองค์ความรู้ใหม่ทางดาราศาสตร์ เริ่มก่อสร้างในปี พ.ศ. 2554 แล้วเสร็จในปี พ.ศ. 2556 เปิดใช้งานอย่างเป็นทางการเมื่อวันที่ 22 มกราคม 2556
โดมติดตั้งกล้องโทรทรรศน์ เส้นผ่านศูนย์กลางกระจกเงาปฐมภูมิ 2.4 เมตร | |
หน่วยงาน | สถาบันวิจัยดาราศาสตร์แห่งชาติ |
---|---|
ที่ตั้ง | ดอยอินทนนท์ อำเภอจอมทอง จังหวัดเชียงใหม่ |
พิกัด | 18°35′25″N 98°29′12.22″E / 18.59028°N 98.4867278°E |
ระดับความสูง | 2,457 เมตร (8,061 ฟุต) |
กล้องโทรทรรศน์ | 0.5-meter robotic telescope |
หอดูดาวแห่งชาติ แผนที่หอดูดาวแห่งชาติ หอดูดาวแห่งชาติ หอดูดาวแห่งชาติ (ประเทศไทย) |
ที่ตั้ง
ตั้งอยู่ที่สถานีทวนสัญญาณทีโอที บริเวณยอดดอยอินทนนท์ อำเภอจอมทอง จังหวัดเชียงใหม่ ที่ระดับความสูง 2,457 เมตรเหนือระดับน้ำทะเลปานกลาง หอดูดาวแห่งนี้สามารถสังเกตท้องฟ้าได้ทั้งซีกใต้และซีกเหนือ เนื่องจากตั้งอยู่ใกล้กับเส้นศูนย์สูตร
ที่ตั้ง : สถานีทวนสัญญาณทีโอที บริเวณอุทยานแห่งชาตดอยอินทนนท์ อำเภอจอมทอง จังหวัดเชียงใหม่
ระดับความสูง : 2,457 เมตร เหนือระดับน้ำทะเลปานกลาง
พิกัด : 18° 34’ 21’’ N และ 68° 29’ 07’’E
ประวัติ
ปี พ.ศ. 2550 รัฐบาลเห็นชอบให้โครงการหอดูดาวแห่งชาติเป็นหนึ่งในโครงการเฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวภูมิพลอดุลยเดชฯ ในโอกาสทรงเจริญพระชนมายุ 80 พรรษา
15 กันยายน 2552 สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ รับหอดูดาวเฉลิมพระเกียรติ 7 รอบ พระชนมพรรษา เป็นโครงการในพระราชดำริฯ
29 กันยายน 2554 ได้รับพระมหากรุณาธิคุณจากพระบาทสมเด็จพระบรมชนกาธิเบศร มหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ พระราชทานนามหอดูดาวแห่งชาติฯ ว่า "หอดูดาวเฉลิมพระเกียรติ 7 รอบ พระชนมพรรษา"
อาคารในหอดูดาว
หอดูดาวแห่งชาติ มีอาคารปฏิบัติงานแบ่งเป็นสองส่วน คือ อาคารหอดูดาว และอาคารควบคุม
อาคารหอดูดาว
เป็นอาคารทรงกระบอกสูง 19 เมตร ฝังรากฐานลึก 21 เมตร เพื่อให้โครงสร้างแข็งแรง ผนังอาคารเป็นวงแหวน (Ring Wall) ส่วนบนติดตั้งโดม (Dome) ขนาดเส้นผ่านศูนย์กลาง 9 เมตร สูง 5.5 เมตร ความสูงรวมทั้งหมดประมาณ 19 เมตร สามารถหมุนได้ 360 องศา และมีช่องเปิด-ปิด (Shutter) กว้าง 3 เมตร เพื่อช่วยกันลมที่อาจทำให้กล้องสั่นไหว ภายในโดมติดตั้งกล้องโทรทรรศน์แบบสะท้อนแสง ขนาดเส้นผ่านศูนย์กลางกระจกเงาปฐมภูมิ 2.4 เมตร พร้อมระบบควบคุมอัตโนมัติ โดมหอดูดาวฯ ออกแบบโดยบริษัท EOS Space Systems PTY. Ltd. ประเทศออสเตรเลีย กล้องโทรทรรศน์ตั้งอยู่บนฐาน (Pier) แยกกับฐานของอาคาร ตัวโดมและภายในอาคารสามารถหมุนได้สอดคล้องกับการเคลื่อนที่กวาดพิกัดของกล้องโทรทรรศน์ (Co-rotating Dome) นับว่าเป็นหอดูดาวที่มีกล้องโทรทรรศน์ที่มีขนาดใหญ่และทันสมัยที่สุดในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ และเป็นหอดูดาวเพียงไม่กี่แห่งในโลกที่ตั้งอยู่ใกล้เส้นศูนย์สูตร สามารถสังเกตการณ์ท้องฟ้าได้ทั้งซีกฟ้าเหนือและซีกฟ้าใต้
