ศาสตราจารย์ ศิลป พีระศรี[Note 1] (15 กันยายน พ.ศ. 2435 — 14 พฤษภาคม พ.ศ. 2505) เดิมชื่อ กอร์ราโด เฟโรชี (Corrado Feroci) เป็นชาวอิตาลีสัญชาติไทย เป็นประติมากรจากเมืองฟลอเรนซ์ที่เข้ามารับราชการในประเทศไทยตั้งแต่สมัยพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว โดยถือเป็นปูชนียบุคคลคนหนึ่งของไทยที่ได้สร้างคุณูปการในทางศิลปะและมีผลงานที่เป็นที่กล่าวขานจนเป็นที่รู้จักกว้างขวาง ทั้งยังเป็นผู้ก่อตั้งและอาจารย์สอนวิชาศิลปะที่ ซึ่งภายหลังได้รับการยกฐานะให้เป็นมหาวิทยาลัยศิลปากร โดยดำรงตำแหน่งคณบดีคณะจิตรกรรมประติมากรรมและภาพพิมพ์คนแรก มีความรักใคร่ ห่วงใยและปรารถนาดีต่อลูกศิษย์อยู่ตลอดจนเป็นที่รักและนับถือทั้งในหมู่ศิษย์และอาจารย์ด้วยกัน
ศิลป พีระศรี | |
---|---|
ภาพถ่ายอย่างเป็นทางการของ ศาสตราจารย์ศิลป พีระศรี | |
(คณบดีคณะจิตรกรรมประติมากรรมและภาพพิมพ์) | |
ดำรงตำแหน่ง 12 ตุลาคม พ.ศ. 2486 – 14 พฤษภาคม พ.ศ. 2505 | |
มหาวิทยาลัย | ศิลปากร |
ก่อนหน้า | สถาปนาคณะ |
ถัดไป | เขียน ยิ้มศิริ (รักษาราชการแทน) |
ข้อมูลส่วนบุคคล | |
เกิด | กอร์ราโด เฟโรชี 15 กันยายน พ.ศ. 2435 เมืองฟลอเรนซ์ ราชอาณาจักรอิตาลี |
เสียชีวิต | 14 พฤษภาคม พ.ศ. 2505 (69 ปี) จังหวัดธนบุรี ประเทศไทย |
เชื้อชาติ | |
คู่สมรส | แฟนนี วิเวียนนี มาลินี เคนนี่ |
บุตร | |
บุพการี |
|
ศิษย์เก่า | |
ชื่ออื่น | อาจารย์ฝรั่ง |
ผลงานที่สำคัญ | |
อนุสรณ์ | วันศิลป พีระศรี (ดูเพิ่ม) |
ลายมือชื่อ | |
เขายังเป็นผู้วางรากฐานที่เข้มแข็งให้แก่วงการศิลปะไทยสมัยใหม่จากการที่ได้พร่ำสอนและผลักดันลูกศิษย์ให้ได้มีความรู้ความสามารถในวิชาศิลปะทั้งงานจิตรกรรมและงานช่าง มีจุดประสงค์ให้คนไทยมีความรู้ความเข้าใจในศิลปะและสามารถสร้างสรรค์งานศิลปะได้ด้วยความสามารถของบุคลากรของตนเอง การก่อตั้งมหาวิทยาลัยศิลปากรจึงเปรียบเสมือนการหว่านเมล็ดพันธุ์ให้แก่คนไทยเพื่อที่จะออกไปสร้างศิลปะเพื่อแผ่นดินของตน และถึงแม้จะริเริ่มรากฐานของความรู้ด้านศิลปะตะวันตกในประเทศไทย แต่ในขณะเดียวกันเขาได้ศึกษาศิลปะไทยอย่างลึกซึ้ง เนื่องจากต้องการให้คนไทยรักษาความงามของศิลปะไทยเอาไว้ จึงได้เกิดการสร้างลูกศิษย์ที่มีความรู้ทั้งงานศิลปะตะวันตกและศิลปะไทยออกไปเป็นกำลังสำคัญให้แก่วงการศิลปะไทยเป็นจำนวนมาก และเกิดรูปแบบงานศิลปะไทยสมัยใหม่ในที่สุด
ด้วยคุณูปการนี้เขาจึงได้รับการยกย่องให้เป็นปูชนียบุคคลของมหาวิทยาลัยศิลปากรและของประเทศไทย โดยเฉพาะในงานประติมากรรมที่ได้มีผลงานที่โดดเด่นมากมายที่สร้างไว้แก่ประเทศไทย ได้แก่ พระพุทธรูปประธานที่พุทธมณฑล, อนุสาวรีย์ชัยสมรภูมิ, อนุสาวรีย์ประชาธิปไตย และรวมไปถึง พระบรมราชานุสาวรีย์ สมเด็จพระเจ้ากรุงธนบุรี ที่วงเวียนใหญ่, พระบรมราชานุสาวรีย์สมเด็จพระนเรศวรมหาราช, อนุสาวรีย์ท้าวสุรนารี และพระบรมราชานุสาวรีย์ของกษัตริย์ไทยอีกหลายพระองค์ เป็นต้น ด้วยเหตุนี้ศาสตราจารย์ศิลป จึงได้รับการยกย่องว่าเป็น และเป็น โดยในวันที่ 15 กันยายน ของทุกปีจะถือเป็น ซึ่งมหาวิทยาลัยศิลปากรจะจัดงานรำลึกขึ้นทุกปีเพื่อระลึกถึงคุณงามความดีที่มีต่อมหาวิทยาลัยและประเทศไทยนานัปการ
ประวัติ
วัยหนุ่มและชีวิตที่ฟลอเรนซ์
ศาสตราจารย์ ศิลป พีระศรี มีนามเดิมว่าคอร์ราโด เฟโรชี เกิดเมื่อวันที่ 15 กันยายน พ.ศ. 2435 ในเขตซานโจวันนี (San Giovanni) เมืองฟลอเรนซ์ ประเทศอิตาลี เป็นบุตรของนายอาตูโด เฟโรชีและนางซานตินา เฟโรชี ซึ่งประกอบธุรกิจการค้า และเนื่องจากเกิดและอาศัยอยู่ ณ เมืองฟลอเรนซ์ นครแห่งการกำเนิดศิลปะเรอเนซองส์ชื่อก้องของอิตาลี คอร์ราโดจึงมีความสนใจในวิชาศิลปะมาตั้งแต่วัยเด็ก คอร์ราโดนั้นมีความสนใจและชื่นชอบในผลงานประติมากรรมของมิเกลันเจโลและโลเรนโซ กีแบร์ตีในมหาวิหารฟลอเรนซ์เป็นอย่างมาก จึงได้สมัครเป็นลูกมือช่วยงานศิลปินที่มีชื่อเสียงตามสตูดิโอต่างๆของเมืองฟลอเรนซ์ เขามีความตั้งใจแน่วแน่ที่จะศึกษาวิชาศิลปะและเป็นศิลปินให้ได้ อย่างไรก็ตามบิดามารดาของคอร์ราโดกลับไม่เห็นด้วยกับความคิดของเขาเพราะต้องการให้มาสืบทอดธุรกิจของครอบครัวต่อไปมากกว่า แต่คอร์ราโดมีความตั้งใจที่จะศึกษาศิลปะอย่างแรงกล้า จึงได้เก็บสะสมเงินและเข้าศึกษาใน (Accademia di Belle Arti di Firenze) หลักสูตร 7 ปี ในปีพ.ศ. 2451 และจบการศึกษาในปีพ.ศ. 2458 ในขณะที่มีอายุ 23 ปีด้วยเกียรตินิยมอันดับที่หนึ่ง และได้รับประกาศนียบัตรช่างปั้นช่างเขียน ต่อมาได้สอบคัดเลือกและได้รับตำแหน่งเป็นศาสตราจารย์ประจำราชวิทยาลัย ศาสตราจารย์คอร์ราโดมีความรอบรู้ทางด้านประวัติศาสตร์ศิลปะ วิจารณ์ศิลป์และปรัชญาโดยเฉพาะมีความสามารถทางด้านศิลปะแขนงประติมากรรมและจิตรกรรมเป็นอย่างสูง ได้สร้างสรรค์ผลงานศิลปะไว้มากมายและได้รับรางวัลชนะเลิศการประกวดออกแบบอนุสาวรีย์จากรัฐบาลหลายครั้ง อาทิเช่น ผลงานอนุสาวรีย์ผู้กล้าในสงครามโลกครั้งที่ 1 บนเกาะเอลบา เป็นต้น
การเข้ารับราชการในแผ่นดินสยาม
ศาสตราจารย์คอร์ราโด สมรสกับนางแฟนนี วิเวียนนี มีบุตรสาวชื่อ อิซซาเบลล่า และสืบเนื่องจากปี พ.ศ. 2466 ท่านได้ชนะการประกวดการออกแบบเหรียญเงินตราสยามที่จัดขึ้นในยุโรปและยังมีความต้องการแสวงหาสถานที่ปฏิบัติงานแห่งใหม่ ประกอบกับในช่วงเวลานั้นซึ่งตรงกับรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว มีพระราชประสงค์ต้องการบุคลากรที่เชี่ยวชาญในด้านศิลปะตะวันตกเพื่อที่จะเข้ามารับราชการเป็นช่างปั้นในแผ่นดินไทยและทำการฝึกสอนช่างไทยให้มีความสามารถในการสร้างงานประติมากรรมแบบตะวันตกได้ ทางรัฐบาลอิตาลีจึงได้ยื่นข้อเสนอโดยการส่งคุณวุฒิและผลงานของศาสตราจารย์คอร์ราโดให้สยามพิจารณา โดยสมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้ากรมพระยานริศรานุวัดติวงศ์เป็นบุคคลสำคัญในการคัดเลือกศาสตรจารย์คอร์ราโดให้มาปฏิบัติงานในสยาม ด้วยเหตุนี้ศาสตราจารย์คอร์ราโดจึงเดินทางสู่แผ่นดินสยามพร้อมกับภรรยาและบุตรสาวโดยทางเรือ เพื่อเข้ามารับราชการเป็นช่างปั้นประจำกรมศิลปากร กระทรวงวัง ในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว เมื่อวันที่ 14 มกราคม พ.ศ. 2466 ขณะมีอายุได้ 32 ปี และได้รับการแต่งตั้งให้เป็นอาจารย์สอนวิชาช่างปั้นหล่อ แผนกศิลปากรสถานแห่งราชบัณฑิตยสภา ในปี พ.ศ. 2469
