สถาปัตยกรรมไทยประยุกต์ เป็นรูปแบบหนึ่งของสถาปัตยกรรมไทยที่นำสถาปัตยกรรมไทยในอดีตมาร่วมใช้กับสถาปัตยกรรมสมัยใหม่
สถาปัตยกรรมไทยประเพณีแต่เดิมนั้นใช้เฉพาะกับอาคารของราชสำนักและอาคารทางศาสนา จึงมีข้อจำกัดในการนำมาใช้กับอาคารประเภทอื่น ๆ ของสังคมปัจจุบัน เช่น อาคารพาณิชยกรรม อาคารราชการ รวมทั้งอาคารศาล และอาคารรัฐสภา เป็นต้น ผนวกกับความต้องการสืบสานเอกลักษณ์ไทยให้เหมาะสมกับเทคโนโลยีการก่อสร้างและวัสดุก่อสร้างสมัยใหม่ นำมาสู่การประยุกต์รูปแบบสถาปัตยกรรมไทยในอดีตเป็นรูปแบบที่เรียกโดยเฉพาะว่า "สถาปัตยกรรมไทยประยุกต์"
ที่มา
สถาปัตยกรรมสมัยสมบูรณาญาสิทธิราชย์ เริ่มมีการสร้างสถาปัตยกรรมแบบผสมผสานระหว่างสถาปัตยกรรมแบบจารีตของสยามเข้ากับแบบตะวันตก ในสมัยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว เช่น วัดเบญจมบพิตรดุสิตวนารามราชวรวิหาร พระที่นั่งจักรีมหาปราสาท และพระอุโบสถวัดนิเวศธรรมประวัติราชวรวิหาร
ในสมัยพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว มีการสร้างสถาปัตยกรรมไทยประยุกต์ ที่นําเอารูปแบบสถาปัตยกรรมแบบจารีตของไทยไปสวมทับ บนตึกอาคารที่มีการใช้สอยสมัยใหม่แบบตะวันตก เพื่อแสดงให้เห็นว่าชาติไทยไม่ใช่ชาติที่ป่าเถื่อน ควบคู่ไปกับการยืนยันว่ารูปแบบศิลปะแบบจารีตของสยามมีเอกลักษณ์ของตนเอง ตัวอย่างเช่น โรงเรียนมหาดเล็กหลวง (ต่อมาเป็น โรงเรียนวชิราวุธ)
ในสมัยจอมพล ป. พิบูลสงคราม ด้วยนโยบายรัฐนิยมโดยอาศัยสุนทรีภาพในการแสดงอำนาจทางการเมือง ได้มีการบัญชาให้กรมโยธาธิการซึ่งรับผิดชอบการออกแบบอาคารราชการทั้งหลาย ออกแบบอาคารที่ทำการกระทรวงต่าง ๆ ให้มีลักษณะความเป็นไทย โดยมีการใช้หลังคาทรงสูง ก่อสร้างด้วยวัสดุที่มีความคงทนถาวรอย่างคอนกรีต ลดรายละเอียดสถาปัตยกรรม โดยระหว่าง พ.ศ. 2490–2500 อาคารราชการและอาคารสาธารณะต่าง ๆ ของไทย ไม่ว่าจะเป็นศาลากลาง ศาลหลักเมือง มักออกแบบเป็นสถาปัตยกรรมไทยประยุกต์ มีลักษณะเป็นสถาปัตยกรรมไทยคอนกรีตประยุกต์แบบสกุลช่างพระพรหมพิจิตร (พรหม พรหมพิจิตร) สถาปนิกที่มีบทบาทอีกท่าน คือ หม่อมเจ้าสมัยเฉลิม กฤดากร สถาปัตยกรรมยุคนี้มักมีความคล้ายคลึงกันหมด กล่าวคือ มีผังรูปสี่เหลี่ยมผืนผ้าแนวยาว มักมีมุขอาคารยื่นออกมาตรงกลางของผังอาคารซึ่งเป็นทางเข้าหลัก และอาจยื่นออกเป็น 3 มุข มีองค์ประกอบสถาปัตยกรรมแบบจารีต เช่น การใช้เสาอิงประดับผนังอาคาร มีค้ำยันรับหลังคา ปั้นลมคอนกรีต เป็นต้น