อาคารควบคุม
เป็นอาคาร 2 ชั้น ใช้เป็นสถานที่ปฏิบัติงานของนักดาราศาสตร์และเจ้าหน้าที่ควบคุมการทำงานของกล้องโทรทรรศน์ฯ พื้นที่ชั้น 1 ประกอบด้วยห้องเก็บเครื่องมือและวัสดุอุปกรณ์ และห้องพักนักดาราศาสตร์ พื้นที่ชั้น 2 ประกอบด้วยห้องควบคุมการทำงานของกล้องโทรทรรศน์หลัก และพื้นที่จัดแสดงนิทรรศการ ส่วนดาดฟ้าของอาคารควบคุมจะติดตั้งกล้องโทรทรรศน์สะท้อนแสง ขนาดเส้นผ่านศูนย์กลาง 1 เมตร อีกกล้องหนึ่งด้วย อาคารหอดูดาวและอาคารควบคุมเชื่อมต่อกันจากชั้นดาดฟ้าของอาคารควบคุมเข้าสู่อาคารหอดูดาว
ด้วยความทันสมัย และมีทัศนวิสัยท้องฟ้าที่ดี ทำให้หอดูดาวแห่งนี้ได้รับความสนใจ มีนักดาราศาสตร์และนักวิจัยจากทั่วโลกจำนวนมาก เข้ามาเก็บข้อมูลศึกษาวิจัยดาราศาสตร์ แม้ว่าหอดูดาวแห่งชาตินี้ จะมีวัตถุประสงค์หลักเพื่อการศึกษาวิจัยดาราศาสตร์ แต่ NARIT ยังเปิดโอกาสให้ประชาชนทั่วไปได้เข้าเยี่ยมชม ในกิจกรรมเปิดบ้านหอดูดาวแห่งชาติที่จัดขึ้นเป็นประจำทุกปี
จากการมีหอดูดาวระดับมาตรฐานโลกในประเทศไทยแห่งนี้ ทำให้การศึกษาและวิจัยดาราศาสตร์ของไทยได้รับการพัฒนาและได้รับการยอมรับในระดับสากลขึ้นอย่างมาก
กล้องโทรทรรศน์และอุปกรณ์
กล้องโทรทรรศน์หลัก
กล้องโทรทรรศน์สะท้อนแสง ขนาดเส้นผ่านศูนย์กลาง 2.4 เมตร ออกแบบและสร้างโดยบริษัท EOS Technologies, Inc. ประเทศสหรัฐอเมริกา เป็นกล้องโทรทรรศน์ที่ติดตั้งด้วยฐานตั้งระบบขอบฟ้า ควบคุมการทำงานแบบอัตโนมัติโดยโปรแกรมคอมพิวเตอร์ มีประสิทธิภาพเล็งและติดตามวัตถุท้องฟ้าด้วยความแม่นยำสูง ระบบทัศนศาสตร์ของกล้องเป็นแบบริตชี–เครเตียง ซึ่งเป็นระบบทัศนศาสตร์ของกล้องโทรทรรศน์ที่ออกแบบมาให้ลดผลความคลาดทางทัศนศาสตร์ที่เรียกว่าความคลาดแบบโคมา กระจกเงาปฐมภูมิ ของกล้องโทรทรรศน์ขนาดเส้นผ่านศูนย์กลาง 2.4 เมตรนี้เป็นกระจกโค้งทรงไฮเพอร์โบลาที่มีค่าสัดส่วนทางยาวโฟกัส f/1.5 และมีค่าสัดส่วนทางยาวโฟกัสรวมของระบบเป็น f/10 ระบบโฟกัสของกล้องโทรทรรศน์นี้เป็นแบบแนสมิธ ทำให้แสงของดาวที่ผ่านเข้ามาสะท้อนออกทางด้านข้างของกล้องโทรทรรศน์ ดังนั้นจึงติดเครื่องบันทึกสัญญาณต่างๆ ที่จะใช้ไว้ทางด้านข้างของกล้อง
การเคลื่อนที่กวาดหาดาวของกล้องโทรทรรศน์ขนาดเส้นผ่านศูนย์กลาง 2.4 เมตรมีประสิทธิภาพและความแม่นยำสูงมาก กล่าวคือ การเคลื่อนที่กวาดตามแนวอะซิมุทมีอัตราเร็ว 4 องศา/วินาที และการกวาดตามแนวมุมเงยมีอัตราเร็ว 2 องศา/วินาที ความแม่นยำในการชี้ไปที่วัตถุท้องฟ้ามีความละเอียดถึง 3 อาร์ควินาที และความแม่นยำในการตามดาวน้อยกว่า 0.5 อาร์ควินาทีในช่วงเวลา 10 นาที