เมื่อแรกเริ่มการเข้ารับราชการ ศาสตาจารย์คอร์ราโดทำสัญญารับราชการในสยามเป็นระยะเวลา 3 ปี ด้วยอัตราเงินเดือน 800 บาท แต่ในตอนแรกก็ยังไม่ได้รับการยอมรับมากเท่าใดเนื่องจากยังไม่มีใครได้เห็นฝีมือของท่าน จนกระทั่งได้มีโอกาสเข้าเฝ้าสมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้ากรมพระยานริศรานุวัดติวงศ์ ซึ่งได้ประทับทดลองเป็นแบบปั้นให้กับศาสตราจารย์คอร์ราโด และปรากฏว่าศาสตราจารย์คอร์ราโดสามารถปั้นได้อย่างสมจริงเป็นอย่างมาก สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้ากรมพระยานริศรานุวัดติวงศ์จึงกราบบังคมทูล เชิญให้พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 6 เสด็จมาเป็นแบบจริงให้แก่ศาสตราจารย์คอร์ราโด โดยปั้นหุ่นเฉพาะพระพักตร์ ได้เป็นที่พอพระราชหฤทัยและเป็นที่ยอมรับของคนในกระทรวง แรกเริ่มศาสตราจารย์คอร์ราโดได้วางหลักสูตรอบรมให้แก่ผู้ที่สนใจในวิชาประติมากรรมซึ่งส่วนมาจบการศึกษามาจากโรงเรียนเพาะช่างโดยไม่เก็บค่าธรรมเนียมใดๆ ซึ่งต่อมาบุคคลที่ผ่านการอบรมก็ได้เป็นหนึ่งในกำลังสำคัญของกิจการงานปั้นหล่อของกรมศิลปากร ทำให้ทางราชการได้ขอให้ศาสตราจารย์คอร์ราโดวางหลักสูตรการศึกษารูปแบบเดียวกันกับสถาบันศิลปะในยุโรป
ศาสตรจารย์คอร์ราโดได้วางหลักสูตรวิชาจิตรกรรมและประติมากรรมขึ้น เพื่อใช้ใน สังกัดกรมศิลปากร ที่พระสาโรชรัตนนิมมานก์ (สาโรช สุขยางค์) ก่อตั้งขึ้น ภายหลังได้รวมโรงเรียนเข้ากับโรงเรียนนาฏยดุริยางคศาสตร์และเปลี่ยนชื่อเป็น “” และพัฒนาการเรียนการสอนเรื่อยมา จนในปี พ.ศ. 2485 กรมศิลปากรได้แยกจากกระทรวงศึกษาธิการไปขึ้นอยู่กับสำนักนายกรัฐมนตรีและรัฐบาลในขณะนั้นโดย ฯพณฯจอมพล ป.พิบูลสงคราม นายกรัฐมนตรี ตระหนักถึงความสำคัญของศิลปะว่าเป็นวัฒนธรรมที่สำคัญยิ่งสาขาหนึ่งของชาติ จึงได้มีคำสั่งให้ ในขณะนั้นคือ พระยาอนุมานราชธน ดำเนินการปรับปรุงหลักสูตร และตราพระราชบัญญัติ ยกฐานะโรงเรียนศิลปากรขึ้นเป็น มหาวิทยาลัยศิลปากร เมื่อวันที่ 12 ตุลาคม พ.ศ. 2486 โดยจัดตั้งคณะจิตรกรรมและประติมากรรม ขึ้นเป็นคณะวิชาแรก ซึ่งศาสตราจารย์คอร์ราโดก็ได้ดำรงตำแหน่งคณบดีคนแรกของคณะจิตรกรรมควบคู่ไปกับตำแหน่งอาจารย์ผู้สอนอีกด้วย
การได้รับสัญชาติไทยและชีวิตในบั้นปลาย
ในสมัยสงครามโลกครั้งที่ 2 พ.ศ. 2485 ประเทศอิตาลียอมจำนนต่อฝ่ายสัมพันธมิตร ชาวอิตาลี ในประเทศไทยจึงตกอยู่ภายใต้การควบคุมตัวของญี่ปุ่น เนื่องจากฝ่ายญี่ปุ่นเองต้องการสืบให้ทราบว่าชาวอิตาลีกลุ่มนี้ภักดีต่อกษัตริย์แห่งราชวงศ์ซาวอยผู้ซึ่งประกาศยอมจำนนต่อฝ่ายสัมพันธมิตรหรือสนับสนุนฝ่ายสาธารณรัฐสังคมนิยมอิตาลีที่ประกาศขอสู้ต่อกันแน่ ทำให้ศาสตราจารย์คอร์ราโดเองก็ถูกควบคุมตัวไว้เช่นกัน แต่รัฐบาลไทยได้เล็งเห็นถึงความสามารถท่านและได้ขอควบคุมตัวศาสตราจารย์คอร์ราโด เฟโรจีเอาไว้เองเพื่อคุ้มครองท่านไว้ ไม่ต้องไปถูกเกณฑ์เป็นเชลยศึกให้สร้าง ทางรถไฟสายมรณะ และสะพานข้ามแม่น้ำแคว เมืองกาญจนบุรี โดยหลวงวิจิตรวาทการ ได้ดำเนินการทำเรื่องราวขอโอนสัญชาติจากสัญชาติอิตาลีมาเป็นสัญชาติไทย โดยเปลี่ยนชื่อของท่านจากนายคอร์ราโด เฟโรจีให้มาเป็น "นายศิลป พีระศรี" นับแต่นั้นเป็นต้นมา
แต่เนื่องจากสภาพเศรษฐกิจที่ตกต่ำลงอย่างมากภายหลังสงครามโลกครั้งที่ 2 ค่าครองชีพในประเทศไทยสูงขึ้น ทำให้สถานะทางการเงินของท่านได้รับผลกระทบเป็นอย่างมาก โดยเขาจำต้องขายทั้งรถยนต์และบ้าน รวมถึงที่ดิน เพื่อแก้ปัญหาวิกฤตทางการเงิน แต่ก็ไม่สามารถแก้ไขปัญหานี้ได้ในท้ายที่สุด เขาจึงจำเป็นต้องเดินทางกลับไปยังอิตาลี ประเทศบ้านเกิดพร้อมกับครอบครัวหรือก็คือการลาออกจากราชการนั่นเอง แต่เนื่องจากงานในประเทศไทยที่ยังคงติดค้างอยู่มาก รวมไปถึงความรักในประเทศไทยและอุดมการณ์ในการพัฒนาวงการศิลปะไทยของท่าน ทำให้เขาตัดสินใจเดินทางกลับมารับราชการและรับตำแหน่งเป็นอาจารย์ที่มหาวิทยาลัยศิลปากรอีกครั้งในพ.ศ. 2492 แต่ในครั้งนี้นางแฟนนี อิซาเบลลาและโรมาโน(ลูกชายที่เกิดในประเทศไทย) นั้นไม่ได้เดินทางกลับมาด้วย ทำให้อาจารย์ศิลป ต้องจากครอบครัวและหยุดชีวิตสมรสของท่านลงเช่นกัน
ในช่วงบั้นปลายชีวิต ได้อุทิศเวลาที่เหลือให้กับวงการศิลปะไทย ทั้งการสอน การสร้างสรรค์ผลงาน รวมไปถึงการได้ศึกษาศิลปะไทยอย่างลึกซึ้ง เพื่อการสร้างสรรค์งานศิลปะไทยสมัยใหม่ที่ควรจะมีเอกลักษณ์ของไทยไว้ให้สืบต่อไปแม้ความรู้ด้านศิลปะตะวันตกเริ่มแพร่หลายแล้วก็ตาม งานของศาสตรจารย์ศิลป์จึงถือเป็นงานแรกเริ่มของศิลปะไทยสมัยใหม่ที่แม้จะได้รับอิทธิพลตะวันตกแต่ก็ผสมผสานศิลปะแบบไทยประเพณีไว้อย่างกลมกลืน
ศาสตราจารย์ศิลป แต่งงานใหม่กับนางมาลินี เคนนี่ ในปีพ.ศ. 2502 แต่ไม่ได้มีบุตรด้วยกัน โดยยังคงทุ่มเทเวลาและอุทิศชีวิตให้กับวงการศิลปะไทยเรื่อยมาจนถึง พ.ศ. 2505 ท่านได้ล้มป่วยลงด้วยอาการโรคมะเร็งลำไส้ใหญ่ ก่อนจะถึงแก่อนิจกรรมในวันที่14 พฤษภาคม พ.ศ. 2505 ที่โรงพยาบาลศิริราช ด้วยภาวะหัวใจล้มเหลวภายหลังการเข้ารับการผ่าตัดมะเร็งลำไส้ใหญ่ สิริอายุได้ 69 ปี 241 วัน โดยมีพิธีพระราชทานเพลิงศพที่เมรุหลวงหน้าพลับพลาอิศริยาภรณ์ วัดเทพศิรินทราวาส เมื่อวันที่17 มกราคม พ.ศ. 2506 ซึ่งอัฐิถูกแยกไปสามส่วนด้วยกันคือที่สุสานชิมิเตโร เดญลี อัลลอรี เมืองฟลอเรนซ์ ประเทศอิตาลี ส่วนที่สองถูกบรรจุในอนุสาวรีย์ศาสตราจารย์ศิลป พีระศรี ณ ลานศาสตราจารย์ศิลป พีระศรี ในมหาวิทยาลัยศิลปากร วังท่าพระ และส่วนที่สามถูกเก็บไว้ใน ในกรมศิลปากร
โดยตลอดชั่วชีวิตการทำงานกว่า 39 ปีในประเทศไทย ท่านได้รับมอบหมายจากรัฐบาลไทยให้ออกแบบปั้นและควบคุมการหล่อพระบรมราชานุสาวรีย์และอนุสาวรีย์สำคัญของประเทศไทยจำนวนมาก และยังรวมไปถึงการออกแบบพระพุทธรูปประธานที่พุทธมณฑล ซึ่งศาสตราจารย์ศิลป ได้ศึกษาพระพุทธรูปลีลาของศิลปะสุโขทัยอย่างลึกซึ้ง จนสามารถสร้างพระพุทธรูปลีลาที่มีการผสมผสานรูปแบบศิลปะสุโขทัยเข้ากับศิลปะไทยสมัยใหม่และมีความงดงามเป็นอย่างมากที่สุดองค์หนึ่งของไทย ผลงานของท่านยังคงปรากฏให้เห็นต่อสายตาชาวไทย เฉกเช่นเดียวกับคุณงามความดีของท่านที่ยังเป็นที่ระลึกถึงเสมอมา
ชีวิตส่วนตัว
เขาถือเป็นบุคคลที่มีใจรักในศิลปะมาตั้งแต่เด็ก เป็นสิ่งทีท่านให้ความสนใจมากกว่าสิ่งอื่นใด ท่านก็สามารถส่งเสียตัวเองจนเรียนจบด้วยเกียรตินิยมอันดับที่ 1 และสามารถสอบเข้าเป็นศาสตราจารย์ได้ตั้งแต่อายุยังน้อย แต่งงานครั้งแรกกับนางพาโอล่า แองเจลินี แต่ก็ได้ขอแยกทางตามคำสั่งศาลในหนึ่งปีให้หลัง จากนั้นท่านแต่งงานใหม่กับ แฟนนี วิเวียนนี มีบุตรสองคน บุตรสาวชื่อ อิซาเบลลา ส่วนบุตรชายชื่อ โรมาโน (เกิดและเติบโตที่ไทย) เมื่อเข้ารับราชการในประเทศไทยท่านได้รับเงินเดือนที่เพียงพอต่อการเลี้ยงครอบครัวของท่าน เขามีนิสัยรักธรรมชาติ ชอบความเรียบง่ายและหลงรักในวัฒนธรรมไทยเป็นอย่างมาก มีความตั้งใจจริงที่จะช่วยพัฒนาวงการศิลปะไทยให้ก้าวหน้า ในมุมมองของลูกศิษย์นั้น เขาเป็นคนที่มีความรักใคร่ ห่วงใยละปรารถนาดีต่อลูกศิษย์เป็นอย่างมาก ในเวลาสอนเขาจะจริงจังและเป็นคนที่มีความตรงต่อเวลา สอนด้วยความเข้มงวดและมักจะพร่ำสอนให้นักศึกษาทำงานหนักอยู่เป็นประจำ เพราะงานศิลปะที่ดีนั้นย่อมมาจากการฝึกฝนอย่างหนัก โดยท่านยังมีความเป็นกันเองกับนักศึกษา มักจะแทนตัวเองว่า “ฉัน” และแทนนักศึกษาว่า “นาย” เมื่อนักศึกษาคนไหนขาดแคลนทุนทรัพย์ท่านก็มักจะช่วยเหลือเสมอ ท่านยังโปรดปรานการฟังเพลงเป็นอย่างมาก โดยเพลงที่ท่านมักจะฮัมเวลาทำงานอยู่บ่อยๆก็คือ เพลงพื้นเมืองภาษาอิตาลีซึ่งภายหลังได้กลายมาเป็น
