ลิงก์ข้ามภาษาในบทความนี้ มีไว้ให้ผู้อ่านและผู้ร่วมแก้ไขบทความศึกษาเพิ่มเติมโดยสะดวก เนื่องจากวิกิพีเดียภาษาไทยยังไม่มีบทความดังกล่าว กระนั้น ควรรีบสร้างเป็นบทความโดยเร็วที่สุด |
สมิงสอตุด (พม่า: သမိန်စောထွတ်, ออกเสียง: [θə.mèɪ̯ɰ̃ sɔ́ tʰʊʔ]; สวรรคตสิงหาคม 1550) เป็นผู้อ้างสิทธิในราชบัลลังก์ ราชอาณาจักรหงสาวดี และเป็นผู้ลอบสังหารพระเจ้าตะเบ็งชะเวตี้ของราชวงศ์ตองอู เดิมเป็นขุนนางชาวมอญที่ได้รับราชการให้ไปปกครองเมืองสะโตงในรัชสมัยของพระเจ้าตะเบ็งชะเวตี้ ผู้ที่พิชิตราชอาณาจักรหงสาวดีของชาวมอญได้ในปี ค.ศ. 1539 เป็นผู้ที่ใกล้ชิดของกษัตริย์ เมื่อวันที่ 30 เมษายน ค.ศ. 1550 สมิงสอตุดและพระเจ้าตะเบ็งชะเวตี้เดินทางเข้าสู่พื้นที่ใกล้กับเมือง ปันตานาว บริเวณดินดอนสามเหลี่ยมปากแม่น้ำอิรวะดี เพื่อค้นหาช้างเผือกและได้มีการปลงพระชนม์พระองค์
สมิงสอตุด Smim Sawhtut သမိန်စောထွတ် | |
---|---|
กษัตริย์ แห่ง อาณาจักรหงสาวดี | |
ครองราชย์ | กลางมิถุนายน – สิงหาคม ค.ศ. 1550 |
ก่อนหน้า | พระเจ้าสการะวุตพี |
รัชกาลถัดไป | สมิงทอ |
สวรรคต | สิงหาคม ค.ศ. 1550 พะโค |
ศาสนา | พุทธศานานิกายเถรวาท |
เมื่อปลงพระชนม์พระเจ้าตะเบ็งชะเวตี้แล้ว สมิงสอตุดได้หนีไปยังเมืองสะโตงพร้อมกับสถาปนาตนเองเป็นกษัตริย์ ต่อมาขุนนางมอญในเมืองหงสาวดีได้ขับไล่รักษาการเจ้าเมือง เจ้ามังฆ้อง พระอนุชาพระองค์หนึ่งของพระเจ้าบุเรงนอง ซึ่งขณะนั้นพระเจ้าบุเรงนองไม่ได้ประทับอยู่ด้วย เนื่องจากต้องไปตามจับสมิงทอ ราชนิกุลมอญพระองค์หนึ่งซึ่งเป็นผู้ที่มีสิทธิครองราชบัลลังก์หงสาวดี ในเขตสามเหลี่ยมปากแม่น้ำอิรวะดี ขุนนางจึงได้เชิญสมิงสอตุดซึ่งมิใช่เชื้อสายราชนิกุลมอญมาครองราชบัลลังก์เพื่อฟื้นฟูราชวงศ์
สมิงสอตุดปกครองแผ่นดินอย่างเผด็จการ ทำให้ขุนนางและประชาชนเริ่มเสื่อมความนิยม เหล่าขุนนางจึงได้ไปเชิญสมิงทอซึ่งเป็นเชื้อสายราชนิกุลมอญมาครองราชบัลลังก์ สมิงทอได้เดินทางออกจากเขตสามเหลี่ยมปากแม่น้ำอิรวะดีหลังการติดตามของพระเจ้าบุเรงนอง และเดินทางไปยังเมืองเมาะตะมะไปต่อยังเมืองหงสาวดี ซึ่งขณะนั้นพระเจ้าบุเรงนองได้เลิกติดตามพระองค์ชั่วคราว เพื่อเดินทางกลับไปยังตองอูเมืองเกิดของพระองค์ทางตอนเหนือ สำหรับเตรียมพร้อมการทำสงครามที่จะเกิดในภายภาคหน้า กองทัพของสมิงทอและสมิงสอตุดสู้รบกันภายนอกเมืองหงสาวดี ด้านสมิงทอได้รับชัยชนะ สมิงสอตุดถูกจับและถูกสำเร็จโทษเมื่อเดือนสิงหาคม ค.ศ. 1550 หลังจากครองสิริราชสมบัติได้เพียง 1 เดือนเศษ โดยสมิงทอผู้เป็นพระอนุชาของพระเจ้าสการะวุตพีกษัตริย์องค์สุดท้ายแห่งราชอาณาจักรหงสาวดีได้อ้างสิทธิ์ในราชบัลลังก์ต่อมา
อ้างอิง
- Lt. Gen. Sir Arthur P. Phayre (1883). History of Burma (1967 ed.). London: Susil Gupta. pp. 102–105.