กล้องโทรทรรศน์ขนาดเส้นผ่านศูนย์กลาง 2.4 เมตรนี้ผ่านการตรวจสอบขั้นตอนสุดท้าย ณ โรงงานที่สหรัฐอเมริกาโดยคณะกรรมการตรวจรับจากสถาบันวิจัยดาราศาสตร์แห่งชาติแล้วเมื่อเดือนสิงหาคม พ.ศ. 2554 และส่งมายังประเทศไทยเพื่อติดตั้งที่หอดูดาวเฉลิมพระเกียรติ 7 รอบ พระชนมพรรษา ณ อุทยานแห่งชาติดอยอินทนนท์ จังหวัดเชียงใหม่เมื่อเดือนธันวาคม พ.ศ. 2554 นับเป็นกล้องโทรทรรศน์ที่มีขนาดใหญ่เป็นอันดับ 1 ในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้
กล้องโทรทรรศน์รอง
กล้องโทรทรรศน์สะท้อนแสง ขนาดเส้นผ่านศูนย์กลาง 1.0 เมตร ภายในโดมทรงเปลือกหอย ขนาด 18 ฟุต ติดตั้งเพิ่มเติม ณ หอดูดาวเฉลิมพระเกียรติ 7 รอบ พระชนมพรรษา หรือ หอดูดาวแห่งชาติ เพื่อรองรับการศึกษาค้นคว้าวิจัยดาราศาสตร์ นับเป็นกล้องโทรทรรศน์ที่มีขนาดใหญ่เป็นอันดับ 2 ในอาเซียน ผลิตโดย บริษัท Planewave Instruments สหรัฐอเมริกา
อุปกรณ์อื่น ๆ
นอกจากกล้องโทรทรรศน์แล้ว สดร. ยังจัดหา และพัฒนาเครื่องบันทึกสัญญาณระดับสูงติดตั้งกับกล้องโทรทรรศน์นี้เพื่อใช้เก็บข้อมูลในการวิจัยทางดาราศาสตร์ ได้แก่
- กล้องถ่ายภาพซีซีดี (CCD Camera) ความละเอียดสูงที่สามารถวัดความเข้มของแสงดาว (Photometry) ในช่วงความยาวคลื่นตั้งแต่อัลตราไวโอเล็ต คลื่นมองเห็นและอินฟราเรด วัดตำแหน่งดาว (Astrometry) และถ่ายภาพดาว (Photography)
- เครื่องซีซีดี สเปกโทรกราฟ (CCD Spectrograph) ทั้งระดับความละเอียดปานกลางและความละเอียดต่ำ ที่สามารถวัดการความเร็วในแนวเล็ง (Radial Velocity) ของดาว วัดการแผ่พลังงานการแปรแสงและองค์ประกอบทางเคมีของดาว
คุณูปการของหอดูดาวแห่งชาติ
หอดูดาวเฉลิมพระเกียรติ 7 รอบ พระชนมพรรษา เป็นห้องปฏิบัติการหลักทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีที่สำคัญแห่งหนึ่งของประเทศไทย หอดูดาวแห่งชาติระดับมาตรฐานโลกแห่งนี้จะเป็นศูนย์กลางการวิจัยและวิชาการทางดาราศาสตร์ที่จะก่อให้เกิดความร่วมมือกับเครือข่ายดาราศาสตร์ทั้งในและต่างประเทศ สามารถเชื่อมโยงกับหอดูดาวในภูมิภาคต่างๆ ทั่วโลก เพื่อปฏิบัติการด้านการวิจัยและพัฒนาร่วมกับนานาประเทศในการสร้างองค์ความรู้ใหม่ทางดาราศาสตร์ จะเป็นส่วนผลักดันให้ประเทศไทยเป็นศูนย์กลางของการศึกษาด้านดาราศาสตร์ในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ซึ่งจะเป็นผลดีอย่างยิ่งต่อการพัฒนาการศึกษาและพัฒนาด้านดาราศาสตร์ของประเทศไทย เพื่อยกระดับความสามารถในการแข่งขันทางด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีของประเทศสู่มาตรฐานสากลด้านการวิจัย
