สถาปัตยกรรมไทยสมัยใหม่ คือรูปแบบสถาปัตยกรรมสมัยใหม่ในประเทศไทย ซึ่งมักได้รับการอธิบายว่า เป็นการแตกแขนงมาจากสถาปัตยกรรมสมัยใหม่ในยุโรปและอเมริกาเหนือซึ่งอาจกล่าวได้ว่าเป็นจุดกำเนิดสถาปัตยกรรมแขนงนี้ โดยปรับใช้ให้เข้ากับปัจจัยแวดล้อมด้านต่าง ๆ ในประเทศไทย โดยมากเน้นด้านภูมิอากาศที่แตกต่างกัน
ที่มา
บริบท
สถาปัตยกรรมสมัยใหม่เริ่มสร้างมาตั้งแต่สงครามโลกครั้งที่สองเป็นต้นมา ที่สร้างขึ้นในบริบทความเป็นสมัยใหม่ ในแต่ละประเทศซึ่งอาจมีความแตกต่างกันในทางการเมือง สังคม วัฒนธรรม และเทคโนโลยีในช่วงเวลาเดียวกัน หรือแตกต่างกันในศตวรรษดังกล่าว แต่มีความเชื่อมโยงกันในบางแง่มุม ในยุโรป ลักษณะสถาปัตยกรรมสมัยใหม่ เป็นการออกแบบผังแบบเปิด การใช้คอนกรีต เหล็ก และกระจก การใช้เสาลอย การต่อต้านเครื่องประดับตกแต่ง เป็นต้น
ในประเทศไทยมีสถาปัตยกรรมที่ได้รับอิทธิพลจากตะวันตกที่สร้างขึ้นอย่างแพร่หลายตั้งแต่พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ถึง พ.ศ. 2475 ในช่วงก่อนสงครามโลกครั้งที่สอง มีอาคารที่ผสานผัง วัสดุและงานระบบซึ่งตอบรับการใช้งานสมัยใหม่เข้ากับองค์ประกอบสถาปัตยกรรมไทย ที่เรียกว่า "สถาปัตยกรรมไทยประยุกต์" ตัวอย่างเช่น หอประชุมจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยซึ่งเป็นงานออกแบบร่วมกันระหว่างพระสาโรชรัตนนิมมานก์ (สาโรช สุขยางค์) และ พระพรหมพิจิตร (พรหม พรหมพิจิตร) งานสถาปัตยกรรมสมัยนี้เป็นการผสมผสานความรู้สถาปัตยกรรมสมัยใหม่ให้เข้ากับความคิดวิธีตามอย่างครูหรือสถาปัตยกรรมไทยประเพณี
จุดเริ่มต้น
นับแต่หลังการเปลี่ยนแปลงการปกครอง สถาปนิกไทยที่ได้รับการศึกษาจากยุโรปเริ่มมีบทบาทสำคัญในวงการออกแบบก่อสร้างในประเทศไทยแทนสถาปนิกต่างชาติ ได้แนวคิดทางด้านนวยุคนิยมมากขึ้นตามลำดับ สถาปนิกในช่วงพุทธทศวรรษ 2500–2520 ซึ่งได้รับการศึกษาจากต่างประเทศ ได้รับอิทธิพลของสถาปัตยกรรมสมัยใหม่ จึงทำให้เริ่มมีการชะงักของสถาปัตยกรรมไทยประยุกต์
ตัวอย่างแรก ๆ ของสถาปัตยกรรมไทยสมัยใหม่คือ อาคารพิพิธภัณฑ์วิทยาศาสตร์ ภายในบริเวณท้องฟ้าจำลอง กรุงเทพมหานคร (พ.ศ. 2519) ออกแบบโดยสุเมธ ชุมสาย ณ อยุธยา อาคารรูปแบบสถาปัตยกรรมไทยสมัยใหม่ยุคแรกเริ่ม มีลักษณะเป็นอาคารรูปทรงเรขาคณิตและเทคนิคการหล่อคอนกรีดแทนการก่ออิฐถือปูนแบบเดิม ๆ จัดวางผังอาคารโดยคำนึงถึงสภาพแวดล้อมเพื่อประหยัดการใช้พลังงาน ออกแบบแผงกันแดดแทนการใช้ชายคา พื้นผิวเปลือย แสดงเนื้อแท้ของวัสดุ หลายงานได้รับอิทธิพลจากเลอกอร์บูซีเย ตัวอย่างอาคารเช่น ตึก 9 (พ.ศ. 2513) ออกแบบโดยองอาจ สาตรพันธุ์ โรงแรมอินทรา (พ.ศ. 2513) โชคชัยอินเตอร์ชั่นแนล (พ.ศ. 2512) ออกแบบโดยรังสรรค์ ต่อสุวรรณ และสำนักงานใหญ่ธนาคารกรุงเทพ ถนนสีลม (พ.ศ. 2524) เป็นต้น
ปัจจุบัน