- "Ava Kings". Hmannan Yazawin (ภาษาพม่า). Vol. 2 (2003 ed.). Yangon: Ministry of Information, Myanmar. 1829. pp. 258–259.
wikipedia, แบบไทย, วิกิพีเดีย, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด, บทความ, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม, มือถือ, โทรศัพท์, Android, iOS, Apple, โทรศัพท์โมบิล, Samsung, iPhone, Xiomi, Xiaomi, Redmi, Honor, Oppo, Nokia, Sonya, MI, PC, พีซี, web, เว็บ, คอมพิวเตอร์
lingkkhamphasa inbthkhwamni miiwihphuxanaelaphurwmaekikhbthkhwamsuksaephimetimodysadwk enuxngcakwikiphiediyphasaithyyngimmibthkhwamdngklaw krann khwrribsrangepnbthkhwamodyerwthisud smingsxtud phma သမ န စ ထ တ xxkesiyng 8e meɪ ɰ sɔ tʰʊʔ swrrkhtsinghakhm 1550 epnphuxangsiththiinrachbllngk rachxanackrhngsawdi aelaepnphulxbsngharphraecataebngchaewtikhxngrachwngstxngxu edimepnkhunnangchawmxythiidrbrachkarihippkkhrxngemuxngsaotnginrchsmykhxngphraecataebngchaewti phuthiphichitrachxanackrhngsawdikhxngchawmxyidinpi kh s 1539 epnphuthiiklchidkhxngkstriy emuxwnthi 30 emsayn kh s 1550 smingsxtudaelaphraecataebngchaewtiedinthangekhasuphunthiiklkbemuxng pntanaw briewndindxnsamehliympakaemnaxirwadi ephuxkhnhachangephuxkaelaidmikarplngphrachnmphraxngkhsmingsxtud Smim Sawhtut သမ န စ ထ တ kstriy aehng xanackrhngsawdikhrxngrachyklangmithunayn singhakhm kh s 1550kxnhnaphraecaskarawutphirchkalthdipsmingthxswrrkhtsinghakhm kh s 1550 phaokhsasnaphuththsananikayethrwathbthkhwamnimixksrphma hakxupkrnkhxngkhunimsamarthernedxrxksrniid khunxacehnekhruxnghmaykhatham xksrphiess klxng hruxsylksnxun aethnthixksrphma emuxplngphrachnmphraecataebngchaewtiaelw smingsxtudidhniipyngemuxngsaotngphrxmkbsthapnatnexngepnkstriy txmakhunnangmxyinemuxnghngsawdiidkhbilrksakarecaemuxng ecamngkhxng phraxnuchaphraxngkhhnungkhxngphraecabuerngnxng sungkhnannphraecabuerngnxngimidprathbxyudwy enuxngcaktxngiptamcbsmingthx rachnikulmxyphraxngkhhnungsungepnphuthimisiththikhrxngrachbllngkhngsawdi inekhtsamehliympakaemnaxirwadi khunnangcungidechiysmingsxtudsungmiichechuxsayrachnikulmxymakhrxngrachbllngkephuxfunfurachwngs smingsxtudpkkhrxngaephndinxyangephdckar thaihkhunnangaelaprachachnerimesuxmkhwamniym ehlakhunnangcungidipechiysmingthxsungepnechuxsayrachnikulmxymakhrxngrachbllngk smingthxidedinthangxxkcakekhtsamehliympakaemnaxirwadihlngkartidtamkhxngphraecabuerngnxng aelaedinthangipyngemuxngemaatamaiptxyngemuxnghngsawdi sungkhnannphraecabuerngnxngideliktidtamphraxngkhchwkhraw ephuxedinthangklbipyngtxngxuemuxngekidkhxngphraxngkhthangtxnehnux sahrbetriymphrxmkarthasngkhramthicaekidinphayphakhhna kxngthphkhxngsmingthxaelasmingsxtudsurbknphaynxkemuxnghngsawdi dansmingthxidrbchychna smingsxtudthukcbaelathuksaercothsemuxeduxnsinghakhm kh s 1550 hlngcakkhrxngsirirachsmbtiidephiyng 1 eduxness odysmingthxphuepnphraxnuchakhxngphraecaskarawutphikstriyxngkhsudthayaehngrachxanackrhngsawdiidxangsiththiinrachbllngktxmaxangxingLt Gen Sir Arthur P Phayre 1883 History of Burma 1967 ed London Susil Gupta pp 102 105 Ava Kings Hmannan Yazawin phasaphma Vol 2 2003 ed Yangon Ministry of Information Myanmar 1829 pp 258 259