กล้องโทรทรรศน์ของหอดูดาวแห่งชาติ จะมีประโยชน์อย่างยิ่งต่องานการวิจัยดาราศาสตร์ระดับก้าวหน้าที่ต้องการความแม่นยำสูงในการเฝ้าสังเกตและเก็บข้อมูลพลวัตของวัตถุท้องฟ้า เช่น การค้นหาดาวเคราะห์นอกระบบสุริยะ (Exo-planet) การศึกษาสมบัติทางกายภาพและการวิวัฒนาการของระบบดาวคู่แบบใกล้ชิด (Close Binary System) ดาวระเบิด (Cataclysmic Variable) การบังดาวของดวงจันทร์ (Lunar Occultation) หลุมดำ (Black Hole) ในระบบดาวคู่หรือดาวแปรแสง เอกภพวิทยา (Cosmology) สสารและพลังงานมืด (Dark Matter and Dark Energy) ซึ่งผลการวิเคราะห์ข้อมูลที่ได้อาจนำไปสู่การค้นพบที่สำคัญทางวิทยาศาสตร์ต่อไป
นอกจากนี้ ยังก่อให้เกิดเครือข่ายความร่วมมือด้านการวิจัยดาราศาสตร์กับหน่วยงานทั้งในและต่างประเทศ ได้แก่ ความร่วมมือด้านการวิจัยกับสถาบันอุดมศึกษาทั่วประเทศ และความร่วมมือในโครงการวิจัยทางดาราศาสตร์ระหว่างประเทศ เช่น โครงการวิจัยในเครือข่ายดาราศาสตร์เอเชียตะวันออกเฉียงใต้ (South-East Asia Astronomy Network, SEAAN) โครงการวิจัยดาวเคราะห์นอกระบบสุริยะในเครือข่ายกล้องโทรทรรศน์ช่วงมองเห็น-อินฟาเรดขนาดเส้นผ่านศูนย์กลาง 2 เมตรในเอเชียตะวันออก (East Asian 2-Meter Class Optical-Infrared Telescope Network) โครงการความร่วมมือทางดาราศาสตร์ไทย-จีน (Sino-Thai Astronomical Cooperative Project) เป็นต้น
อ้างอิง
- รู้จัก “หอดูดาวเฉลิมพระเกียรติ 7 รอบ พระชนมพรรษา” 2013-03-11 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน ผู้จัดการออนไลน์. 9 มกราคม 2556
- เครื่องมือและอุปกรณ์ที่ติดตั้งภายในหอดูดาวเฉลิมพระเกียรติ ๗ รอบ พระชนมพรรษา สถาบันวิจัยดาราศาสตร์แห่งชาติ
ดูเพิ่ม
- กล้องโทรทรรศน์วิทยุแห่งชาติ – อำเภอดอยสะเก็ด จังหวัดเชียงใหม่
- อุทยานดาราศาสตร์สิรินธร – อำเภอแม่ริม จังหวัดเชียงใหม่
แหล่งข้อมูลอื่น
- หอดูดาวเฉลิมพระเกียรติฯ 7 รอบพระชนมพรรษา โดย สถาบันวิจัยดาราศาสตร์แห่งชาติ 2015-03-23 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน (ไทย)
- Thai National Observatory by the National Astronomical Research Institute of Thailand 2019-12-03 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน (อังกฤษ)
- บันทึกการจัดตั้งหอดูดาวแห่งชาติ 2015-03-23 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน จากสถาบันวิจัยดาราศาสตร์แห่งชาติ (องค์การมหาชน) (ไทย)
wikipedia, แบบไทย, วิกิพีเดีย, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด, บทความ, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม, มือถือ, โทรศัพท์, Android, iOS, Apple, โทรศัพท์โมบิล, Samsung, iPhone, Xiomi, Xiaomi, Redmi, Honor, Oppo, Nokia, Sonya, MI, PC, พีซี, web, เว็บ, คอมพิวเตอร์