ศาสตราจารย์ศิลป ยังเป็นคนที่ตั้งใจในการทำงานอย่างแท้จริง ท่านจะมาทำงานตั้งแต่เช้าตรู่ ใช้เวลาพักผ่อนในช่วงกลางวันแค่สั้นๆเพื่อที่จะไม่เป็นการเสียเวลาต่อการทำงาน และจะกลับบ้านก็ต่อเมื่อค่ำแล้วเท่านั้น โดยจะใช้เวลาไปกับการทำงานในห้องทำงาน สอนนักศึกษาและหาความรู้เพิ่มเติมตลอดเวลา ในภาวะสงครามโลกครั้งที่ 2 ท่านจะพิมพ์คัดลอกเอกสารสำหรับสอนนักศึกษาไว้เพิ่มเติมอีกหนึ่งชุดเสมอเพื่อป้องกันความเสียหายจากระเบิด หลังจากสงครามสิ้นสุดท่านจำต้องขายทั้งรถ บ้านและที่ดินเพื่อแก้ปัญหาวิกฤตการเงินครอบครัว แต่ก็ยังปั่นจักรยานจากบ้านทางถนนสุขุมวิทมาสอนอยู่ทุกวัน เมื่อจำเป็นต้องเดินทางกลับอิตาลีเพราะวิกฤตทางการเงินแต่ท่านก็ยังห่วงงานที่ประเทศไทยที่ยังคงคั่งค้าง จึงจำเป็นต้องแยกทางกับครอบครัวเพื่อที่จะมาสานต่ออุดมการณ์ของท่านต่อ ในช่วงบั้นปลายแม้จะป่วยหนักแต่เขาก็ยังทำงานของท่านต่อ ท่านยังตรวจข้อสอบของนักศึกษาในขณะที่รักษาตัวที่โรงพยาบาลศิริราช ท่านได้บอกกล่าวกับลูกศิษย์ไว้ว่า "นาย ถ้าฉันตาย นายนึกถึงฉัน นายรักฉัน นายไม่ต้องไปทำอะไร นายทำงาน" ซึ่งเป็นคำสอนที่ลูกศิษย์ยึดถือไว้อีกประโยคหนึ่งเพื่อช่วยสืบต่ออุดมการณ์ของศาสตราจารย์ศิลป พีระศรี ในการพัฒนาวงการศิลปะไทยต่อไปตราบนานเท่านาน
คุณูปการต่อศิลปะไทย
ศาสตราจารย์ศิลป มีอุดมการณ์ที่จะต้องการพัฒนาวงการศิลปะไทยให้ก้าวหน้ามากยิ่งขึ้นไปอีก และในยุคที่ศิลปะตะวันตกกำลังรุ่งเรืองในประเทศไทย สิ่งที่ท่านเล็งเห็นก็คือการทำอย่างไรให้คนไทยสามารถสร้างผลงานรูปแบบตะวันตกได้ด้วยตัวเองโดยไม่ต้องว่าจ้างช่างตะวันตก และมีงานศิลปะที่เป็นตัวของตัวเองไม่ลอกเลียนแบบตะวันตกไปเสียหมด ด้วยแนวคิดนี้จึงเกิดโรงเรียนประณีตศิลปกรรมขึ้นเพื่อเพาะพันธุ์เมล็ดศิลปินที่จะเติบโตไปเป็นในภายภาคหน้า อีกสาเหตุหนึ่งที่ท่านตัดสินใจตั้งโรงเรียนขึ้นก็เพราะท่านมองว่าการเปิดโรงเรียนสอนเพื่อผลิตศิลปินนั้นเป็นสิ่งที่มีคุณค่าต่อวงการศิลปะมากกว่าการสร้างสรรค์งานแต่ตัวท่านเพียงลำพัง นอกจากนี้เขายังได้มีส่วนช่วยในการจัดหาทุนทรัพย์และทุนการศึกษาให้แก่นักศึกษาศิลปะชาวไทยเพื่อรักษาให้ชาติยังคงมีศิลปินหน้าใหม่เกิดขึ้นต่อไป เนื่องจากในยุคข้าวยากหมากแพงนั้นผู้ปกครองแทบทุกคนไม่สนับสนุนให้ลูกของตนเรียนวิชาศิลปะ เขาจึงได้พยายามอย่างสุดความสามารถให้ไทยสามารถมีช่างที่มีฝีมือได้ต่อไป ซึ่งก็ประสบความสำเร็จเพราะบรรดาลูกศิษย์ของท่านเริ่มเป็นที่รู้จักกันในวงกว้าง
จากความรู้ในด้านศิลปะตะวันตกที่ท่านได้พร่ำสอนให้แก่ลูกศิษย์นี้เองทำให้วงการศิลปะไทยเกิดศิลปินหน้าใหม่ที่มีฝีมือและรูปแบบการสร้างสรรค์ผลงานที่แปลกใหม่ออกมาได้ ศาสตราจารย์ศิลป ได้รับมอบหมายให้สร้างพระบรมราชานุสาวรีย์และอนุสาวรีย์สำคัญของไทยมากมายหลายแห่ง ซึ่งท่านได้ใช้ความรู้ในด้านศิลปะตะวันตกสร้างงานแต่ก็ยังมิได้ละทิ้งความงามของศิลปะไทยหรือที่เรียกกันว่า ไป ทั้งนี้เพราะท่านได้เล็งเห็นว่าศิลปะไทยก็มีความงามและเอกลักษณ์เป็นของตน อีกทั้งช่างไทยยังได้มีการสืบทอดความรู้วิชาในด้านศิลปะไทยมายอย่างยาวนาน การที่จะทำให้วงการศิลปะไทยก้าวหน้าก็ต้องไม่ลืมรากเหง้าเดิมของไทยที่มีมาแต่โบราณ ท่านจึงได้ทำการศึกษาศิลปะไทยอย่างละเอียดโดยเฉพาะการศึกษาพระพุทธรูปในศิลปะสุโขทัยที่ท่านได้ยกย่องไว้ว่ามีความงดงามเป็นที่สุด ได้มีการศึกษารูปแบบศิลปะของพระพุทธรูปและมีบทความวิชาการตีพิมพ์ออกมามากมาย ก่อนที่จะประสบความสำเร็จในการออกแบบพระพุทธรูปพระศรีศากยะทศพลญาณ ประธานพุทธมณฑลสุทรรศน์ซึ่งถือเป็นจุดสูงสุดของความงามของศิลปะไทย มีการนำความรู้ใหม่คือศิลปะตะวันตกในลัทธิสัจนิยมที่เชื่อในเรื่องของความสมจริงมาผนวกใช้กับความงามแบบดั้งเดิมของศิลปะสุโขทัย ที่สร้างแบบศิลปะไทยประเพณีจนก่อให้เกิดความงามรูปแบบใหม่ซึ่งถือเป็นจุดเริ่มต้นและเป็นต้นแบบของศิลปะไทยสมัยใหม่อย่างแท้จริง เนื่องจากเขาได้เป็นผู้วางรากฐานให้อย่างมั่นคง จึงส่งผลให้ศิลปินรุ่นหลังสามารถสืบทอดงานศิลปะไทยออกไปได้อย่างเต็มที่
นอกไปจากนั้นแล้วศาสตราจารย์ศิลป ยังได้เป็นกำลังหลักในการผลักดันให้เกิดการประกวดวาดเส้น จิตรกรรมและประติมากรรม จนเกิดเป็นงานแสดงศิลปกรรมแห่งชาติขึ้น มีจุดประสงค์ให้ศิลปินไทยเกิดการแข่งขันในการสร้างสรรค์ผลงานที่ดีออกสู่สาธารณชนและช่วยให้ศิลปะไทยมีความก้าวหน้าต่อไปได้อย่างไม่มีหยุด และเล็งเห็นต่องานช่างและงานศิลปะไทยในสาขาอื่นๆ จึงได้ส่งเสริมให้มีการก่อตั้งคณะในมหาวิทยาลัยศิลปากรเพิ่มคือคณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ ซึ่งในระยะแรกเรียกว่า คณะโบราณคดี และคณะมัณฑนศิลป์ ด้วยคุณูปการนานัปการนี้ ศาสตราจารย์ศิลป พีระศรี จึงได้รับการยกย่องให้เป็นที่ได้พลิกโฉมรูปแบบศิลปะไทยแบบเดิมให้มีความก้าวหน้าไปอย่างสูงทัดเทียมสากล เกิดศิลปินและผู้เชี่ยวชาญจำนวนมากที่สามารถสืบทอดงานศิลปะไทยต่อไปได้นานเท่านาน ไม่เพียงแต่งานด้านจิตรกรรม ประติมากรรมแต่ยังรวมไปถึงงานด้านสถาปัตยกรรม โบราณคดีและประวัติศาสตร์ศิลปะ รวมไปถึงมัณฑนศิลป์อีกด้วย
ผลงาน
ภาพ | ชื่อ | ที่ตั้ง | สร้างเมื่อ | ข้อมูล |
---|---|---|---|---|
อนุสาวรีย์ผู้กล้าในสงครามโลกครั้งที่ 1 | เกาะเอลบา ประเทศอิตาลี | พ.ศ. 2465 | เขาได้รับรางวัลชนะเลิศมอบโดยรัฐบาลอิตาลีจากอนุสาวรีย์นี้ | |
ปฐมบรมราชานุสรณ์ปฐมกษัตริย์แห่งพระบรมราชจักรีวงศ์ | ประดิษฐานที่เชิงสะพานพระพุทธยอดฟ้า กรุงเทพมหานคร | พ.ศ. 2472 | ศาสตราจารย์ศิลป ได้ปั้นแบบและควบคุมการหล่อด้วยตัวเองที่ประเทศอิตาลี | |
อนุสาวรีย์ท้าวสุรนารี | นครราชสีมา | พ.ศ. 2476 | เป็นอนุสาวรีย์ของวีรสตรีไทยที่มีความงดงามและเป็นศูนย์รวมจิตใจของชาวโคราช | |
อนุสาวรีย์ประชาธิปไตย | ถนนราชดำเนิน กรุงเทพมหานคร | พ.ศ. 2482 | ศาสตราจารย์ศิลป ปั้นแบบประติมากรรมและควบคุมงานก่อนสร้างทงหมด | |
พระบรมราชานุสรณ์พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว | สวนลุมพินี กรุงเทพมหานคร | พ.ศ. 2484 | มีขนาด 3 เท่าของพระองค์จริง แรกเริ่มออกแบบให้ทรงถือพระมาลา ก่อนจะเปลี่ยนให้สวมพระมาลาในภายหลัง | |
อนุสาวรีย์ชัยสมรภูมิ | กรุงเทพมหานคร | พ.ศ. 2485 | ศาสตราจารย์ศิลป ปั้นและควบคุมการหล่อประติมากรรมบุคคลทั้งห้าและควบคุมการสร้างอนุสาวรีย์ | |