ในช่วงพุทธทศวรรษ 2500–2520 สถาปนิกซึ่งสำเร็จการศึกษาจากต่างประเทศ และมีความรู้ความเข้าใจสถาปัตยกรรมไทยอย่างจำกัด เห็นว่าสถาปัตยกรรมไทยประยุกต์ไม่สอดคล้องกับยุคสมัยใหม่ ซึ่งในช่วงนั้นอิทธิพลของสถาปัตยกรรมสมัยใหม่ ที่กำลังแผ่เข้ามาผ่านระบบการศึกษาทางสถาปัตยกรรม จึงทำให้เริ่มมีการชะงักการใช้รูปแบบสถาปัตยกรรมไทยประยุกต์พร้อม ๆ กับความเสื่อมของลัทธิชาตินิยม
สถาปัตยกรรมไทยประยุกต์เห็นได้ชัดเจนมากขึ้นหลังเหตุการณ์วิกฤตการณ์การเงินในเอเชีย พ.ศ. 2540 การพัฒนาอสังหาริมทรัพย์ อาคารสํานักงาน ตึกสูง และห้างสรรพสินค้าขนาดใหญ่ได้รับผลกระทบโดยตรง จนเข้า พ.ศ. 2548 ที่ปัญหาทางเศรษฐกิจค่อย ๆ คลี่คลายลง แต่กลับเกิดสถาปัตยกรรมไทยในลักษณะร่วมสมัย เปิดโอกาสใหม่ให้กับการพัฒนางานสถาปัตยกรรมประเภทอื่น ๆ ในส่วนภูมิภาค อย่างสถาปัตยกรรมไทยประยุกต์
รูปแบบ
สันต์ สุวัจฉราภินันท์ แบ่งการประยุกต์สถาปัตยกรรมไทย ได้แก่ การนำสถาปัตยกรรมไทยในอดีตมาร่วมใช้กับสถาปัตยกรรมสมัยใหม่ การเลือกใช้สัญลักษณ์บางส่วน เป็นการนำบางส่วนของสถาปัตยกรรมมาใช้เป็นสัญลักษณ์ในการสื่อสารโดยเน้นการแสดงออกถึงความร่วมสมัยมากกว่า และการตึความใหม่ เป็นการนำสถาปัตยกรรมสมัยก่อนมาผ่านกระบวนการออกแบบวิธีการจนได้ผลลัพธ์ที่เป็นสถาปัตยกรรมสมัยใหม่ ที่เป็นการสื่อสารในรูปแบบที่ว่าง แสง เงา รูปทรง เป็นต้น
อย่างไรก็ดีสถาปัตยกรรมในอดีตมีขนบในเรื่องฐานานุศักดิ์ซึ่งถือปฏิบัติอย่างเคร่งครัด การนำมาประยุกต์อาจเกิดความไม่เหมาะสม องค์ประกอบสถาปัตยกรรมไทยไปใช้โดยรู้เท่าไม่ถึงการณ์ หรือรู้แล้วก็ดันทุรังจะทำเพื่อการต่อยอดทางธุรกิจ ตัวอย่างเช่น กุฎาคาร คือ บริเวณส่วนบนของอาคารที่มียอดแหลม ตามประเพณีจะยกย่องว่าเป็นของสูงสร้างสำหรับพระมหากษัตริย์โดยเฉพาะ หรือพระมหากษัตริย์โปรดเกล้าฯ ให้สร้างขึ้นเพื่อเป็นพุทธบูชาเท่านั้น
อ้างอิง
- Horayangkura, V. (1994). สถาปัตยกรรมไทย ข้อจำกัดและทางเลือกในการสืบสาน [Thai architecture: Limitations and alternatives in inheritance]. ASA – Journal of Architecture, November, 86-95.
- โดม ไกรปกรณ์ และ ธนสิษฐ์ ขุนทองพันธ์. "ความหมายทางการเมืองและความล้มเหลวของการสื่อความในงานสถาปัตยกรรมคณะราษฎร".
- ปติสร เพ็ญสุต. "ฝรั่งสวมชฎา". เดอะคลาวด์.
- ประกิตนนทการ, ชาตรี. การเมืองและสังคมในศิลปสถาปัตยกรรม สยามสมัย ไทยประยุกต์ ชาตินิยม. p. 421.
- Horayangkura, Vimolsiddhi (2010). "The Creation of Cultural Heritage: Towards Creating a Modern Thai Architectural Identity". Manusya Journal of Humanities. 13 (1): 7.