hxdudawaehngchati xngkvs Thai National Observatory hruxchuxxyangepnthangkarkhux hxdudawechlimphraekiyrti 7 rxbphrachnmphrrsa epnhxdudawaehngchatikhxngpraethsithy daeninnganody sthabnwicydarasastraehngchati xngkhkarmhachn krathrwngkarxudmsuksa withyasastr wicyaelanwtkrrm epnhxdudawradbmatrthanolk tidtngklxngothrthrrsnkhnadesnphansunyklang 2 4 emtr ihythisudinexechiytawnxxkechiyngit tngxyubriewniklkbesnsunysutr samarthsngektthxngfaidthngsikfaehnuxaelasikfait rxngrbnganwicythangdarasastrthnginaelatangpraeths samarthechuxmoyngkbhxdudawinphumiphakhtang thwolk ephuxptibtikarwicyaelaphthnadarasastrrwmkbnanapraethsinkarsrangxngkhkhwamruihmthangdarasastr erimkxsranginpi ph s 2554 aelwesrcinpi ph s 2556 epidichnganxyangepnthangkaremuxwnthi 22 mkrakhm 2556hxdudawechlimphraekiyrti 7 rxbphrachnmphrrsaodmtidtngklxngothrthrrsn esnphansunyklangkrackengapthmphumi 2 4 emtrhnwyngansthabnwicydarasastraehngchatithitngdxyxinthnnth xaephxcxmthxng cnghwdechiyngihmphikd18 35 25 N 98 29 12 22 E 18 59028 N 98 4867278 E 18 59028 98 4867278radbkhwamsung2 457 emtr 8 061 fut klxngothrthrrsn0 5 meter robotic telescopehxdudawaehngchatiaephnthihxdudawaehngchatiaesdngaephnthicnghwdechiyngihmhxdudawaehngchatihxdudawaehngchati praethsithy aesdngaephnthipraethsithydawocrthimxngehncakhxdudawaehngchatithitngtngxyuthisthanithwnsyyanthioxthi briewnyxddxyxinthnnth xaephxcxmthxng cnghwdechiyngihm thiradbkhwamsung 2 457 emtrehnuxradbnathaelpanklang hxdudawaehngnisamarthsngektthxngfaidthngsikitaelasikehnux enuxngcaktngxyuiklkbesnsunysutr thitng sthanithwnsyyanthioxthi briewnxuthyanaehngchatdxyxinthnnth xaephxcxmthxng cnghwdechiyngihm radbkhwamsung 2 457 emtr ehnuxradbnathaelpanklang phikd 18 34 21 N aela 68 29 07 Eprawtipi ph s 2550 rthbalehnchxbihokhrngkarhxdudawaehngchatiepnhnunginokhrngkarechlimphraekiyrtiphrabathsmedcphraecaxyuhwphumiphlxdulyedch inoxkasthrngecriyphrachnmayu 80 phrrsa 15 knyayn 2552 smedcphraethphrtnrachsuda syambrmrachkumari thrngphrakrunaoprdekla rbhxdudawechlimphraekiyrti 7 rxb phrachnmphrrsa epnokhrngkarinphrarachdari 29 knyayn 2554 idrbphramhakrunathikhuncakphrabathsmedcphrabrmchnkathiebsr mhaphumiphlxdulyedchmharach brmnathbphitr thrngphrakrunaoprdekla phrarachthannamhxdudawaehngchati wa hxdudawechlimphraekiyrti 7 rxb phrachnmphrrsa xakharinhxdudawhxdudawaehngchati mixakharptibtinganaebngepnsxngswn khux xakharhxdudaw aelaxakharkhwbkhum xakharhxdudaw epnxakharthrngkrabxksung 19 emtr fngrakthanluk 21 emtr ephuxihokhrngsrangaekhngaerng phnngxakharepnwngaehwn