พระบรมราชานุสาวรีย์สมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช | วงเวียนใหญ่ กรุงเทพมหานคร | พ.ศ. 2493 | มีความโดดเด่นด้วยลักษณะประติมากรรมที่งดงาม มีเอกลักษณ์และสมจริงเป็นอย่างมากโดยเฉพาะประติมากรรมม้าที่อยู่ในท่ายืนพร้อมวิ่งและถูกสัดส่วนกายวิภาค | |
พระบรมราชานุสรณ์สมเด็จพระนเรศวรมหาราช | อำเภอดอนเจดีย์ จังหวัดสุพรรณบุรี | พ.ศ. 2497 | ||
พระศรีศากยะทศพลญาณ ประธานพุทธมณฑลสุทรรศน์ | พุทธมณฑล จังหวัดนครปฐม | พ.ศ. 2498 | สร้างขึ้นเพื่อเป็นพุทธบูชาเนื่องในเนื่องในวโรกาสมหามงคลกาลที่พระพุทธศักราชเวียนมาบรรจบครบรอบ 2,500 ปี เป็นผลสำเร็จของการศึกษาศิลปะสุโขทัยอย่างลึกซึ้งของศาสตราจารย์ศิลป เกิดการสร้างพระพุทธรูปรูปแบบใหม่ที่ถือเป็นผสมผสานลัทธิสัจนิยมของตะวันตกเข้ากับศิลปะไทยประเพณีแบบดั้งเดิม ถือเป็นการคงเอกลักษณ์เก่าไปพร้อมกับการสร้างสรรค์รูปแบบศิลปะสมัยใหม่ที่เป็นจุดเริ่มต้นของศิลปะไทยสมัยใหม่อย่างแท้จริง |
ผลงานประติมากรรมของ ศิลป์ พีระศรี
- สมเด็จเจ้าฟ้ากรมพระยานริศรานุวัดติวงศ์ (เฉพาะพระเศียร) - ทำจากสำริด ถือเป็นผลงานชิ้นแรกที่ทำให้ศาสตราจาย์ศิลป์เป็นที่รู้จัก
- พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว (เฉพาะพระเศียร) - พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัวทรงพอพระราชหฤทัยเป็นอย่างมากหลังได้เห็นพระบรมรูปของพระองค์
- พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว (ครึ่งพระองค์) - ทำปูนปลาสเตอร์ ปัจจุบันอยู่ที่กองหัตถศิลป์ กรมศิลปากร
- พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวอานันทมหิดล 2 องค์ - ทำปูนปลาสเตอร์ ปัจจุบันอยู่ที่
- พระพันวัสสาอัยยิกาเจ้า - เป็นประติมากรรมนูนต่ำด้วยปูนปลาสเตอร์ ปัจจุบันอยู่ที่
- สมเด็จกรมพระยาดำรงราชานุภาพ (ครึ่งพระองค์) - ทำจากปูนปลาสเตอร์ ปัจจุบันอยู่ที่กองหัตถศิลป์ กรมศิลปากร
- สมเด็จพระพุทธโฆษาจารย์ (เจริญ ญาณวโร) วัดเทพศิรินทราวาส (ครึ่งองค์) - ปัจจุบันอยู่ในกรมศิลปากร
- พระญาณนายก (ปลื้ม ) วัดอุดมธานี จังหวัดนครนายก - เป็นประติมากรรมนูนสูง ทำจากปูนพลาสเตอร์
- หลวงวิจิตรวาทการ (ครึ่งตัว) - ทำจากปูนปลาสเตอร์ ปัจจุบันอยู่ที่กรมศิลปากร
- (เฉพาะศีรษะ) - ทำจากบรอนซ์
- นางมาลินี พีระศรี (เฉพาะศีรษะ) - ปัจจุบันตั้งอยู่ที่พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ ศิลป์ พีระศรี อนุสรณ์ กรุงเทพมหานคร
- โรมาโน (ลูกชาย ภาพร่างไม่เสร็จ) - ปัจจุบันอยู่ที่กรมศิลปากร
- นาง (รูปเหมือนครึ่งตัว) - ทำจากบรอนซ์ ปัจจุบันอยู่ที่หอศิลปแห่งชาติ
- พระบรมรูปพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวอานันทมหิดล (เฉพาะพระเศียร)
- พระบรมรูปพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวภูมิพลอดุลยเดช - ครึ่งพระองค์ ปั้นไม่เสร็จ เพราะเสียชีวิตก่อน
การรำลึกและอนุสรณ์
วันสำคัญ
มีการรำลึกถึงท่านทุกวันที่ 15 กันยายน ซึ่งตรงกับวันคล้ายเกิดของท่าน เรียกกันว่า โดยถือเป็นวันสำคัญของวงการศิลปะไทยและนักศึกษามหาวิทยาลัยศิลปากร ในวันศิลป์ พีระศรี มหาวิทยาลัยศิลปากร จะจัดกิจกรรมขึ้นภายในมหาวิทยาลัยเพื่อให้ศิษย์ปัจจุบัน ศิษย์เก่าหรือผู้ที่สนใจเข้าร่วมกิจกรรมเพื่อรำลึกถึงคุณงามความดีของท่าน มีการวางดอกไม้เป็นการรำลึกถึงท่านที่บริเวณหน้า โดยนักศึกษาจะเปิดร้านขายของที่ระลึกและมีการแสดงดนตรีสดตลอดทั้งวัน นอกจากนั้นยังมีการเปิดให้ประชาชนเข้าร่วมแสดงความเคารพต่ออัฐิของท่านใน และพิธีสำคัญจะเริ่มขึ้นในช่วงเวลาหนึ่งทุ่ม ซึ่งจะเป็นการจุดเทียนที่ ร่วมร้องและ เพื่อเป็นการรำลึกถึงท่านในวันสำคัญนี้
อนุสาวรีย์และอนุสรณ์สถาน
เหล่าลูกศิษย์ก็ได้มีความพยายามที่จะจัดสร้างอนุสาวรีย์ของเขาเพื่อเป็นเกียรติแด่ท่านที่ได้มีคุณูปการต่อศิลปะไทยและเป็นผู้ก่อตั้งและวางรากฐานให้แก่มหาวิทยาลัยศิลปากร แต่เนื่องด้วยกฎหมายของประเทศไทยในตอนนั้นไม่อนุญาตให้มีการจัดตั้งอนุสาวรีย์ของคนต่างชาติในประเทศได้ ถึงอย่างนั้นอาจารย์ ซึ่งเป็นลูกศิษย์รุ่นแรก ๆ ของเขา ได้แอบสร้างอนุสาวรีย์ของเขาขนาดเท่าคนจริงขึ้น แต่ก็ไม่มีที่ที่จะสามารถจัดตั้งได้จึงจำเป็นต้องเก็บเอาไว้ในห้องคณบดีคณะจิตรกรรมประติมากรรมและภาพพิมพ์ จนกระทั่งในวันที่ 13 พฤษภาคม พ.ศ. 2512 กลุ่มนักศึกษามหาวิทยาลัยศิลปากร วังท่าพระ นำโดย ได้เข้าไปนำอนุสาวรีย์ออกมาจากห้องคณบดี ก่อฐานแล้วทำการติดตั้งอนุสาวรีย์เขาโดยไม่เกรงกลัวกับการโดนจับ ซึ่งในปัจจุบันอนุสาวรีย์นี้ก็ยังคงตั้งอยู่เช่นเดิม โดยลานแห่งนี้มีชื่อเรียกกันในหมู่นักศึกษาว่า ลานอาจารย์ศิลป และยังมีการสร้างเพิ่มเติมในภายหลังที่วิทยาเขตพระราชวังสนามจันทร์และวิทยาเขตสารสนเทศเพชรบุรีอีกด้วย
นอกเหนือไปจากการจัดทำอนุสาวรีย์แล้วยังได้มีการจัดตั้งพิพิธภัณฑ์ขึ้นเพื่อเป็นเสมือนอนุสรณ์สถานแก่เขา โดยใช้ชื่อว่า พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ ศิลป พีระศรี อนุสรณ์ โดยเป็นความร่วมมือกันระหว่างบรรดาลูกศิษย์และผู้ใกล้ชิดเขา เพื่อรำลึกถึงคุณูปการของท่าน ตั้งอยู่ในกรมศิลปากร มีการทำพิธีเปิดอย่างเป็นทางการเมื่อวันที่ 15 กันยายน พ.ศ. 2527 ซึ่งตรงกับวันคล้ายวันเกิดครบรอบ 92 ปี ของท่าน โดยนายชวน หลีกภัย รัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการในสมัยนั้นมาเป็นประธานในพิธี ซึ่งปัจจุบันพิพิธภัณฑ์แห่งนี้สังกัดในสำนักพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ กรมศิลปากร ในเครือพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ หอศิลป ภายในตัวอาคารจัดแสดงนิทรรศการถาวร มีการแบ่งการจัดแสดงออกเป็น 2 ห้องจัดแสดง คือห้องชั้นนอกตรงทางเข้าพิพิธภัณฑ์จัดแสดงผลงานศิลปะของลูกศิษย์ผู้ใกล้ชิด อาทิเช่น ผลงานของ เฟื้อ หริพิทักษ์, ชลูด นิ่มเสมอ, และ สวัสดิ์ ตันติสุข ซึ่งถือเป็นศิลปินรุ่นแรก ๆ ของศิลปะไทยแบบสมัยใหม่ที่ได้สืบทอดความรู้ ความคิดสร้างสรรค์และอุดมการณ์ที่เขาได้วางรากฐานไว้ให้ ในส่วนของห้องที่สองหรือห้องชั้นใน จัดแสดงเครื่องมือเครื่องใช้ของเขาในช่วงที่ท่านยังมีชีวิต เช่น โต๊ะทำงาน เครื่องพิมพ์ดีด เครื่องเล่นแผ่นเสียง เครื่องมือปั้น เป็นต้น โดยในห้องที่สองนี้ได้มีการจำลองห้องทำงานแบบดั้งเดิมในสมัยที่ท่านยังมีชีวิตอยู่ รวมไปถึงแบบร่างอนุสาวรีย์และประติมากรรมชิ้นสำคัญและหนังสือหายากที่เขาเคยใช้ค้นคว้าข้อมูลเกี่ยวกับศิลปะตะวันตกซึ่งให้บริการแก่ผู้เข้าชมอีกด้วย
เกียรติยศ
เครื่องราชอิสริยาภรณ์
- พ.ศ. 2497 – เครื่องราชอิสริยาภรณ์อันมีเกียรติยศยิ่งมงกุฎไทย ชั้นที่ 1 ประถมาภรณ์มงกุฎไทย (ป.ม.)