- "New Waves of Thai Architects คลื่นระลอกใหม่จากสถาปัตยกรรมร่วมสมัยในประเทศไทย". สมาคมสถาปนิกสยามในพระบรมราชูปถัมภ์.
- สันต์ สุวัจฉราภินันท์ และคณะฯ. (2555). สัญวิทยา: การถอดรหัสและการประยุกต์อัตลักษณ์ไทยเพื่อเป็นแนวทาง การออกแบบ. โครงการจัดประชุมวิชาการ ประจำปี 2555, 86–102.
- "สำนักสถาปัตยกรรม ห่วงฐานานุศักดิ์ ของ...สถาปัตยกรรมไทย". โพสต์ทูเดย์.
wikipedia, แบบไทย, วิกิพีเดีย, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด, บทความ, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม, มือถือ, โทรศัพท์, Android, iOS, Apple, โทรศัพท์โมบิล, Samsung, iPhone, Xiomi, Xiaomi, Redmi, Honor, Oppo, Nokia, Sonya, MI, PC, พีซี, web, เว็บ, คอมพิวเตอร์
sthaptykrrmithyprayukt epnrupaebbhnungkhxngsthaptykrrmithythinasthaptykrrmithyinxditmarwmichkbsthaptykrrmsmyihmhxrchmngkhl swnhlwng r 9 xxkaebbodyhmxmhlwngtrithsyuthth ethwkul ichaenwkhidkhxngphng 9 ehliymephuxkarechlimphraekiyrti karichesnsnhlngkhasikhawokhngiprwmknthicudyxdsungthxdrupaebbmacakmnthpinrupaebbsthaptykrrmithy sthaptykrrmithypraephniaetedimnnichechphaakbxakharkhxngrachsankaelaxakharthangsasna cungmikhxcakdinkarnamaichkbxakharpraephthxun khxngsngkhmpccubn echn xakharphanichykrrm xakharrachkar rwmthngxakharsal aelaxakharrthspha epntn phnwkkbkhwamtxngkarsubsanexklksnithyihehmaasmkbethkhonolyikarkxsrangaelawsdukxsrangsmyihm namasukarprayuktrupaebbsthaptykrrmithyinxditepnrupaebbthieriykodyechphaawa sthaptykrrmithyprayukt thimaithyaelndphawileliyn inpi ph s 2553 thiesiyngih satharnrthprachachncin sthaptykrrmsmysmburnayasiththirachy erimmikarsrangsthaptykrrmaebbphsmphsanrahwangsthaptykrrmaebbcaritkhxngsyamekhakbaebbtawntk insmyphrabathsmedcphraculcxmeklaecaxyuhw echn wdebycmbphitrdusitwnaramrachwrwihar phrathinngckrimhaprasath aelaphraxuobsthwdniewsthrrmprawtirachwrwihar insmyphrabathsmedcphramngkudeklaecaxyuhw mikarsrangsthaptykrrmithyprayukt thinaexarupaebbsthaptykrrmaebbcaritkhxngithyipswmthb bntukxakharthimikarichsxysmyihmaebbtawntk ephuxaesdngihehnwachatiithyimichchatithipaethuxn khwbkhuipkbkaryunynwarupaebbsilpaaebbcaritkhxngsyammiexklksnkhxngtnexng twxyangechn orngeriynmhadelkhlwng txmaepn orngeriynwchirawuth insmycxmphl p phibulsngkhram dwynoybayrthniymodyxasysunthriphaphinkaraesdngxanacthangkaremuxng idmikarbychaihkrmoythathikarsungrbphidchxbkarxxkaebbxakharrachkarthnghlay xxkaebbxakharthithakarkrathrwngtang ihmilksnakhwamepnithy odymikarichhlngkhathrngsung kxsrangdwywsduthimikhwamkhngthnthawrxyangkhxnkrit ldraylaexiydsthaptykrrm odyrahwang ph s 2490 2500 xakharrachkaraelaxakharsatharnatang khxngithy imwacaepnsalaklang salhlkemuxng mkxxkaebbepnsthaptykrrmithyprayukt milksnaepnsthaptykrrmithykhxnkritprayuktaebbskulchangphraphrhmphicitr phrhm phrhmphicitr sthapnikthimibthbathxikthan khux hmxmecasmyechlim kvdakr sthaptykrrmyukhnimkmikhwamkhlaykhlungknhmd klawkhux miphngrupsiehliymphunphaaenwyaw mkmimukhxakharyunxxkmatrngklangkhxngphngxakharsungepnthangekhahlk