Ring Wall swnbntidtngodm Dome khnadesnphansunyklang 9 emtr sung 5 5 emtr khwamsungrwmthnghmdpraman 19 emtr samarthhmunid 360 xngsa aelamichxngepid pid Shutter kwang 3 emtr ephuxchwyknlmthixacthaihklxngsnihw phayinodmtidtngklxngothrthrrsnaebbsathxnaesng khnadesnphansunyklangkrackengapthmphumi 2 4 emtr phrxmrabbkhwbkhumxtonmti odmhxdudaw xxkaebbodybristh EOS Space Systems PTY Ltd praethsxxsetreliy klxngothrthrrsntngxyubnthan Pier aeykkbthankhxngxakhar twodmaelaphayinxakharsamarthhmunidsxdkhlxngkbkarekhluxnthikwadphikdkhxngklxngothrthrrsn Co rotating Dome nbwaepnhxdudawthimiklxngothrthrrsnthimikhnadihyaelathnsmythisudinexechiytawnxxkechiyngit aelaepnhxdudawephiyngimkiaehnginolkthitngxyuiklesnsunysutr samarthsngektkarnthxngfaidthngsikfaehnuxaelasikfait xakharkhwbkhum epnxakhar 2 chn ichepnsthanthiptibtingankhxngnkdarasastraelaecahnathikhwbkhumkarthangankhxngklxngothrthrrsn phunthichn 1 prakxbdwyhxngekbekhruxngmuxaelawsduxupkrn aelahxngphknkdarasastr phunthichn 2 prakxbdwyhxngkhwbkhumkarthangankhxngklxngothrthrrsnhlk aelaphunthicdaesdngnithrrskar swndadfakhxngxakharkhwbkhumcatidtngklxngothrthrrsnsathxnaesng khnadesnphansunyklang 1 emtr xikklxnghnungdwy xakharhxdudawaelaxakharkhwbkhumechuxmtxkncakchndadfakhxngxakharkhwbkhumekhasuxakharhxdudaw dwykhwamthnsmy aelamithsnwisythxngfathidi thaihhxdudawaehngniidrbkhwamsnic minkdarasastraelankwicycakthwolkcanwnmak ekhamaekbkhxmulsuksawicydarasastr aemwahxdudawaehngchatini camiwtthuprasngkhhlkephuxkarsuksawicydarasastr aet NARIT yngepidoxkasihprachachnthwipidekhaeyiymchm inkickrrmepidbanhxdudawaehngchatithicdkhunepnpracathukpi cakkarmihxdudawradbmatrthanolkinpraethsithyaehngni thaihkarsuksaaelawicydarasastrkhxngithyidrbkarphthnaaelaidrbkaryxmrbinradbsaklkhunxyangmakklxngothrthrrsnaelaxupkrnklxngothrthrrsnhlk klxngothrthrrsnsathxnaesng khnadesnphansunyklang 2 4 emtr xxkaebbaelasrangodybristh EOS Technologies Inc praethsshrthxemrika epnklxngothrthrrsnthitidtngdwythantngrabbkhxbfa khwbkhumkarthanganaebbxtonmtiodyopraekrmkhxmphiwetxr miprasiththiphaphelngaelatidtamwtthuthxngfadwykhwamaemnyasung rabbthsnsastrkhxngklxngepnaebbritchi ekhretiyng sungepnrabbthsnsastrkhxngklxngothrthrrsnthixxkaebbmaihldphlkhwamkhladthangthsnsastrthieriykwakhwamkhladaebbokhma krackengapthmphumi khxngklxngothrthrrsnkhnadesnphansunyklang 2 4 