นีแอนเดอร์ทาล ช่วงเวลาที่มีชีวิตอยู่: – 0.25–0.040Ma | |
---|---|
กะโหลกนีแอนเดอร์ทาลที่ | |
โครงกระดูกนีแอนเดอร์ทาลที่ | |
สถานะการอนุรักษ์ | |
การจำแนกชั้นทางวิทยาศาสตร์ | |
อาณาจักร: | Animalia |
ไฟลัม: | Chordata |
ชั้น: | Mammalia |
อันดับ: | Primates |
อันดับย่อย: | Haplorhini |
วงศ์: | Hominidae |
สกุล: | Homo |
ชื่อทวินาม | |
Homo neanderthalensis , 1864 | |
แผนที่การกระจายพันธุ์ของ Homo neanderthalensis ทางด้านตะวันออกและด้านเหนืออาจกว้างถึงโอคลัดนีคอฟในเทือกเขาอัลไต และมามอตนายาในเทือกเขายูรัล | |
ชื่อพ้อง | |
Homo
Palaeoanthropus
Protanthropus
Acanthropus
|
นีแอนเดอร์ทาล (ชื่อวิทยาศาสตร์: Homo neanderthalensis) คือมนุษย์ยุคก่อนประวัติศาสตร์ชนิดหนึ่ง ปัจจุบันนี้ได้สูญพันธุ์ไปหมดแล้ว โดยจัดอยู่ในสกุลเดียวกับมนุษย์ยุคปัจจุบัน คือ Homo และมีชีวิตอยู่ในทวีปยูเรเชียจนถึงเมื่อประมาณ 40,000 ปีก่อน
นีแอนเดอร์ทาลถูกค้นพบครั้งแรกเมื่อปี ค.ศ. 1856 ที่ถ้ำเฟลด์โฮเฟอร์ในหุบเขา ใกล้เมืองดึสเซลดอร์ฟ ทางตอนเหนือของเยอรมนี โดยคนงานเหมืองขุดค้นพบกระดูกโบราณซึ่งตอนแรกเข้าใจว่าเป็นหมี และได้ส่งกระดูกนั้นแก่นักธรรมชาติวิทยา ฟูลรอทท์จึงได้ส่งต่อให้แก่นักกายวิภาควิทยา เมื่อวิเคราะห์อย่างละเอียดแล้วจึงพบว่าเป็นมนุษย์ดึกดำบรรพ์ชนิดใหม่ จึงให้ชื่อว่า "นีแอนเดอร์ทาล" เพื่อเป็นเกียรติแก่หุบเขาเนอันเดอร์ สถานที่ที่ค้นพบ
เมื่อเปรียบเทียบทางกายวิภาคกับ นีแอนเดอร์ทาลมีรูปร่างที่กำยำล่ำสัน แข็งแรงกว่า มีขาและแขนท่อนล่างที่สั้นกว่า ซึ่งสื่อให้เห็นถึงวิวัฒนาการของการปรับตัวในสภาพอากาศที่หนาวเย็น รวมถึงมีภูมิคุ้มกันโรคที่ดีกว่ามนุษย์ปัจจุบัน แต่มีระดับสติปัญญาที่ต่ำกว่า ด้วยเหตุนี้เป็นสาเหตุหลักที่เชื่อว่าทำให้สูญพันธุ์ นีแอนเดอร์ทาลเพศชายมีความสูงเฉลี่ยอยู่ที่ 164 ถึง 168 เซนติเมตร ส่วนเพศหญิงมีความสูงเฉลี่ยอยู่ระหว่าง 152 ถึง 156 เซนติเมตร ปัจจุบันยังไม่มีหลักฐานว่านีแอนเดอร์ทาลสามารถสื่อสารเชิงสัญลักษณ์ระหว่างกันได้ในระดับสูง หรือสามารถใช้ภาษาได้เหมือนอย่างมนุษย์ Homo sapiens
João Zilhão ศาสตราจารย์แห่งมหาวิทยาลัยลิสบอนกล่าวว่ามนุษย์นีแอนเดอร์ทัลมีความสามารถในการใช้สัญลักษณ์และคิดเชิงนามธรรมตามถ้ำในสเปน
