สถานีอวกาศมีร์ (รัสเซีย: Мир; โลก และ สันติภาพ) เป็นสถานีอวกาศที่ประสบความสำเร็จสูงสุดของรัสเซีย และนับเป็นสถานีวิจัยถาวรระยะยาวแห่งแรกในอวกาศของมนุษยชาติ นักบินอวกาศจากหลายชาติได้ใช้งานสถานีอวกาศแห่งนี้ผ่านความร่วมมือระหว่างประเทศ สถานีประกอบด้วยมอดูลต่าง ๆ หลายมอดูล แต่ละส่วนถูกทะยอยนำขึ้นสู่อวกาศ เริ่มจากส่วนแรกในวันที่ 19 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2529 จนถึงมอดูลสุดท้ายในปี พ.ศ. 2539 สถานีอวกาศมีร์หมดอายุการใช้งานและถูกเผาทำลายในบรรยากาศโลกเมื่อวันที่ 23 มีนาคม พ.ศ. 2544 ด้วยประสบการณ์ในการพัฒนาสถานีอวกาศ Salyut Station ในช่วงปี 1971 ถึง 1982 ทำให้สถานีอวกาศมีร์ของรัสเซียมีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น มีร์เป็นสถานีอวกาศ ที่มีส่วนประกอบหลัก 7 ส่วนโดยถูกปล่อยขึ้นวงโคจรชิ้นแรกใน เดือนกุมภาพันธ์ ค.ศ. 1986 หลังจากนั้นจึงทยอยชิ้นส่วนอื่นๆตามไปจนกระทั่งครบสมบูรณ์ ในปี 1996 โคจรเหนือโลกประมาณ 248-261 กิโลเมตรด้วยความเร็ว 28,000 กิโลเมตรต่อชั่วโมง หรือประมาณ 16 รอบต่อ 1 วัน แต่กระนั้นมีร์ก็ยังคงมีจุดบกพร่องอีกหลายจุด มีการเกิดอุบัติที่เหตุที่ไม่คาดฝันกับสถานีอวกาศแห่งนี้อยู่เสมอ สถานีอวกาศมีร์ ของรัสเชีย อันจัดได้ว่าเป็นสถานีอวกาศที่ทำการวิจัยนอกโลกที่ใช้งานมาอย่างยาวนาน และชาวโลกได้ใช้ประโยชน์จากสถานีอวกาศแห่งนี้หลายๆด้าน ไม่ใช่เฉพาะแต่ประเทศรัสเชียแต่หลายประเทศได้ใช้ประโยชน์จากมัน จนกระทั่งหมดอายุใช้งานลง 23 มีนาคม พ.ศ. 2544
ข้อมูลของสถานี | |
---|---|
เลขทะเบียน COSPAR | 1986-017A |
หมายเลข SATCAT | 16609 |
สัญญาณเรียกขาน | Mir |
จำนวนลูกเรือ | 3 |
ส่งขึ้นเมื่อ | 19 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2529 21:28:23 UTC |
ฐานส่ง | , and , Baikonur Cosmodrome, USSR |
กลับสู่บรรยากาศ | 23 มีนาคม พ.ศ. 2544 05:50:00 UTC |
มวล | 124,340 kg (274,123 ) |
ปริมาตรอากาศ | 350 m³ |
จุดใกล้โลกที่สุด | 386 km (207.9 ) [ | ]
จุดไกลโลกที่สุด | 398 ก.ม. (212.5 ไมล์) [ | ]
ความเอียงวงโคจร | 51.6 |
คาบการโคจร | 89.8 นาทีs |
จำนวนรอบโคจรต่อวัน | 16.13 |
จำนวนวันที่โคจร | 5,519 วัน |
จำนวนวันที่มนุษย์อยู่ | 4,592 วัน |
ระยะทางที่ทำได้รวม | 3,638,470,307 ก.ม. (1,964,616,800 ไมล์) |
สถิติ ณ Deorbit on [] | |
องค์ประกอบ | |
โครงสร้างของ มีร์ เมื่อเสร็จสมบูรณ์โดยมีกระสวยอวกาศเทียบท่า |
แหล่งข้อมูลอื่น
- สถานีอวกาศมีร์ (MIR Space Station) []
wikipedia, แบบไทย, วิกิพีเดีย, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด, บทความ, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม, มือถือ, โทรศัพท์, Android, iOS, Apple, โทรศัพท์โมบิล, Samsung, iPhone, Xiomi, Xiaomi, Redmi, Honor, Oppo, Nokia, Sonya, MI, PC, พีซี, web, เว็บ, คอมพิวเตอร์
