หอสังเกตการณ์ดาราศาสตร์วิทยุแห่งชาติ ตั้งอยู่ในศูนย์ศึกษาการพัฒนาห้วยฮ่องไคร้ อำเภอดอยสะเก็ด จังหวัดเชียงใหม่ มีกำหนดเปิดใช้งานในปีพ.ศ. 2564 อยู่ภายใต้การดูแลของสถาบันวิจัยดาราศาสตร์แห่งชาติ ใช้งบประมาณในการก่อสร้างโครงการนี้ทั้งสิ้น 532 ล้านบาท
กล้องภายในศูนย์
ภายในหอสังเกตการณ์ดาราศาสตร์วิทยุแห่งชาติ ประกอบด้วยกล้องโทรทรรศน์วิทยุจำนวน 2 ระบบ ได้แก่:
กล้องโทรทรรศน์วิทยุขนาด 40 เมตร
กล้องโทรทรรศน์วิทยุแห่งชาติขนาด 40 เมตร เป็นกล้องโทรทรรศน์วิทยุแห่งแรกและใหญ่ที่สุดในประเทศไทยและเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ มีขนาดเส้นผ่าศูนย์กลาง 40 เมตร หมุนได้รอบทิศทาง 360 องศา และปรับมุมเงยได้ 180 องศา สามารถรับคลื่นความถี่ได้ระหว่าง 1 ถึง 116 GHz จานสะท้อนหลักประกอบด้วยแผงอะลูมิเนียม 420 แผง แต่ละแผงมีความหนา 1.8 มิลลิเมตร จานสะท้อนรองมีขนาด 3.28 เมตร กล้องโทรทรรศน์วิทยุนี้สามารถปฏิบัติงานได้แม้อยู่ในสภาพลมจัด (50 กม/ชม.) กล้องชุดนี้ใช้งบประมาณในการสร้าง 448 ล้านบาท
มีต้นแบบและพัฒนามาจากกล้องโทรทรรศน์วิทยุเยเบส ประเทศสเปน ซึ่งใช้ระบบ Cassegrain-Nasmyth Optics โดยเพิ่มเครื่องรับสัญญาณไว้ที่จุดโฟกัสหลัก ทำให้สามารถรับสัญญาณที่ช่วงความถี่อื่นได้ พร้อมการออกแบบ Nasmyth ให้มีข้อได้เปรียบเรื่องความยืดหยุ่นในการติดตั้งเครื่องรับสัญญาณในอนาคต มีเป้าหมายคือ พื้นผิวจานต้องมีความถูกต้องแม่นยำถึงระดับ 150 ไมครอน ความเร็วในการหมุนจาน 3 เมตรต่อวินาที (m/s) สำหรับมุมกวาด (Azimuth) และ 1 เมตรต่อวินาทีสำหรับมุมเงย (Altitude) ความแม่นยำในการวัดตำแหน่งไม่คลาดเคลื่อนไปกว่า 2 ฟิลิปดา ในกรณีไม่มีลม และ 6 ฟิลิปดา ในกรณีมีลม
กล้องโทรทรรศน์วิทยุวีกอสขนาด 13 เมตร
กล้องโทรทรรศน์วิทยุวีกอส (VGOS: VLBI Geodetic Observing System) ขนาดเส้นผ่านศูนย์กลางจานรับสัญญาณ 13 เมตร สร้างขึ้นภายใต้โครงการแรงดี (RANGD: Radio Astronomical Network and Geodesy for Development) มีต้นแบบและพัฒนามาจากหอดูดาวเซี่ยงไฮ้ หน่วยเฉอชาน เครื่องรับสัญญาณเป็นแบบช่วงความถี่กว้าง รับสัญญาณได้ตั้งแต่ช่วงคลื่นความถี่ 2-14 GHz จะทำให้การสังเกตการณ์แบบแทรกสอดระยะไกล (Very Long Baseline Interferometry) สามารถใช้งานร่วมกับเครือข่ายกล้องวีกอสทั่วโลกเพื่องานรังวัดยีออเดซีและติดตามความเปลี่ยนแปลงของโลกในปัจจุบัน
กล้องโทรทรรศน์วิทยุแบบวีกอสสามารถทำงานรังวัดตำแหน่งที่มีความแม่นยำสูงได้ โดยการรับสัญญาณย่านเอสและเอกซ์ (S-/X-band) จากแหล่งกำเนิดคลื่นวิทยุในอวกาศ พิกัดที่ได้จากการสังเกตการณ์ด้วยเทคนิคแทรกสอดระยะไกลของกล้องโทรทรรศน์วิทยุสองตัวขึ้นไปในเวลาเดียวกัน จะทำให้ได้พิกัดที่ความถูกต้องสูงมาก แม่นยำถึงระดับ 3-5 มิลลิเมตร ในทุกมิติ ด้วยความแม่นยำนี้จึงสามารถนำไปใช้ตรวจสอบการเคลื่อนตัวของแผ่นเปลือกโลกได้ (Tectonic Plate Motion) แล้วยังสามารถประมวลผลลัพธ์ต่อจนได้ตัวแปรต่าง ๆ ที่บ่งบอกการวางตัวของโลกในอวกาศ (Earth Orientation Parametres) ไปจนถึงความเร็วในการหมุนรอบตัวเองของโลก (UT1) ซึ่งถือเป็นผลลัพธ์ที่มีค่ายิ่งของศาสตร์ด้านยีออเดซี และมีความสำคัญต่อวงการวิทยาศาสตร์ วิศวกรรมศาสตร์ กระทั่งการพัฒนาเพื่อความยั่งยืนของมนุษย์
อ้างอิง
- รายงานการวิเคราะห์งบประมาณรายจ่ายประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2563 กระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม สำนักงบประมาณของรัฐสภา สำนักเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร
- Yebes Committee on Radio Astronomy Frequencies