การขยายตัวทางเศรษฐกิจขนานใหญ่ในช่วง พ.ศ. 2526–2539 ที่ทําให้เกิดการก่อสร้างอาคารจํานวนมาก มีงานออกแบบและสร้างในรูปแบบที่เรียกกันทั่วไปว่า "กล่องกระจก" หรืออาคารพาณิชยกรรมหรือพักอาศัยในรูปแบบสถาปัตยกรรมตะวันตกในอดีต หลังวิกฤตต้มยำกุ้งในปี พ.ศ. 2540 สถาปัตยกรรมของไทยเกิดจากการผสมเอกลักษณ์ของอาคารพื้นถิ่นและอิทธิพลของสถาปัตยกรรมสมัยใหม่ เช่นผลงานของนิธิ สถาปิตานนท์, ดวงฤทธิ์ บุนนาค, อมตะ หลูไพบูลย์, และ คำนึงถึงลักษณะทางภูมิศาสตร์และสภาพภูมิอากาศ
อ้างอิง
- สถาปัตยกรรมแบบตะวันตกในสยาม สมัยรัชกาลที่ 4–พ.ศ. 2480. (กรุงเทพฯ : คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร, 2553).
- ชมชน ฟูสินไพบูลย์. "ประวัติศาสตร์นิพนธ์ด้านสถาปัตยกรรมสมัยใหม่ ในประเทศไทย". หน้าจั่ว. 2559 (13).
- Horayangkura, Vimolsiddhi (2010). "The Creation of Cultural Heritage: Towards Creating a Modern Thai Architectural Identity". Manusya Journal of Humanities. 13 (1): 7.
- "Modern Thai Architecture 1967-1987 อยากทันสมัย สถาปัตยกรรมสมัยใหม่ของไทย พ.ศ. 2510 — 2530". TCDC.
- Jenchieh Hung และ กุลธิดา ทรงกิตติภักดี. "New Waves of Thai Architects คลื่นระลอกใหม่จากสถาปัตยกรรมร่วมสมัยในประเทศไทย". สมาคมสถาปนิกสยามในพระบรมราชูปถัมภ์.
wikipedia, แบบไทย, วิกิพีเดีย, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด, บทความ, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม, มือถือ, โทรศัพท์, Android, iOS, Apple, โทรศัพท์โมบิล, Samsung, iPhone, Xiomi, Xiaomi, Redmi, Honor, Oppo, Nokia, Sonya, MI, PC, พีซี, web, เว็บ, คอมพิวเตอร์
sthaptykrrmithysmyihm khuxrupaebbsthaptykrrmsmyihminpraethsithy sungmkidrbkarxthibaywa epnkaraetkaekhnngmacaksthaptykrrmsmyihminyuorpaelaxemrikaehnuxsungxacklawidwaepncudkaenidsthaptykrrmaekhnngni odyprbichihekhakbpccyaewdlxmdantang inpraethsithy odymakenndanphumixakasthiaetktangknthimabribth sthaptykrrmsmyihmerimsrangmatngaetsngkhramolkkhrngthisxngepntnma thisrangkhuninbribthkhwamepnsmyihm inaetlapraethssungxacmikhwamaetktangkninthangkaremuxng sngkhm wthnthrrm aelaethkhonolyiinchwngewlaediywkn hruxaetktangkninstwrrsdngklaw aetmikhwamechuxmoyngkninbangaengmum inyuorp lksnasthaptykrrmsmyihm epnkarxxkaebbphngaebbepid karichkhxnkrit ehlk aelakrack karichesalxy kartxtanekhruxngpradbtkaetng epntn inpraethsithymisthaptykrrmthiidrbxiththiphlcaktawntkthisrangkhunxyangaephrhlaytngaetphrabathsmedcphracxmeklaecaxyuhw thung ph s 2475 inchwngkxnsngkhramolkkhrngthisxng mixakharthiphsanphng wsduaelanganrabbsungtxbrbkarichngansmyihmekhakbxngkhprakxbsthaptykrrmithy thieriykwa sthaptykrrmithyprayukt twxyangechn hxprachumculalngkrnmhawithyalysungepnnganxxkaebbrwmknrahwangphrasaorchrtnnimmank