- พ.ศ. 2495 – เครื่องราชอิสริยาภรณ์อันเป็นที่เชิดชูยิ่งช้างเผือก ชั้นที่ 2 ทวีติยาภรณ์ช้างเผือก (ท.ช.)
- พ.ศ. 2496 – เหรียญดุษฎีมาลา เข็มศิลปวิทยา (ร.ด.ม.(ศ))
- พ.ศ. 2485 – เหรียญรัตนาภรณ์ รัชกาลที่ 6 ชั้นที่ 4 (ว.ป.ร.4)
- พ.ศ. 2470 – เครื่องราชอิสริยาภรณ์อันมีเกียรติยศยิ่งมงกุฎไทย ชั้นที่ 5 เบญจมาภรณ์มงกุฎไทย (บ.ม.)
สมัญญานาม
ดูเพิ่ม
หมายเหตุ
- ^ ตามที่ปรากฏในผลงานของบุคคลนี้ ในเอกสาราชการ และงานอื่น ๆ ที่เกี่ยวกับบุคคลนี้ เช่น
- ศิลป พีระศรี (2506). พรุ่งนี้ก็ช้าไปเสียแล้ว. พระนคร: บริษัทไทยหัตถการพิมพ์จำกัด.
- ศิลป พีระศรี (2506). บทความเรื่องศิลป. พระนคร: ห้างหุ้นส่วนจำกัดศิวพร.
- (PDF). ราชกิจจานุเบกษา. กรุงเทพฯ: กรมเลขาธิการคณะรัฐมนตรี. 70 (14): 691. 2496-02-17. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิม (PDF)เมื่อ 2016-03-04. สืบค้นเมื่อ 2013-05-18.
- (PDF). ราชกิจจานุเบกษา. 72 (69): 4653. 2495-12-09. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิม (PDF)เมื่อ 2012-05-28. สืบค้นเมื่อ 2021-10-29.
ส่วนเอกสารปัจจุบันบางฉบับเปลี่ยนไปสะกดว่า "ศิลป์ พีระศรี" เช่น วิจิตร อภิชาตเกรียงไกร, บ.ก. (ม.ป.ป.). (PDF) (2 ed.). กรุงเทพฯ: Yearbook Publisher. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิม (PDF)เมื่อ 2016-03-12. สืบค้นเมื่อ 2010-02-01. {{}}
: ตรวจสอบค่าวันที่ใน: |year=
((help))
อ้างอิง
- . คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2022-01-31. สืบค้นเมื่อ 2022-01-31.
- 15 กันยายน "วันศิลป์ พีระศรี" เปิดประวัติอาจารย์ชาวอิตาลีสัญชาติไทย
- สยามศิลปิน - ศาสตราจารย์ศิลป พีระศรี บิดาแห่งศิลปะสมัยใหม่ในประเทศไทย
- ชีวประวัติบิดาแห่งศิลปะร่วมสมัยในประเทศไทย
- ราชกิจจานุเบกษา, แจ้งความสำนักคณะรัฐมนตรี เรื่อง พระราชทานเครื่องราชอิสริยาภรณ์, เล่ม ๗๑ ตอนที่ ๘๔ หน้า ๒๘๑๑, ๑๔ ธันวาคม ๒๔๙๗
- ราชกิจจานุเบกษา, แจ้งความสำนักนายกรัฐมนตรี เรื่อง พระราชทานเครื่องราชอิสริยาภรณ์ 2012-05-28 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน, เล่ม ๖๙ ตอนที่ ๗๒ ง หน้า ๔๖๕๓, ๙ ธันวาคม ๒๔๙๕
- ราชกิจจานุเบกษา, แจ้งความสำนักนายกรัฐมนตรี เรื่อง พระราชทานเหรียญดุษฎีมาลา เข็มศิลปวิทยา 2016-03-04 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน, เล่ม ๗๐ ตอนที่ ๑๔ ง หน้า ๖๙๑, ๑๗ กุมภาพันธ์ ๒๔๙๖
- ราชกิจจานุเบกษา, แจ้งความสำนักนายกรัฐมนตรี เรื่อง พระราชทานเหรียญรัตนาภรณ์ รัชกาลที่ ๖, เล่ม ๕๙ ตอนที่ ๒๙ ง หน้า ๑๑๒๖, ๒๘ เมษายน ๒๔๘๕
- พระราชทานเครื่องราชอิสริยาภรณ์
- ประวัติวันศิลป์ พีระศรี 15 กันยายน บิดาแห่งวงการศิลปะ
- . คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2019-04-06. สืบค้นเมื่อ 2018-07-13.
- ศาสตราจารย์ศิลป์ พีระศรี คอลัมน์ รู้ไปโม้ด
- Oscar Nalesini, L'Asia Sud-orientale nella cultura italiana. Bibliografia analitica ragionata, 1475-2005. Roma, Istituto Italiano per l'Africa e l'Oriente, 2009 .
งานศึกษาที่เกี่ยวข้อง
- เกษรา ศรีนาคา. (2558). ศิลป พีระศรี กับการสถาปนาศิลปะแห่งชาติ (พ.ศ. 2475-2505). วิทยานิพนธ์ ศศ.ม. (ประวัติศาสตร์). เชียงใหม่: บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่. ออนไลน์.
- ถนอม ชาภักดี. (2557, พ.ค.-ส.ค.). ศิลป์ พีระศรี: ในนามอำนาจของชนชั้นนำกับผลผลิตศิลปะในฐานะเครื่องมือของผู้อุปถัมภ์. รัฐศาสตร์สาร 35(2): 114-126.
- ภิญญพันธุ์ พจนะลาวัณย์. (2557, ม.ค.-เม.ย.). ศิลปาณานิคม ในนามของ ศิลป์ พีระศรี: ว่าด้วยอำนาจนำวงการศิลปะไทย. รัฐศาสตร์สาร 35(1): 178-243.
- สิทธิธรรม โรหิตะสุข. (2557). ประวัติศาสตร์การประกวดศิลปกรรมในประเทศไทยตั้งแต่ทศวรรษ 2480 ถึงทศวรรษ 2530. วิทยานิพนธ์ อ.ด. (ประวัติศาสตร์). กรุงเทพฯ: ภาควิชาประวัติศาสตร์ คณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. ออนไลน์.
แหล่งข้อมูลอื่น
ศิลป พีระศรี
- 109ปีชีวิตและจิตวิญญาณ ศิลป์ พีระศรี 2016-03-12 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน
- อาจารย์ศิลป์กับลูกศิษย์ 2020-09-18 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน
wikipedia, แบบไทย, วิกิพีเดีย, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด, บทความ, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม, มือถือ, โทรศัพท์, Android, iOS, Apple, โทรศัพท์โมบิล, Samsung, iPhone, Xiomi, Xiaomi, Redmi, Honor, Oppo, Nokia, Sonya, MI, PC, พีซี, web, เว็บ, คอมพิวเตอร์
sastracary silp phirasri Note 1 15 knyayn ph s 2435 14 phvsphakhm ph s 2505 edimchux kxrraod eforchi Corrado Feroci epnchawxitalisychatiithy epnpratimakrcakemuxngflxernsthiekhamarbrachkarinpraethsithytngaetsmyphrabathsmedcphramngkudeklaecaxyuhw odythuxepnpuchniybukhkhlkhnhnungkhxngithythiidsrangkhunupkarinthangsilpaaelamiphlnganthiepnthiklawkhancnepnthiruckkwangkhwang thngyngepnphukxtngaelaxacarysxnwichasilpathi sungphayhlngidrbkarykthanaihepnmhawithyalysilpakr odydarngtaaehnngkhnbdikhnacitrkrrmpratimakrrmaelaphaphphimphkhnaerk mikhwamrkikhr hwngiyaelaprarthnaditxluksisyxyutlxdcnepnthirkaelanbthuxthnginhmusisyaelaxacarydwyknsastracarysilp phirasrip m th ch phaphthayxyangepnthangkarkhxng sastracarysilp phirasrikhnbdikhnacitrkrrmpratimakrrmaelaphaphphimphdarngtaaehnng 12 tulakhm ph s 2486 14 phvsphakhm ph s 2505mhawithyalysilpakrkxnhnasthapnakhnathdipekhiyn yimsiri rksarachkaraethn khxmulswnbukhkhlekidkxrraod eforchi 15 knyayn ph s 2435 emuxngflxerns rachxanackrxitaliesiychiwit14 phvsphakhm ph s 2505 69 pi cnghwdthnburi praethsithyechuxchatixitali odykaenid ithy hlng ph s 2485 khusmrsaefnni wiewiynni malini ekhnnibutrbuphkarixatuot eforchi bida santina eforchi marda sisyekachuxxunxacaryfrngphlnganthisakhyphraphuththrupprathanthiphuththmnthlxnusawriychysmrphumixnusawriythawsurnarixnusrnwnsilp phirasri duephim laymuxchux ekhayngepnphuwangrakthanthiekhmaekhngihaekwngkarsilpaithysmyihmcakkarthiidphrasxnaelaphlkdnluksisyihidmikhwamrukhwamsamarthinwichasilpathngngancitrkrrmaelanganchang micudprasngkhihkhnithymikhwamrukhwamekhaicinsilpaaelasamarthsrangsrrkhngansilpaiddwykhwamsamarthkhxngbukhlakrkhxngtnexng karkxtngmhawithyalysilpakrcungepriybesmuxnkarhwanemldphnthuihaekkhnithyephuxthicaxxkipsrangsilpaephuxaephndinkhxngtn aelathungaemcarierimrakthankhxngkhwamrudansilpatawntkinpraethsithy aetinkhnaediywknekhaidsuksasilpaithyxyangluksung enuxngcaktxngkarihkhnithyrksakhwamngamkhxngsilpaithyexaiw cungidekidkarsrangluksisythimikhwamruthngngansilpatawntkaelasilpaithyxxkipepnkalngsakhyihaekwngkarsilpaithyepncanwnmak aelaekidrupaebbngansilpaithysmyihminthisud dwykhunupkarniekhacungidrbkarykyxngihepnpuchniybukhkhlkhxngmhawithyalysilpakraelakhxngpraethsithy odyechphaainnganpratimakrrmthiidmiphlnganthioddednmakmaythisrangiwaekpraethsithy idaek phraphuththrupprathanthiphuththmnthl xnusawriychysmrphumi xnusawriyprachathipity aelarwmipthung phrabrmrachanusawriy smedcphraecakrungthnburi thiwngewiynihy phrabrmrachanusawriysmedcphranerswrmharach xnusawriythawsurnari aelaphrabrmrachanusawriykhxngkstriyithyxikhlayphraxngkh epntn dwyehtunisastracarysilp cungidrbkarykyxngwaepn aelaepn odyinwnthi 15 knyayn khxngthukpicathuxepn sungmhawithyalysilpakrcacdnganralukkhunthukpiephuxralukthungkhunngamkhwamdithimitxmhawithyalyaelapraethsithynanpkarprawtiwyhnumaelachiwitthiflxerns sastracary silp phirasri minamedimwakhxrraod eforchi ekidemuxwnthi 15 knyayn ph s 2435 inekhtsanocwnni San Giovanni emuxngflxerns praethsxitali epnbutrkhxngnayxatuod eforchiaelanangsantina eforchi sungprakxbthurkickarkha aelaenuxngcakekidaelaxasyxyu n emuxngflxerns nkhraehngkarkaenidsilpaerxensxngschuxkxngkhxngxitali khxrraodcungmikhwamsnicinwichasilpamatngaetwyedk khxrraodnnmikhwamsnicaelachunchxbinphlnganpratimakrrmkhxngmieklnecolaelaolernos kiaebrtiinmhawiharflxernsepnxyangmak cungidsmkhrepnlukmuxchwyngansilpinthimichuxesiyngtamstudioxtangkhxngemuxngflxerns ekhamikhwamtngicaenwaenthicasuksawichasilpaaelaepnsilpinihid xyangirktambidamardakhxngkhxrraodklbimehndwykbkhwamkhidkhxngekhaephraatxngkarihmasubthxdthurkickhxngkhrxbkhrwtxipmakkwa