ปัจจุบัน นักวิทยาศาสตร์ชาวสวีเดนได้ถอดรหัสพันธุกรรมของนีแอนเดอร์ทาลได้เป็นผลสำเร็จเมื่อปี ค.ศ. 2010 พบว่า นีแอนเดอร์ทาลและมนุษย์ปัจจุบันได้พบกันครั้งแรกเมื่อราว 40,000 ปีก่อน ที่ทวีปแอฟริกา และหลังจากได้อพยพออกมาจากแอฟริกา มนุษย์ทั้งสองชนิดนี้ได้ผสมข้ามพันธุ์กัน จึงเกิดเป็นมนุษย์พันธุ์ผสม และจากการศึกษาพบว่าประชากรมนุษย์สมัยใหม่ (modern human) ในปัจจุบันที่อยู่นอกเหนือจากประชากรพื้นเมืองในทวีปแอฟริกา ล้วนมียีน หรือข้อมูลพันธุกรรมของนีแอนเดอร์ทาลผสมอยู่ปะปนกันโดยเฉลี่ยประมาณ 2 เปอร์เซ็นต์ โดยเชื้อชาติที่พบมากที่สุด คือ ชาวอิตาลี มี DNA ของนีแอนเดอร์ทาลผสมอยู่ที่ร้อยละ 4
การวิวัฒนาการ
แต่เดิมเชื่อกันว่าทั้งนีแอนเดอร์ทาล และมนุษย์สมัยใหม่ล้วนแต่วิวัฒนาการมาจาก โฮโม อิเร็กตัส เมื่อราว 300,000 ถึง 200,000 ปีที่แล้ว โดย โฮโม อิเร็กตัส ปรากฏตัวขึ้นเมื่อราว 1.8 ล้านปีก่อน และดำรงอยู่สืบเนื่องมาเป็นเวลานานในสายพันธุ์ย่อยต่าง ๆ ทั่วทวีปยูเรเชีย ต่อมาในช่วง 800,000 ถึง 400,000 ปีที่แล้ว มนุษย์นีแอนเดอร์ทาล และมนุษย์ Homo sapiens โบราณก็เริ่มวิวัฒนาการแยกออกจากกัน โดยปัจจุบันเชื่อว่ามนุษย์ (Homo heidelbergensis) ซึ่งดำรงอยู่ระหว่าง 6 แสน ถึง 3 แสนปีก่อน เป็นบรรพบุรุษร่วมกันที่ใกล้ที่สุดของนีแอนเดอร์ทาล และมนุษย์สมัยใหม่ แต่หลักฐานทางพันธุกรรมจากฟอสซิล Sima de los Huesos ที่ตีพิมพ์ในปี ค.ศ. 2016 ดูจะชี้ว่า H. heidelbergensis ทั้งสายพันธุ์อาจจะถือได้ว่าเป็นส่วนหนึ่งของสายพันธุ์นีแอนเดอร์ทาล, ในฐานะ "นีแอนเดอร์ทาลบุพกาล" หรือ "pre-Neanderthal," ทำให้ช่วงเวลาแตกสายพันธุ์ระหว่างนีแอนเดอร์ทาล และมนุษย์สมัยใหม่อาจจะต้องย้อนกลับไปจนถึงช่วงเวลาที่ H. heidelbergensis ปรากฏตัวขึ้น
อ้างอิง
- อ้างอิงผิดพลาด: ป้ายระบุ
<ref>
ไม่ถูกต้อง ไม่มีการกำหนดข้อความสำหรับอ้างอิงชื่อhaeckel
- (1906). Studien zur Vorgeschichte des Menschen [Studies on the history of man] (ภาษาเยอรมัน). Stuttgart, E. Nägele. doi:10.5962/bhl.title.61918. :2027/uc1.b4298459.
- (1909). "Preuves que l'Homo Mousteriensis Hauseri appartient au type de Neandertal" [Evidence that Homo Mousteriensis Hauseri belongs to the Neanderthal type]. L'Homme Préhistorique (ภาษาฝรั่งเศส). 7: 10–16.
- Romeo, Luigi (1979). Ecce Homo!: a lexicon of man. John Benjamins Publishing Company. p. 92. ISBN .
- McCown, T.; (1939). The stone age of Mount Carmel. The fossil human remains from the Levalloisso-Mousterian. Vol. 2. Clarenden Press.
- Szalay, F. S.; Delson, E. (2013). Evolutionary history of the Primates. Academic Press. p. 508. ISBN .
- Koto, Koray (2022-11-02). "The Origin of Art and the Early Examples of Paleolithic Art" (ภาษาอังกฤษแบบอเมริกัน).