saorch sukhyangkh aela phraphrhmphicitr phrhm phrhmphicitr ngansthaptykrrmsmyniepnkarphsmphsankhwamrusthaptykrrmsmyihmihekhakbkhwamkhidwithitamxyangkhruhruxsthaptykrrmithypraephni cuderimtn tuk 9 ph s 2513 xxkaebbodyxngxac satrphnthu nbaethlngkarepliynaeplngkarpkkhrxng sthapnikithythiidrbkarsuksacakyuorperimmibthbathsakhyinwngkarxxkaebbkxsranginpraethsithyaethnsthapniktangchati idaenwkhidthangdannwyukhniymmakkhuntamladb sthapnikinchwngphuthththswrrs 2500 2520 sungidrbkarsuksacaktangpraeths idrbxiththiphlkhxngsthaptykrrmsmyihm cungthaiherimmikarchangkkhxngsthaptykrrmithyprayukt twxyangaerk khxngsthaptykrrmithysmyihmkhux xakharphiphithphnthwithyasastr phayinbriewnthxngfacalxng krungethphmhankhr ph s 2519 xxkaebbodysuemth chumsay n xyuthya xakharrupaebbsthaptykrrmithysmyihmyukhaerkerim milksnaepnxakharrupthrngerkhakhnitaelaethkhnikhkarhlxkhxnkridaethnkarkxxiththuxpunaebbedim cdwangphngxakharodykhanungthungsphaphaewdlxmephuxprahydkarichphlngngan xxkaebbaephngknaeddaethnkarichchaykha phunphiwepluxy aesdngenuxaethkhxngwsdu hlaynganidrbxiththiphlcakelxkxrbusiey twxyangxakharechn tuk 9 ph s 2513 xxkaebbodyxngxac satrphnthu orngaermxinthra ph s 2513 ochkhchyxinetxrchnaenl ph s 2512 xxkaebbodyrngsrrkh txsuwrrn aelasanknganihythnakharkrungethph thnnsilm ph s 2524 epntn pccubn karkhyaytwthangesrsthkickhnanihyinchwng ph s 2526 2539 thithaihekidkarkxsrangxakharcanwnmak minganxxkaebbaelasranginrupaebbthieriykknthwipwa klxngkrack hruxxakharphanichykrrmhruxphkxasyinrupaebbsthaptykrrmtawntkinxdit hlngwikvttmyakunginpi ph s 2540 sthaptykrrmkhxngithyekidcakkarphsmexklksnkhxngxakharphunthinaelaxiththiphlkhxngsthaptykrrmsmyihm echnphlngankhxngnithi sthapitannth dwngvththi bunnakh xmta hluiphbuly aela khanungthunglksnathangphumisastraelasphaphphumixakasxangxingsthaptykrrmaebbtawntkinsyam smyrchkalthi 4 ph s 2480 krungethph khnasthaptykrrmsastr mhawithyalysilpakr 2553 chmchn fusiniphbuly prawtisastrniphnthdansthaptykrrmsmyihm inpraethsithy hnacw 2559 13 Horayangkura Vimolsiddhi 2010 The Creation of Cultural Heritage Towards Creating a Modern Thai Architectural Identity Manusya Journal of Humanities 13 1 7 Modern Thai Architecture 1967 1987 xyakthnsmy sthaptykrrmsmyihmkhxngithy ph s 2510 2530 TCDC Jenchieh Hung aela kulthida thrngkittiphkdi New Waves of Thai Architects khlunralxkihmcaksthaptykrrmrwmsmyinpraethsithy smakhmsthapniksyaminphrabrmrachupthmph