aetkhxrraodmikhwamtngicthicasuksasilpaxyangaerngkla cungidekbsasmenginaelaekhasuksain Accademia di Belle Arti di Firenze hlksutr 7 pi inpiph s 2451 aelacbkarsuksainpiph s 2458 inkhnathimixayu 23 pidwyekiyrtiniymxndbthihnung aelaidrbprakasniybtrchangpnchangekhiyn txmaidsxbkhdeluxkaelaidrbtaaehnngepnsastracarypracarachwithyaly sastracarykhxrraodmikhwamrxbruthangdanprawtisastrsilpa wicarnsilpaelaprchyaodyechphaamikhwamsamarththangdansilpaaekhnngpratimakrrmaelacitrkrrmepnxyangsung idsrangsrrkhphlngansilpaiwmakmayaelaidrbrangwlchnaeliskarprakwdxxkaebbxnusawriycakrthbalhlaykhrng xathiechn phlnganxnusawriyphuklainsngkhramolkkhrngthi 1 bnekaaexlba epntn karekharbrachkarinaephndinsyam sastracarykhxrraod smrskbnangaefnni wiewiynni mibutrsawchux xissaeblla aelasubenuxngcakpi ph s 2466 thanidchnakarprakwdkarxxkaebbehriyyengintrasyamthicdkhuninyuorpaelayngmikhwamtxngkaraeswnghasthanthiptibtinganaehngihm prakxbkbinchwngewlannsungtrngkbrchsmyphrabathsmedcphramngkudeklaecaxyuhw miphrarachprasngkhtxngkarbukhlakrthiechiywchayindansilpatawntkephuxthicaekhamarbrachkarepnchangpninaephndinithyaelathakarfuksxnchangithyihmikhwamsamarthinkarsrangnganpratimakrrmaebbtawntkid thangrthbalxitalicungidyunkhxesnxodykarsngkhunwuthiaelaphlngankhxngsastracarykhxrraodihsyamphicarna odysmedcphraecabrmwngsethx ecafakrmphrayanrisranuwdtiwngsepnbukhkhlsakhyinkarkhdeluxksastrcarykhxrraodihmaptibtinganinsyam dwyehtunisastracarykhxrraodcungedinthangsuaephndinsyamphrxmkbphrryaaelabutrsawodythangerux ephuxekhamarbrachkarepnchangpnpracakrmsilpakr krathrwngwng inrchsmyphrabathsmedcphramngkudeklaecaxyuhw emuxwnthi 14 mkrakhm ph s 2466 khnamixayuid 32 pi aelaidrbkaraetngtngihepnxacarysxnwichachangpnhlx aephnksilpakrsthanaehngrachbnthityspha inpi ph s 2469 emuxaerkerimkarekharbrachkar sastacarykhxrraodthasyyarbrachkarinsyamepnrayaewla 3 pi dwyxtraengineduxn 800 bath aetintxnaerkkyngimidrbkaryxmrbmakethaidenuxngcakyngimmiikhridehnfimuxkhxngthan cnkrathngidmioxkasekhaefasmedcphraecabrmwngsethx ecafakrmphrayanrisranuwdtiwngs sungidprathbthdlxngepnaebbpnihkbsastracarykhxrraod aelapraktwasastracarykhxrraodsamarthpnidxyangsmcringepnxyangmak smedcphraecabrmwngsethx ecafakrmphrayanrisranuwdtiwngscungkrabbngkhmthul echiyihphrabathsmedcphramngkudeklaecaxyuhw rchkalthi 6 esdcmaepnaebbcringihaeksastracarykhxrraod odypnhunechphaaphraphktr idepnthiphxphrarachhvthyaelaepnthiyxmrbkhxngkhninkrathrwng aerkerimsastracarykhxrraodidwanghlksutrxbrmihaekphuthisnicinwichapratimakrrmsungswnmacbkarsuksamacakorngeriynephaachangodyimekbkhathrrmeniymid sungtxmabukhkhlthiphankarxbrmkidepnhnunginkalngsakhykhxngkickarnganpnhlxkhxngkrmsilpakr thaihthangrachkaridkhxihsastracarykhxrraodwanghlksutrkarsuksarupaebbediywknkbsthabnsilpainyuorp sastrcarykhxrraodidwanghlksutrwichacitrkrrmaelapratimakrrmkhun ephuxichin sngkdkrmsilpakr thiphrasaorchrtnnimmank saorch sukhyangkh kxtngkhun phayhlngidrwmorngeriynekhakborngeriynnatyduriyangkhsastraelaepliynchuxepn aelaphthnakareriynkarsxneruxyma cninpi ph s 2485 krmsilpakridaeykcakkrathrwngsuksathikaripkhunxyukbsanknaykrthmntriaelarthbalinkhnannody phncxmphl p phibulsngkhram naykrthmntri trahnkthungkhwamsakhykhxngsilpawaepnwthnthrrmthisakhyyingsakhahnungkhxngchati cungidmikhasngih inkhnannkhux phrayaxnumanrachthn daeninkarprbprunghlksutr aelatraphrarachbyyti ykthanaorngeriynsilpakrkhunepn mhawithyalysilpakr emuxwnthi 12 tulakhm ph s 2486 odycdtngkhnacitrkrrmaelapratimakrrm khunepnkhnawichaaerk sungsastracarykhxrraodkiddarngtaaehnngkhnbdikhnaerkkhxngkhnacitrkrrmkhwbkhuipkbtaaehnngxacaryphusxnxikdwy karidrbsychatiithyaelachiwitinbnplay insmysngkhramolkkhrngthi 2 ph s 2485 praethsxitaliyxmcanntxfaysmphnthmitr chawxitali inpraethsithycungtkxyuphayitkarkhwbkhumtwkhxngyipun enuxngcakfayyipunexngtxngkarsubihthrabwachawxitaliklumniphkditxkstriyaehngrachwngssawxyphusungprakasyxmcanntxfaysmphnthmitrhruxsnbsnunfaysatharnrthsngkhmniymxitalithiprakaskhxsutxknaen thaihsastracarykhxrraodexngkthukkhwbkhumtwiwechnkn aetrthbalithyidelngehnthungkhwamsamarththanaelaidkhxkhwbkhumtwsastracarykhxrraod eforciexaiwexngephuxkhumkhrxngthaniw imtxngipthukeknthepnechlysukihsrang thangrthifsaymrna aelasaphankhamaemnaaekhw emuxngkaycnburi odyhlwngwicitrwathkar iddaeninkarthaeruxngrawkhxoxnsychaticaksychatixitalimaepnsychatiithy odyepliynchuxkhxngthancaknaykhxrraod eforciihmaepn naysilp phirasri nbaetnnepntnma aetenuxngcaksphaphesrsthkicthitktalngxyangmakphayhlngsngkhramolkkhrngthi 2 khakhrxngchiphinpraethsithysungkhun thaihsthanathangkarenginkhxngthanidrbphlkrathbepnxyangmak odyekhacatxngkhaythngrthyntaelaban rwmthungthidin ephuxaekpyhawikvtthangkarengin aetkimsamarthaekikhpyhaniidinthaythisud ekhacungcaepntxngedinthangklbipyngxitali praethsbanekidphrxmkbkhrxbkhrwhruxkkhuxkarlaxxkcakrachkarnnexng aetenuxngcaknganinpraethsithythiyngkhngtidkhangxyumak rwmipthungkhwamrkinpraethsithyaelaxudmkarninkarphthnawngkarsilpaithykhxngthan thaihekhatdsinicedinthangklbmarbrachkaraelarbtaaehnngepnxacarythimhawithyalysilpakrxikkhrnginph s 2492 aetinkhrngninangaefnni xisaebllaaelaormaon lukchaythiekidinpraethsithy nnimidedinthangklbmadwy thaihxacarysilp txngcakkhrxbkhrwaelahyudchiwitsmrskhxngthanlngechnkn inchwngbnplaychiwit idxuthisewlathiehluxihkbwngkarsilpaithy thngkarsxn karsrangsrrkhphlngan rwmipthungkaridsuksasilpaithyxyangluksung ephuxkarsrangsrrkhngansilpaithysmyihmthikhwrcamiexklksnkhxngithyiwihsubtxipaemkhwamrudansilpatawntkerimaephrhlayaelwktam ngankhxngsastrcarysilpcungthuxepnnganaerkerimkhxngsilpaithysmyihmthiaemcaidrbxiththiphltawntkaetkphsmphsansilpaaebbithypraephniiwxyangklmklun sastracarysilp aetngnganihmkbnangmalini ekhnni inpiph s 2502 aetimidmibutrdwykn odyyngkhngthumethewlaaelaxuthischiwitihkbwngkarsilpaithyeruxymacnthung ph s 2505 thanidlmpwylngdwyxakarorkhmaernglaisihy kxncathungaekxnickrrminwnthi14 phvsphakhm ph s 2505 thiorngphyabalsirirach dwyphawahwiclmehlwphayhlngkarekharbkarphatdmaernglaisihy sirixayuid 69 pi 241 wn odymiphithiphrarachthanephlingsphthiemruhlwnghnaphlbphlaxisriyaphrn wdethphsirinthrawas emuxwnthi17 mkrakhm ph s 2506 sungxthithukaeykipsamswndwyknkhuxthisusanchimietor edyli xllxri emuxngflxerns praethsxitali swnthisxngthukbrrcuinxnusawriysastracarysilp phirasri n lansastracarysilp phirasri inmhawithyalysilpakr wngthaphra aelaswnthisamthukekbiwin inkrmsilpakr odytlxdchwchiwitkarthangankwa 39 piinpraethsithy thanidrbmxbhmaycakrthbalithyihxxkaebbpnaelakhwbkhumkarhlxphrabrmrachanusawriyaelaxnusawriysakhykhxngpraethsithycanwnmak aelayngrwmipthungkarxxkaebbphraphuththrupprathanthiphuththmnthl sungsastracarysilp idsuksaphraphuththruplilakhxngsilpasuokhthyxyangluksung cnsamarthsrangphraphuththruplilathimikarphsmphsanrupaebbsilpasuokhthyekhakbsilpaithysmyihmaelamikhwamngdngamepnxyangmakthisudxngkhhnungkhxngithy phlngankhxngthanyngkhngpraktihehntxsaytachawithy echkechnediywkbkhunngamkhwamdikhxngthanthiyngepnthiralukthungesmxmachiwitswntwekhathuxepnbukhkhlthimiicrkinsilpamatngaetedk epnsingthithanihkhwamsnicmakkwasingxunid thanksamarthsngesiytwexngcneriyncbdwyekiyrtiniymxndbthi 1 aelasamarthsxbekhaepnsastracaryidtngaetxayuyngnxy aetngngankhrngaerkkbnangphaoxla aexngeclini aetkidkhxaeykthangtamkhasngsalinhnungpiihhlng caknnthanaetngnganihmkb aefnni wiewiynni mibutrsxngkhn butrsawchux xisaeblla swnbutrchaychux ormaon ekidaelaetibotthiithy emuxekharbrachkarinpraethsithythanidrbengineduxnthiephiyngphxtxkareliyngkhrxbkhrwkhxngthan