aelaxacyunxxkepn 3 mukh mixngkhprakxbsthaptykrrmaebbcarit echn karichesaxingpradbphnngxakhar mikhaynrbhlngkha pnlmkhxnkrit epntn inchwngphuthththswrrs 2500 2520 sthapniksungsaerckarsuksacaktangpraeths aelamikhwamrukhwamekhaicsthaptykrrmithyxyangcakd ehnwasthaptykrrmithyprayuktimsxdkhlxngkbyukhsmyihm sunginchwngnnxiththiphlkhxngsthaptykrrmsmyihm thikalngaephekhamaphanrabbkarsuksathangsthaptykrrm cungthaiherimmikarchangkkarichrupaebbsthaptykrrmithyprayuktphrxm kbkhwamesuxmkhxnglththichatiniym sthaptykrrmithyprayuktehnidchdecnmakkhunhlngehtukarnwikvtkarnkarengininexechiy ph s 2540 karphthnaxsngharimthrphy xakharsankngan tuksung aelahangsrrphsinkhakhnadihyidrbphlkrathbodytrng cnekha ph s 2548 thipyhathangesrsthkickhxy khlikhlaylng aetklbekidsthaptykrrmithyinlksnarwmsmy epidoxkasihmihkbkarphthnangansthaptykrrmpraephthxun inswnphumiphakh xyangsthaptykrrmithyprayuktrupaebbnganxxkaebbsppayasphasthanichaenwkhidineruxngkhxngitrphumi sathxnphannganxxkaebbihehmuxnphuekhakhnadihyodyichrupaebbngansmyihm inkhnathisunyklangkhxngsphaichecdiyculamni epnsylksntwaethntamrupaebbpraephniodytrng orngaermrayaburi patxng snt suwcchraphinnth aebngkarprayuktsthaptykrrmithy idaek karnasthaptykrrmithyinxditmarwmichkbsthaptykrrmsmyihm kareluxkichsylksnbangswn epnkarnabangswnkhxngsthaptykrrmmaichepnsylksninkarsuxsarodyennkaraesdngxxkthungkhwamrwmsmymakkwa aelakartukhwamihm epnkarnasthaptykrrmsmykxnmaphankrabwnkarxxkaebbwithikarcnidphllphththiepnsthaptykrrmsmyihm thiepnkarsuxsarinrupaebbthiwang aesng enga rupthrng epntn xyangirkdisthaptykrrminxditmikhnbineruxngthananuskdisungthuxptibtixyangekhrngkhrd karnamaprayuktxacekidkhwamimehmaasm xngkhprakxbsthaptykrrmithyipichodyruethaimthungkarn hruxruaelwkdnthurngcathaephuxkartxyxdthangthurkic twxyangechn kudakhar khux briewnswnbnkhxngxakharthimiyxdaehlm tampraephnicaykyxngwaepnkhxngsungsrangsahrbphramhakstriyodyechphaa hruxphramhakstriyoprdekla ihsrangkhunephuxepnphuththbuchaethannxangxingHorayangkura V 1994 sthaptykrrmithy khxcakdaelathangeluxkinkarsubsan Thai architecture Limitations and alternatives in inheritance ASA Journal of Architecture November 86 95 odm ikrpkrn aela thnsisth khunthxngphnth khwamhmaythangkaremuxngaelakhwamlmehlwkhxngkarsuxkhwaminngansthaptykrrmkhnarasdr ptisr ephysut frngswmchda edxakhlawd prakitnnthkar chatri karemuxngaelasngkhminsilpsthaptykrrm syamsmy ithyprayukt chatiniym p 421 Horayangkura Vimolsiddhi 2010 The Creation of Cultural Heritage Towards Creating a Modern Thai Architectural Identity Manusya Journal of Humanities 13 1 7 New Waves of Thai Architects khlunralxkihmcaksthaptykrrmrwmsmyinpraethsithy smakhmsthapniksyaminphrabrmrachupthmph snt suwcchraphinnth aelakhna 2555 sywithya karthxdrhsaelakarprayuktxtlksnithyephuxepnaenwthang karxxkaebb okhrngkarcdprachumwichakar pracapi 2555 86 102 sanksthaptykrrm hwngthananuskdi khxng sthaptykrrmithy ophstthuedy