- หน้า 3 ในประเทศ, 'ถอดรหัสมนุษย์นีแอนเดอร์ธัล' . "NationTV Unpdate" โดย นันทพร ไวศยะสุวรรณ์. คมชัดลึกปีที่ 15 ฉบับที่ 5444: วันพฤหัสบดีที่ 15 กันยายน พ.ศ. 2559
แหล่งข้อมูลอื่น
ข้อมูลที่เกี่ยวข้องกับ Homo neanderthalensis ที่วิกิสปีชีส์
wikipedia, แบบไทย, วิกิพีเดีย, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด, บทความ, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม, มือถือ, โทรศัพท์, Android, iOS, Apple, โทรศัพท์โมบิล, Samsung, iPhone, Xiomi, Xiaomi, Redmi, Honor, Oppo, Nokia, Sonya, MI, PC, พีซี, web, เว็บ, คอมพิวเตอร์
niaexnedxrthal chwngewlathimichiwitxyu 0 25 0 040Ma PreꞒ Ꞓ O S D C P T J K Pg N kaohlkniaexnedxrthalthiokhrngkradukniaexnedxrthalthisthanakarxnurkssuyphnthu IUCN 3 1 karcaaenkchnthangwithyasastrxanackr Animaliaiflm Chordatachn Mammaliaxndb Primatesxndbyxy Haplorhiniwngs Hominidaeskul HomochuxthwinamHomo neanderthalensis 1864aephnthikarkracayphnthukhxng Homo neanderthalensis thangdantawnxxkaeladanehnuxxackwangthungoxkhldnikhxfinethuxkekhaxlit aelamamxtnayainethuxkekhayurlchuxphxngHomo H stupidus 1895 H europaeus primigenius Wilser 1898 H primigenius 1906 H antiquus Adloff 1908 H transprimigenius mousteriensis Farrer 1908 H mousteriensis hauseri 1909 H priscus 1909 H chapellensis 1911 H calpicus 1911 H acheulensis moustieri Wiegers 1915 H lemousteriensis Wiegers 1915 H naulettensis Baudouin 1916 H sapiens neanderthalensis Kleinshmidt 1922 H heringsdorfensis Werthe 1928 H galilensis Joleaud 1931 H primigenius galilaeensis Sklerj 1937 H kiikobiensis Bontsch Osmolovskii 1940 H sapiens krapinensis Campbell 1962 H erectus mapaensis Kurth 1965 Palaeoanthropus P neanderthalensis and 1939 P heidelbergensis and 1939 P ehringsdorfensis Paterson 1940 P krapinensis Sergi 1911 P palestinensis and 1939 P europaeus Sergi 1910 Protanthropus P atavus 1895 P tabunensis Bonarelli 1944 Acanthropus A neanderthalensis Arldt 1915 A primigenius 1920 A neanderthalensis 1926 niaexnedxrthal chuxwithyasastr Homo neanderthalensis khuxmnusyyukhkxnprawtisastrchnidhnung pccubnniidsuyphnthuiphmdaelw odycdxyuinskulediywkbmnusyyukhpccubn khux Homo aelamichiwitxyuinthwipyuerechiycnthungemuxpraman 40 000 pikxn niaexnedxrthalthukkhnphbkhrngaerkemuxpi kh s 1856 thithaefldohefxrinhubekha iklemuxngdusesldxrf thangtxnehnuxkhxngeyxrmni odykhnnganehmuxngkhudkhnphbkradukobransungtxnaerkekhaicwaepnhmi aelaidsngkraduknnaeknkthrrmchatiwithya fulrxththcungidsngtxihaeknkkaywiphakhwithya emuxwiekhraahxyanglaexiydaelwcungphbwaepnmnusydukdabrrphchnidihm cungihchuxwa niaexnedxrthal ephuxepnekiyrtiaekhubekhaenxnedxr sthanthithikhnphb emuxepriybethiybthangkaywiphakhkb niaexnedxrthalmiruprangthikayalasn aekhngaerngkwa mikhaaelaaekhnthxnlangthisnkwa sungsuxihehnthungwiwthnakarkhxngkarprbtwinsphaphxakasthihnaweyn rwmthungmiphumikhumknorkhthidikwamnusypccubn aetmiradbstipyyathitakwa dwyehtuniepnsaehtuhlkthiechuxwathaihsuyphnthu niaexnedxrthalephschaymikhwamsungechliyxyuthi 164 thung 168 esntiemtr swnephshyingmikhwamsungechliyxyurahwang 152 thung 156 esntiemtr