ekhaminisyrkthrrmchati chxbkhwameriybngayaelahlngrkinwthnthrrmithyepnxyangmak mikhwamtngiccringthicachwyphthnawngkarsilpaithyihkawhna inmummxngkhxngluksisynn ekhaepnkhnthimikhwamrkikhr hwngiylaprarthnaditxluksisyepnxyangmak inewlasxnekhacacringcngaelaepnkhnthimikhwamtrngtxewla sxndwykhwamekhmngwdaelamkcaphrasxnihnksuksathanganhnkxyuepnpraca ephraangansilpathidinnyxmmacakkarfukfnxyanghnk odythanyngmikhwamepnknexngkbnksuksa mkcaaethntwexngwa chn aelaaethnnksuksawa nay emuxnksuksakhnihnkhadaekhlnthunthrphythankmkcachwyehluxesmx thanyngoprdprankarfngephlngepnxyangmak odyephlngthithanmkcahmewlathanganxyubxykkhux ephlngphunemuxngphasaxitalisungphayhlngidklaymaepn sastracarysilp yngepnkhnthitngicinkarthanganxyangaethcring thancamathangantngaetechatru ichewlaphkphxninchwngklangwnaekhsnephuxthicaimepnkaresiyewlatxkarthangan aelacaklbbanktxemuxkhaaelwethann odycaichewlaipkbkarthanganinhxngthangan sxnnksuksaaelahakhwamruephimetimtlxdewla inphawasngkhramolkkhrngthi 2 thancaphimphkhdlxkexksarsahrbsxnnksuksaiwephimetimxikhnungchudesmxephuxpxngknkhwamesiyhaycakraebid hlngcaksngkhramsinsudthancatxngkhaythngrth banaelathidinephuxaekpyhawikvtkarenginkhrxbkhrw aetkyngpnckryancakbanthangthnnsukhumwithmasxnxyuthukwn emuxcaepntxngedinthangklbxitaliephraawikvtthangkarenginaetthankynghwngnganthipraethsithythiyngkhngkhngkhang cungcaepntxngaeykthangkbkhrxbkhrwephuxthicamasantxxudmkarnkhxngthantx inchwngbnplayaemcapwyhnkaetekhakyngthangankhxngthantx thanyngtrwckhxsxbkhxngnksuksainkhnathirksatwthiorngphyabalsirirach thanidbxkklawkbluksisyiwwa nay thachntay naynukthungchn nayrkchn nayimtxngipthaxair naythangan sungepnkhasxnthiluksisyyudthuxiwxikpraoykhhnungephuxchwysubtxxudmkarnkhxngsastracarysilp phirasri inkarphthnawngkarsilpaithytxiptrabnanethanankhunupkartxsilpaithyphraphuththrupprathanthiphuththmnthl phlnganthimikarphsmphsankhwamngamaebbekaaelaihmxyanglngtw thuxepnkarrierimsilpaithysmyihmxyangaethcring sastracarysilp mixudmkarnthicatxngkarphthnawngkarsilpaithyihkawhnamakyingkhunipxik aelainyukhthisilpatawntkkalngrungeruxnginpraethsithy singthithanelngehnkkhuxkarthaxyangirihkhnithysamarthsrangphlnganrupaebbtawntkiddwytwexngodyimtxngwacangchangtawntk aelamingansilpathiepntwkhxngtwexngimlxkeliynaebbtawntkipesiyhmd dwyaenwkhidnicungekidorngeriynpranitsilpkrrmkhunephuxephaaphnthuemldsilpinthicaetibotipepninphayphakhhna xiksaehtuhnungthithantdsinictngorngeriynkhunkephraathanmxngwakarepidorngeriynsxnephuxphlitsilpinnnepnsingthimikhunkhatxwngkarsilpamakkwakarsrangsrrkhnganaettwthanephiynglaphng nxkcakniekhayngidmiswnchwyinkarcdhathunthrphyaelathunkarsuksaihaeknksuksasilpachawithyephuxrksaihchatiyngkhngmisilpinhnaihmekidkhuntxip enuxngcakinyukhkhawyakhmakaephngnnphupkkhrxngaethbthukkhnimsnbsnunihlukkhxngtneriynwichasilpa ekhacungidphyayamxyangsudkhwamsamarthihithysamarthmichangthimifimuxidtxip sungkprasbkhwamsaercephraabrrdaluksisykhxngthanerimepnthiruckkninwngkwang cakkhwamruindansilpatawntkthithanidphrasxnihaekluksisyniexngthaihwngkarsilpaithyekidsilpinhnaihmthimifimuxaelarupaebbkarsrangsrrkhphlnganthiaeplkihmxxkmaid sastracarysilp idrbmxbhmayihsrangphrabrmrachanusawriyaelaxnusawriysakhykhxngithymakmayhlayaehng sungthanidichkhwamruindansilpatawntksrangnganaetkyngmiidlathingkhwamngamkhxngsilpaithyhruxthieriykknwa ip thngniephraathanidelngehnwasilpaithykmikhwamngamaelaexklksnepnkhxngtn xikthngchangithyyngidmikarsubthxdkhwamruwichaindansilpaithymayxyangyawnan karthicathaihwngkarsilpaithykawhnaktxngimlumrakehngaedimkhxngithythimimaaetobran thancungidthakarsuksasilpaithyxyanglaexiydodyechphaakarsuksaphraphuththrupinsilpasuokhthythithanidykyxngiwwamikhwamngdngamepnthisud idmikarsuksarupaebbsilpakhxngphraphuththrupaelamibthkhwamwichakartiphimphxxkmamakmay kxnthicaprasbkhwamsaercinkarxxkaebbphraphuththrupphrasrisakyathsphlyan prathanphuththmnthlsuthrrsnsungthuxepncudsungsudkhxngkhwamngamkhxngsilpaithy mikarnakhwamruihmkhuxsilpatawntkinlththiscniymthiechuxineruxngkhxngkhwamsmcringmaphnwkichkbkhwamngamaebbdngedimkhxngsilpasuokhthy thisrangaebbsilpaithypraephnicnkxihekidkhwamngamrupaebbihmsungthuxepncuderimtnaelaepntnaebbkhxngsilpaithysmyihmxyangaethcring enuxngcakekhaidepnphuwangrakthanihxyangmnkhng cungsngphlihsilpinrunhlngsamarthsubthxdngansilpaithyxxkipidxyangetmthi nxkipcaknnaelwsastracarysilp yngidepnkalnghlkinkarphlkdnihekidkarprakwdwadesn citrkrrmaelapratimakrrm cnekidepnnganaesdngsilpkrrmaehngchatikhun micudprasngkhihsilpinithyekidkaraekhngkhninkarsrangsrrkhphlnganthidixxksusatharnchnaelachwyihsilpaithymikhwamkawhnatxipidxyangimmihyud aelaelngehntxnganchangaelangansilpaithyinsakhaxun cungidsngesrimihmikarkxtngkhnainmhawithyalysilpakrephimkhuxkhnasthaptykrrmsastr sunginrayaaerkeriykwa khnaobrankhdi aelakhnamnthnsilp dwykhunupkarnanpkarni sastracarysilp phirasri cungidrbkarykyxngihepnthiidphlikochmrupaebbsilpaithyaebbedimihmikhwamkawhnaipxyangsungthdethiymsakl ekidsilpinaelaphuechiywchaycanwnmakthisamarthsubthxdngansilpaithytxipidnanethanan imephiyngaetngandancitrkrrm pratimakrrmaetyngrwmipthungngandansthaptykrrm obrankhdiaelaprawtisastrsilpa rwmipthungmnthnsilpxikdwyphlnganphaph chux thitng srangemux khxmulxnusawriyphuklainsngkhramolkkhrngthi 1 ekaaexlba praethsxitali ph s 2465 ekhaidrbrangwlchnaelismxbodyrthbalxitalicakxnusawriynipthmbrmrachanusrnpthmkstriyaehngphrabrmrachckriwngs pradisthanthiechingsaphanphraphuththyxdfa krungethphmhankhr ph s 2472 sastracarysilp idpnaebbaelakhwbkhumkarhlxdwytwexngthipraethsxitalixnusawriythawsurnari nkhrrachsima ph s 2476 epnxnusawriykhxngwirstriithythimikhwamngdngamaelaepnsunyrwmcitickhxngchawokhrachxnusawriyprachathipity thnnrachdaenin krungethphmhankhr ph s 2482 sastracarysilp pnaebbpratimakrrmaelakhwbkhumngankxnsrangthnghmdphrabrmrachanusrnphrabathsmedcphramngkudeklaecaxyuhw swnlumphini krungethphmhankhr ph s 2484 mikhnad 3 ethakhxngphraxngkhcring aerkerimxxkaebbihthrngthuxphramala kxncaepliynihswmphramalainphayhlngxnusawriychysmrphumi krungethphmhankhr ph s 2485 sastracarysilp pnaelakhwbkhumkarhlxpratimakrrmbukhkhlthnghaaelakhwbkhumkarsrangxnusawriyphrabrmrachanusawriysmedcphraecataksinmharach wngewiynihy krungethphmhankhr ph s 2493 mikhwamoddedndwylksnapratimakrrmthingdngam miexklksnaelasmcringepnxyangmakodyechphaapratimakrrmmathixyuinthayunphrxmwingaelathuksdswnkaywiphakhphrabrmrachanusrnsmedcphranerswrmharach xaephxdxnecdiy cnghwdsuphrrnburi ph s 2497phrasrisakyathsphlyan prathanphuththmnthlsuthrrsn phuththmnthl cnghwdnkhrpthm ph s 2498 srangkhunephuxepnphuththbuchaenuxnginenuxnginworkasmhamngkhlkalthiphraphuththskrachewiynmabrrcbkhrbrxb 2 500 pi epnphlsaerckhxngkarsuksasilpasuokhthyxyangluksungkhxngsastracarysilp ekidkarsrangphraphuththruprupaebbihmthithuxepnphsmphsanlththiscniymkhxngtawntkekhakbsilpaithypraephniaebbdngedim thuxepnkarkhngexklksnekaipphrxmkbkarsrangsrrkhrupaebbsilpasmyihmthiepncuderimtnkhxngsilpaithysmyihmxyangaethcringphlnganpratimakrrmkhxng silp phirasri smedcecafakrmphrayanrisranuwdtiwngs echphaaphraesiyr thacaksarid thuxepnphlnganchinaerkthithaihsastracaysilpepnthiruck phrabathsmedcphramngkudeklaecaxyuhw echphaaphraesiyr phrabathsmedcphramngkudeklaecaxyuhwthrngphxphrarachhvthyepnxyangmakhlngidehnphrabrmrupkhxngphraxngkh phrabathsmedcphrapkeklaecaxyuhw khrungphraxngkh thapunplasetxr pccubnxyuthikxnghtthsilp krmsilpakr phrabathsmedcphraecaxyuhwxannthmhidl 2 xngkh thapunplasetxr pccubnxyuthi phraphnwssaxyyikaeca