emtrniepnkrackokhngthrngihephxroblathimikhasdswnthangyawofks f 1 5 aelamikhasdswnthangyawofksrwmkhxngrabbepn f 10 rabbofkskhxngklxngothrthrrsnniepnaebbaensmith thaihaesngkhxngdawthiphanekhamasathxnxxkthangdankhangkhxngklxngothrthrrsn dngnncungtidekhruxngbnthuksyyantang thicaichiwthangdankhangkhxngklxng karekhluxnthikwadhadawkhxngklxngothrthrrsnkhnadesnphansunyklang 2 4 emtrmiprasiththiphaphaelakhwamaemnyasungmak klawkhux karekhluxnthikwadtamaenwxasimuthmixtraerw 4 xngsa winathi aelakarkwadtamaenwmumengymixtraerw 2 xngsa winathi khwamaemnyainkarchiipthiwtthuthxngfamikhwamlaexiydthung 3 xarkhwinathi aelakhwamaemnyainkartamdawnxykwa 0 5 xarkhwinathiinchwngewla 10 nathi klxngothrthrrsnkhnadesnphansunyklang 2 4 emtrniphankartrwcsxbkhntxnsudthay n orngnganthishrthxemrikaodykhnakrrmkartrwcrbcaksthabnwicydarasastraehngchatiaelwemuxeduxnsinghakhm ph s 2554 aelasngmayngpraethsithyephuxtidtngthihxdudawechlimphraekiyrti 7 rxb phrachnmphrrsa n xuthyanaehngchatidxyxinthnnth cnghwdechiyngihmemuxeduxnthnwakhm ph s 2554 nbepnklxngothrthrrsnthimikhnadihyepnxndb 1 inexechiytawnxxkechiyngit klxngothrthrrsnrxng klxngothrthrrsnsathxnaesng khnadesnphansunyklang 1 0 emtr phayinodmthrngepluxkhxy khnad 18 fut tidtngephimetim n hxdudawechlimphraekiyrti 7 rxb phrachnmphrrsa hrux hxdudawaehngchati ephuxrxngrbkarsuksakhnkhwawicydarasastr nbepnklxngothrthrrsnthimikhnadihyepnxndb 2 inxaesiyn phlitody bristh Planewave Instruments shrthxemrika xupkrnxun nxkcakklxngothrthrrsnaelw sdr yngcdha aelaphthnaekhruxngbnthuksyyanradbsungtidtngkbklxngothrthrrsnniephuxichekbkhxmulinkarwicythangdarasastr idaek klxngthayphaphsisidi CCD Camera khwamlaexiydsungthisamarthwdkhwamekhmkhxngaesngdaw Photometry inchwngkhwamyawkhluntngaetxltraiwoxelt khlunmxngehnaelaxinfraerd wdtaaehnngdaw Astrometry aelathayphaphdaw Photography ekhruxngsisidi sepkothrkraf CCD Spectrograph thngradbkhwamlaexiydpanklangaelakhwamlaexiydta thisamarthwdkarkhwamerwinaenwelng Radial Velocity khxngdaw wdkaraephphlngngankaraepraesngaelaxngkhprakxbthangekhmikhxngdawkhunupkarkhxnghxdudawaehngchatihxdudawechlimphraekiyrti 7 rxb phrachnmphrrsa epnhxngptibtikarhlkthangwithyasastraelaethkhonolyithisakhyaehnghnungkhxngpraethsithy hxdudawaehngchatiradbmatrthanolkaehngnicaepnsunyklangkarwicyaelawichakarthangdarasastrthicakxihekidkhwamrwmmuxkbekhruxkhaydarasastrthnginaelatangpraeths