sthanixwkasmir rsesiy Mir olk aela sntiphaph epnsthanixwkasthiprasbkhwamsaercsungsudkhxngrsesiy aelanbepnsthaniwicythawrrayayawaehngaerkinxwkaskhxngmnusychati nkbinxwkascakhlaychatiidichngansthanixwkasaehngniphankhwamrwmmuxrahwangpraeths sthaniprakxbdwymxdultang hlaymxdul aetlaswnthukthayxynakhunsuxwkas erimcakswnaerkinwnthi 19 kumphaphnth ph s 2529 cnthungmxdulsudthayinpi ph s 2539 sthanixwkasmirhmdxayukarichnganaelathukephathalayinbrryakasolkemuxwnthi 23 minakhm ph s 2544 dwyprasbkarninkarphthnasthanixwkas Salyut Station inchwngpi 1971 thung 1982 thaihsthanixwkasmirkhxngrsesiymiprasiththiphaphmakyingkhun mirepnsthanixwkas thimiswnprakxbhlk 7 swnodythukplxykhunwngokhcrchinaerkin eduxnkumphaphnth kh s 1986 hlngcaknncungthyxychinswnxuntamipcnkrathngkhrbsmburn inpi 1996 okhcrehnuxolkpraman 248 261 kiolemtrdwykhwamerw 28 000 kiolemtrtxchwomng hruxpraman 16 rxbtx 1 wn aetkrannmirkyngkhngmicudbkphrxngxikhlaycud mikarekidxubtithiehtuthiimkhadfnkbsthanixwkasaehngnixyuesmx sthanixwkasmir khxngrsechiy xncdidwaepnsthanixwkasthithakarwicynxkolkthiichnganmaxyangyawnan aelachawolkidichpraoychncaksthanixwkasaehngnihlaydan imichechphaaaetpraethsrsechiyaethlaypraethsidichpraoychncakmn cnkrathnghmdxayuichnganlng 23 minakhm ph s 2544sthanixwkasmirphaphsthanixwkasmir cakkraswyxwkas diskhfewxri 12 mithunayn ph s 2541khxmulkhxngsthanielkhthaebiyn COSPAR1986 017Ahmayelkh SATCAT16609syyaneriykkhanMircanwnlukerux3sngkhunemux19 kumphaphnth ph s 2529 21 28 23 UTCthansng and Baikonur Cosmodrome USSRklbsubrryakas23 minakhm ph s 2544 05 50 00 UTCmwl124 340 kg 274 123 primatrxakas350 m cudiklolkthisud386 km 207 9 imaenic phudkhuy cudiklolkthisud398 k m 212 5 iml imaenic phudkhuy khwamexiyngwngokhcr51 6khabkarokhcr89 8 nathiscanwnrxbokhcrtxwn16 13canwnwnthiokhcr5 519 wncanwnwnthimnusyxyu4 592 wnrayathangthithaidrwm3 638 470 307 k m 1 964 616 800 iml sthiti n Deorbit on txngkarxangxing xngkhprakxbokhrngsrangkhxng mir emuxesrcsmburnodymikraswyxwkasethiybthaaehlngkhxmulxunsthanixwkasmir MIR Space Station lingkesiy bthkhwamkarbinxwkasniyngepnokhrng khunsamarthchwywikiphiediyidodykarephimetimkhxmul duephimthi sthaniyxy karbinxwkasdkhk