epnpratimakrrmnuntadwypunplasetxr pccubnxyuthi smedckrmphrayadarngrachanuphaph khrungphraxngkh thacakpunplasetxr pccubnxyuthikxnghtthsilp krmsilpakr smedcphraphuththokhsacary ecriy yanwor wdethphsirinthrawas khrungxngkh pccubnxyuinkrmsilpakr phrayannayk plum wdxudmthani cnghwdnkhrnayk epnpratimakrrmnunsung thacakpunphlasetxr hlwngwicitrwathkar khrungtw thacakpunplasetxr pccubnxyuthikrmsilpakr echphaasirsa thacakbrxns nangmalini phirasri echphaasirsa pccubntngxyuthiphiphithphnthsthanaehngchati silp phirasri xnusrn krungethphmhankhr ormaon lukchay phaphrangimesrc pccubnxyuthikrmsilpakr nang rupehmuxnkhrungtw thacakbrxns pccubnxyuthihxsilpaehngchati phrabrmrupphrabathsmedcphraecaxyuhwxannthmhidl echphaaphraesiyr phrabrmrupphrabathsmedcphraecaxyuhwphumiphlxdulyedch khrungphraxngkh pnimesrc ephraaesiychiwitkxnkarralukaelaxnusrnwnsakhy mikarralukthungthanthukwnthi 15 knyayn sungtrngkbwnkhlayekidkhxngthan eriykknwa odythuxepnwnsakhykhxngwngkarsilpaithyaelanksuksamhawithyalysilpakr inwnsilp phirasri mhawithyalysilpakr cacdkickrrmkhunphayinmhawithyalyephuxihsisypccubn sisyekahruxphuthisnicekharwmkickrrmephuxralukthungkhunngamkhwamdikhxngthan mikarwangdxkimepnkarralukthungthanthibriewnhna odynksuksacaepidrankhaykhxngthiralukaelamikaraesdngdntrisdtlxdthngwn nxkcaknnyngmikarepidihprachachnekharwmaesdngkhwamekharphtxxthikhxngthanin aelaphithisakhycaerimkhuninchwngewlahnungthum sungcaepnkarcudethiynthi rwmrxngaela ephuxepnkarralukthungthaninwnsakhyni xnusawriyaelaxnusrnsthan xnusawriysastracarysilp phirasri n mhawithyalysilpakr wngthaphra ehlaluksisykidmikhwamphyayamthicacdsrangxnusawriykhxngekhaephuxepnekiyrtiaedthanthiidmikhunupkartxsilpaithyaelaepnphukxtngaelawangrakthanihaekmhawithyalysilpakr aetenuxngdwykdhmaykhxngpraethsithyintxnnnimxnuyatihmikarcdtngxnusawriykhxngkhntangchatiinpraethsid thungxyangnnxacary sungepnluksisyrunaerk khxngekha idaexbsrangxnusawriykhxngekhakhnadethakhncringkhun aetkimmithithicasamarthcdtngidcungcaepntxngekbexaiwinhxngkhnbdikhnacitrkrrmpratimakrrmaelaphaphphimph cnkrathnginwnthi 13 phvsphakhm ph s 2512 klumnksuksamhawithyalysilpakr wngthaphra naody idekhaipnaxnusawriyxxkmacakhxngkhnbdi kxthanaelwthakartidtngxnusawriyekhaodyimekrngklwkbkarodncb sunginpccubnxnusawriynikyngkhngtngxyuechnedim odylanaehngnimichuxeriykkninhmunksuksawa lanxacarysilp aelayngmikarsrangephimetiminphayhlngthiwithyaekhtphrarachwngsnamcnthraelawithyaekhtsarsnethsephchrburixikdwy nxkehnuxipcakkarcdthaxnusawriyaelwyngidmikarcdtngphiphithphnthkhunephuxepnesmuxnxnusrnsthanaekekha odyichchuxwa phiphithphnthsthanaehngchati silp phirasri xnusrn odyepnkhwamrwmmuxknrahwangbrrdaluksisyaelaphuiklchidekha ephuxralukthungkhunupkarkhxngthan tngxyuinkrmsilpakr mikarthaphithiepidxyangepnthangkaremuxwnthi 15 knyayn ph s 2527 sungtrngkbwnkhlaywnekidkhrbrxb 92 pi khxngthan odynaychwn hlikphy rthmntriwakarkrathrwngsuksathikarinsmynnmaepnprathaninphithi sungpccubnphiphithphnthaehngnisngkdinsankphiphithphnthsthanaehngchati krmsilpakr inekhruxphiphithphnthsthanaehngchati hxsilp phayintwxakharcdaesdngnithrrskarthawr mikaraebngkarcdaesdngxxkepn 2 hxngcdaesdng khuxhxngchnnxktrngthangekhaphiphithphnthcdaesdngphlngansilpakhxngluksisyphuiklchid xathiechn phlngankhxng efux hriphithks chlud nimesmx aela swsdi tntisukh sungthuxepnsilpinrunaerk khxngsilpaithyaebbsmyihmthiidsubthxdkhwamru khwamkhidsrangsrrkhaelaxudmkarnthiekhaidwangrakthaniwih inswnkhxnghxngthisxnghruxhxngchnin cdaesdngekhruxngmuxekhruxngichkhxngekhainchwngthithanyngmichiwit echn otathangan ekhruxngphimphdid ekhruxngelnaephnesiyng ekhruxngmuxpn epntn odyinhxngthisxngniidmikarcalxnghxngthanganaebbdngediminsmythithanyngmichiwitxyu rwmipthungaebbrangxnusawriyaelapratimakrrmchinsakhyaelahnngsuxhayakthiekhaekhyichkhnkhwakhxmulekiywkbsilpatawntksungihbrikaraekphuekhachmxikdwyekiyrtiysekhruxngrachxisriyaphrn ph s 2497 ekhruxngrachxisriyaphrnxnmiekiyrtiysyingmngkudithy chnthi 1 prathmaphrnmngkudithy p m ph s 2495 ekhruxngrachxisriyaphrnxnepnthiechidchuyingchangephuxk chnthi 2 thwitiyaphrnchangephuxk th ch ph s 2496 ehriyydusdimala ekhmsilpwithya r d m s ph s 2485 ehriyyrtnaphrn rchkalthi 6 chnthi 4 w p r 4 ph s 2470 ekhruxngrachxisriyaphrnxnmiekiyrtiysyingmngkudithy chnthi 5 ebycmaphrnmngkudithy b m smyyanamduephimmhawithyalysilpakr khnacitrkrrmpratimakrrmaelaphaphphimph mhawithyalysilpakrhmayehtu tamthipraktinphlngankhxngbukhkhlni inexksarachkar aelanganxun thiekiywkbbukhkhlni echnsilp phirasri 2506 phrungnikchaipesiyaelw phrankhr bristhithyhtthkarphimphcakd silp phirasri 2506 bthkhwameruxngsilp phrankhr hanghunswncakdsiwphr PDF rachkiccanuebksa krungethph krmelkhathikarkhnarthmntri 70 14 691 2496 02 17 khlngkhxmulekaekbcakaehlngedim PDF emux 2016 03 04 subkhnemux 2013 05 18 PDF rachkiccanuebksa 72 69 4653 2495 12 09 khlngkhxmulekaekbcakaehlngedim PDF emux 2012 05 28 subkhnemux 2021 10 29 swnexksarpccubnbangchbbepliynipsakdwa silp phirasri echn wicitr xphichatekriyngikr b k m p p PDF 2 ed krungethph Yearbook Publisher khlngkhxmulekaekbcakaehlngedim PDF emux 2016 03 12 subkhnemux 2010 02 01 a href wiki E0 B9 81 E0 B8 A1 E0 B9 88 E0 B9 81 E0 B8 9A E0 B8 9A Cite book title aemaebb Cite book cite book a trwcsxbkhawnthiin year help xangxing khlngkhxmulekaekbcakaehlngedimemux 2022 01 31 subkhnemux 2022 01 31 15 knyayn wnsilp phirasri epidprawtixacarychawxitalisychatiithy syamsilpin sastracarysilp phirasri bidaaehngsilpasmyihminpraethsithy chiwprawtibidaaehngsilparwmsmyi npraethsithy rachkiccanuebksa aecngkhwamsankkhnarthmntri eruxng phrarachthanekhruxngrachxisriyaphrn elm 71 txnthi 84 hna 2811 14 thnwakhm 2497 rachkiccanuebksa aecngkhwamsanknaykrthmntri eruxng phrarachthanekhruxngrachxisriyaphrn 2012 05 28 thi ewyaebkaemchchin elm 69 txnthi 72 ng hna 4653 9 thnwakhm 2495 rachkiccanuebksa aecngkhwamsanknaykrthmntri eruxng phrarachthanehriyydusdimala ekhmsilpwithya 2016 03 04 thi ewyaebkaemchchin elm 70 txnthi 14 ng hna 691 17 kumphaphnth 2496 rachkiccanuebksa aecngkhwamsanknaykrthmntri eruxng phrarachthanehriyyrtnaphrn rchkalthi 6 elm 59 txnthi 29 ng hna 1126 28 emsayn 2485 phrarachthanekhruxngrachxisriyaphrn prawtiwnsilp phirasri 15 knyayn bidaaehngwngkarsilpa khlngkhxmulekaekbcakaehlngedimemux 2019 04 06 subkhnemux 2018 07 13 sastracarysilp phirasri khxlmn ruipomd Oscar Nalesini L Asia Sud orientale nella cultura italiana Bibliografia analitica ragionata 1475 2005 Roma Istituto Italiano per l Africa e l Oriente 2009 ISBN 978 88 6323 284 4 ngansuksathiekiywkhxngeksra srinakha 2558 silp phirasri kbkarsthapnasilpaaehngchati ph s 2475 2505 withyaniphnth ss m prawtisastr echiyngihm bnthitwithyaly mhawithyalyechiyngihm xxniln thnxm chaphkdi 2557 ph kh s kh silp phirasri innamxanackhxngchnchnnakbphlphlitsilpainthanaekhruxngmuxkhxngphuxupthmph rthsastrsar 35 2 114 126 phiyyphnthu phcnalawny 2557 m kh em y silpananikhm innamkhxng silp phirasri wadwyxanacnawngkarsilpaithy rthsastrsar 35 1 178 243 siththithrrm orhitasukh 2557 prawtisastrkarprakwdsilpkrrminpraethsithytngaetthswrrs 2480 thungthswrrs 2530 withyaniphnth x d prawtisastr krungethph phakhwichaprawtisastr khnaxksrsastr culalngkrnmhawithyaly xxniln aehlngkhxmulxunwikimiediykhxmmxnsmisuxthiekiywkhxngkb silp phirasri wikisxrsmingantnchbbsungepnphlngankhxnghruxekiywkhxngkb silp phirasri wikikhakhmmikhakhmekiywkb silp phirasri 109pichiwitaelacitwiyyan silp phirasri 2016 03 12 thi ewyaebkaemchchin xacarysilpkbluksisy 2020 09 18 thi ewyaebkaemchchin