pccubnyngimmihlkthanwaniaexnedxrthalsamarthsuxsarechingsylksnrahwangknidinradbsung hruxsamarthichphasaidehmuxnxyangmnusy Homo sapiens Joao Zilhao sastracaryaehngmhawithyalylisbxnklawwamnusyniaexnedxrthlmikhwamsamarthinkarichsylksnaelakhidechingnamthrrmtamthainsepn pccubn nkwithyasastrchawswiednidthxdrhsphnthukrrmkhxngniaexnedxrthalidepnphlsaercemuxpi kh s 2010 phbwa niaexnedxrthalaelamnusypccubnidphbknkhrngaerkemuxraw 40 000 pikxn thithwipaexfrika aelahlngcakidxphyphxxkmacakaexfrika mnusythngsxngchnidniidphsmkhamphnthukn cungekidepnmnusyphnthuphsm aelacakkarsuksaphbwaprachakrmnusysmyihm modern human inpccubnthixyunxkehnuxcakprachakrphunemuxnginthwipaexfrika lwnmiyin hruxkhxmulphnthukrrmkhxngniaexnedxrthalphsmxyupapnknodyechliypraman 2 epxresnt odyechuxchatithiphbmakthisud khux chawxitali mi DNA khxngniaexnedxrthalphsmxyuthirxyla 4karwiwthnakaraetedimechuxknwathngniaexnedxrthal aelamnusysmyihmlwnaetwiwthnakarmacak ohom xierkts emuxraw 300 000 thung 200 000 pithiaelw ody ohom xierkts prakttwkhunemuxraw 1 8 lanpikxn aeladarngxyusubenuxngmaepnewlananinsayphnthuyxytang thwthwipyuerechiy txmainchwng 800 000 thung 400 000 pithiaelw mnusyniaexnedxrthal aelamnusy Homo sapiens obrankerimwiwthnakaraeykxxkcakkn odypccubnechuxwamnusy Homo heidelbergensis sungdarngxyurahwang 6 aesn thung 3 aesnpikxn epnbrrphburusrwmknthiiklthisudkhxngniaexnedxrthal aelamnusysmyihm aethlkthanthangphnthukrrmcakfxssil Sima de los Huesos thitiphimphinpi kh s 2016 ducachiwa H heidelbergensis thngsayphnthuxaccathuxidwaepnswnhnungkhxngsayphnthuniaexnedxrthal inthana niaexnedxrthalbuphkal hrux pre Neanderthal thaihchwngewlaaetksayphnthurahwangniaexnedxrthal aelamnusysmyihmxaccatxngyxnklbipcnthungchwngewlathi H heidelbergensis prakttwkhunxangxingxangxingphidphlad payrabu lt ref gt imthuktxng immikarkahndkhxkhwamsahrbxangxingchux haeckel 1906 Studien zur Vorgeschichte des Menschen Studies on the history of man phasaeyxrmn Stuttgart E Nagele doi 10 5962 bhl title 61918 2027 uc1 b4298459 1909 Preuves que l Homo Mousteriensis Hauseri appartient au type de Neandertal Evidence that Homo Mousteriensis Hauseri belongs to the Neanderthal type L Homme Prehistorique phasafrngess 7 10 16 Romeo Luigi 1979 Ecce Homo a lexicon of man John Benjamins Publishing Company p 92 ISBN 978 90 272 2006 6 McCown T 1939 The stone age of Mount Carmel The fossil human remains from the Levalloisso Mousterian Vol 2 Clarenden Press Szalay F S Delson E 2013 Evolutionary history of the Primates Academic Press p 508 ISBN 978 1 4832 8925 0 Koto Koray 2022 11 02 The Origin of Art and the Early Examples of Paleolithic Art phasaxngkvsaebbxemrikn hna 3 inpraeths thxdrhsmnusyniaexnedxrthl NationTV Unpdate ody nnthphr iwsyasuwrrn khmchdlukpithi 15 chbbthi 5444 wnphvhsbdithi 15 knyayn ph s 2559aehlngkhxmulxunwikimiediykhxmmxnsmisuxthiekiywkhxngkb Homo neanderthalensis khxmulthiekiywkhxngkb Homo neanderthalensis thiwikispichis bthkhwamstwniyngepnokhrng khunsamarthchwywikiphiediyidodykarephimetimkhxmuldkhk