wikipedia, แบบไทย, วิกิพีเดีย, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด, บทความ, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม, มือถือ, โทรศัพท์, Android, iOS, Apple, โทรศัพท์โมบิล, Samsung, iPhone, Xiomi, Xiaomi, Redmi, Honor, Oppo, Nokia, Sonya, MI, PC, พีซี, web, เว็บ, คอมพิวเตอร์
hxsngektkarndarasastrwithyuaehngchati tngxyuinsunysuksakarphthnahwyhxngikhr xaephxdxysaekd cnghwdechiyngihm mikahndepidichnganinpiph s 2564 xyuphayitkarduaelkhxngsthabnwicydarasastraehngchati ichngbpramaninkarkxsrangokhrngkarnithngsin 532 lanbathklxngothrthrrsnwithyuaehngchati khnad 40 emtrklxngphayinsunyphayinhxsngektkarndarasastrwithyuaehngchati prakxbdwyklxngothrthrrsnwithyucanwn 2 rabb idaek klxngothrthrrsnwithyukhnad 40 emtr klxngothrthrrsnwithyuaehngchatikhnad 40 emtr epnklxngothrthrrsnwithyuaehngaerkaelaihythisudinpraethsithyaelaexechiytawnxxkechiyngit mikhnadesnphasunyklang 40 emtr hmunidrxbthisthang 360 xngsa aelaprbmumengyid 180 xngsa samarthrbkhlunkhwamthiidrahwang 1 thung 116 GHz cansathxnhlkprakxbdwyaephngxalumieniym 420 aephng aetlaaephngmikhwamhna 1 8 milliemtr cansathxnrxngmikhnad 3 28 emtr klxngothrthrrsnwithyunisamarthptibtinganidaemxyuinsphaphlmcd 50 km chm klxngchudniichngbpramaninkarsrang 448 lanbath mitnaebbaelaphthnamacakklxngothrthrrsnwithyueyebs praethssepn sungichrabb Cassegrain Nasmyth Optics odyephimekhruxngrbsyyaniwthicudofkshlk thaihsamarthrbsyyanthichwngkhwamthixunid phrxmkarxxkaebb Nasmyth ihmikhxidepriyberuxngkhwamyudhyuninkartidtngekhruxngrbsyyaninxnakht miepahmaykhux phunphiwcantxngmikhwamthuktxngaemnyathungradb 150 imkhrxn khwamerwinkarhmuncan 3 emtrtxwinathi m s sahrbmumkwad Azimuth aela 1 emtrtxwinathisahrbmumengy Altitude khwamaemnyainkarwdtaaehnngimkhladekhluxnipkwa 2 filipda inkrniimmilm aela 6 filipda inkrnimilm klxngothrthrrsnwithyuwikxskhnad 13 emtr klxngothrthrrsnwithyuwikxs VGOS VLBI Geodetic Observing System khnadesnphansunyklangcanrbsyyan 13 emtr srangkhunphayitokhrngkaraerngdi RANGD Radio Astronomical Network and Geodesy for Development mitnaebbaelaphthnamacakhxdudawesiyngih hnwyechxchan ekhruxngrbsyyanepnaebbchwngkhwamthikwang rbsyyanidtngaetchwngkhlunkhwamthi 2 14 GHz cathaihkarsngektkarnaebbaethrksxdrayaikl Very Long Baseline Interferometry samarthichnganrwmkbekhruxkhayklxngwikxsthwolkephuxnganrngwdyixxedsiaelatidtamkhwamepliynaeplngkhxngolkinpccubn klxngothrthrrsnwithyuaebbwikxssamarththanganrngwdtaaehnngthimikhwamaemnyasungid odykarrbsyyanyanexsaelaexks S X band cakaehlngkaenidkhlunwithyuinxwkas phikdthiidcakkarsngektkarndwyethkhnikhaethrksxdrayaiklkhxngklxngothrthrrsnwithyusxngtwkhunipinewlaediywkn cathaihidphikdthikhwamthuktxngsungmak aemnyathungradb 3 5 milliemtr inthukmiti dwykhwamaemnyanicungsamarthnaipichtrwcsxbkarekhluxntwkhxngaephnepluxkolkid Tectonic Plate Motion aelwyngsamarthpramwlphllphthtxcnidtwaeprtang thibngbxkkarwangtwkhxngolkinxwkas Earth Orientation Parametres ipcnthungkhwamerwinkarhmunrxbtwexngkhxngolk UT1 sungthuxepnphllphththimikhayingkhxngsastrdanyixxedsi aelamikhwamsakhytxwngkarwithyasastr wiswkrrmsastr krathngkarphthnaephuxkhwamyngyunkhxngmnusyxangxingrayngankarwiekhraahngbpramanraycaypracapingbpraman ph s 2563 krathrwngkarxudmsuksa withyasastr wicyaelanwtkrrm sankngbpramankhxngrthspha sankelkhathikarsphaphuaethnrasdr Yebes Committee on Radio Astronomy Frequencies