samarthechuxmoyngkbhxdudawinphumiphakhtang thwolk ephuxptibtikardankarwicyaelaphthnarwmkbnanapraethsinkarsrangxngkhkhwamruihmthangdarasastr caepnswnphlkdnihpraethsithyepnsunyklangkhxngkarsuksadandarasastrinphumiphakhexechiytawnxxkechiyngit sungcaepnphldixyangyingtxkarphthnakarsuksaaelaphthnadandarasastrkhxngpraethsithy ephuxykradbkhwamsamarthinkaraekhngkhnthangdanwithyasastraelaethkhonolyikhxngpraethssumatrthansakldankarwicy klxngothrthrrsnkhxnghxdudawaehngchati camipraoychnxyangyingtxngankarwicydarasastrradbkawhnathitxngkarkhwamaemnyasunginkarefasngektaelaekbkhxmulphlwtkhxngwtthuthxngfa echn karkhnhadawekhraahnxkrabbsuriya Exo planet karsuksasmbtithangkayphaphaelakarwiwthnakarkhxngrabbdawkhuaebbiklchid Close Binary System dawraebid Cataclysmic Variable karbngdawkhxngdwngcnthr Lunar Occultation hlumda Black Hole inrabbdawkhuhruxdawaepraesng exkphphwithya Cosmology ssaraelaphlngnganmud Dark Matter and Dark Energy sungphlkarwiekhraahkhxmulthiidxacnaipsukarkhnphbthisakhythangwithyasastrtxip nxkcakni yngkxihekidekhruxkhaykhwamrwmmuxdankarwicydarasastrkbhnwynganthnginaelatangpraeths idaek khwamrwmmuxdankarwicykbsthabnxudmsuksathwpraeths aelakhwamrwmmuxinokhrngkarwicythangdarasastrrahwangpraeths echn okhrngkarwicyinekhruxkhaydarasastrexechiytawnxxkechiyngit South East Asia Astronomy Network SEAAN okhrngkarwicydawekhraahnxkrabbsuriyainekhruxkhayklxngothrthrrsnchwngmxngehn xinfaerdkhnadesnphansunyklang 2 emtrinexechiytawnxxk East Asian 2 Meter Class Optical Infrared Telescope Network okhrngkarkhwamrwmmuxthangdarasastrithy cin Sino Thai Astronomical Cooperative Project epntnxangxingruck hxdudawechlimphraekiyrti 7 rxb phrachnmphrrsa 2013 03 11 thi ewyaebkaemchchin phucdkarxxniln 9 mkrakhm 2556 ekhruxngmuxaelaxupkrnthitidtngphayinhxdudawechlimphraekiyrti 7 rxb phrachnmphrrsa sthabnwicydarasastraehngchatiduephimklxngothrthrrsnwithyuaehngchati xaephxdxysaekd cnghwdechiyngihm xuthyandarasastrsirinthr xaephxaemrim cnghwdechiyngihmaehlngkhxmulxunhxdudawechlimphraekiyrti 7 rxbphrachnmphrrsa ody sthabnwicydarasastraehngchati 2015 03 23 thi ewyaebkaemchchin ithy Thai National Observatory by the National Astronomical Research Institute of Thailand 2019 12 03 thi ewyaebkaemchchin xngkvs bnthukkarcdtnghxdudawaehngchati 2015 03 23 thi ewyaebkaemchchin caksthabnwicydarasastraehngchati xngkhkarmhachn ithy