วัตสะ (อักษรโรมัน: Vatsa) หรือ วังสะ (อักษรโรมัน: Vamsa Pali and : Vaccha, literally "calf") เป็นแคว้นหนึ่งในมหาชนบท 16 แคว้นอยู่ใน รัฐอุตตรประเทศ ของประเทศอินเดียในยุคโบราณ ตามที่มีบรรยายใน แคว้นวังสะ หรือวัตสะ ตั้งอยู่ทางใต้ของแคว้นโกศล และทางเหนือหรือตะวันออกเฉียงเหนือของแคว้นอวันตี อาณาเขตของแคว้นไม่มีบอกไว้ให้ชัดเจน แต่ก็กล่าวว่าไม้กว้างขวางใหญ่โตนัก ในสมัยพุทธกาลแคว้นวังสะเป็นราชอาณาจักรที่เจริญรุ่งเรือง และมีอำนาจมากแคว้นหนึ่ง พระเจ้าแผ่นดินผู้ครองแคว้นคือพระเจ้าอุเทน เทียบกับปัจจุบัน แคว้นวังสะ ได้แก่เขตจังหวัดอลาหาบาด ของรัฐอุตตรประเทศและบริเวณใกล้เคียงแคว้นวังสะมีเมืองหลวงชื่อ โกสัมพี ตั้งอยู่บนฝั่งแม่น้ำยมุนา ปัจจุบันได้แก่ตำบลหรือหมู่บ้านโกสัม ในเขตจังหวัดอะลาหาบาด ห่างจากตัวเมืองอัลลฮาบาดไปทางตะวันตกเฉียงใต้ประมาณ 59 กิโลเมตร หรือ 37 ไมล์ ได้มีการขุดค้นสำรวจ และได้หลักฐานเป็นที่แน่นอนแล้ว ซากกำแพงเมืองก็ยังปรากฏให้เห็นอยู่การขุดค้นสำรวจซึ่งได้ทำแล้ว ณ บางจุด รวมทั้งจุดซึ่งเข้าใจเป็นวัดโฆสิตารามด้วย ได้พบโบราณวัตถุต่างชนิดรวมทั้งพระพุทธรูปมากมาย ส่วนใหญ่เวลานี้รักษาไว้ที่พิพิธภัณฑ์เมืองอัลลฮาบาดโกสัมพีในสมัยพุทธกาล เป็นเมืองใหญ่และเจริญรุ่งเรือง เป็นศูนย์กลางการค้าระหว่างแคว้นที่สำคัญแห่งหนึ่ง พระอานนท์ระบุว่าเป็นเมืองหนึ่งซึ่งควรเป็นที่เสด็จปรินิพพานของพระพุทธองค์วัดที่โกสัมพีในพุทธสมัยมีปรากฏชื่อ 4 วัด คือวัดโฆสิตาราม วัดกุกกุฏาราม วัดปาวาริการาม หรือปาวาวิกัมพวัน ซึ่งเศรษฐีแห่งโกสัมพี 3 คน คือเศรษฐีโฆสกะหรือโฆสิตะ เศรษฐีกุกกุฏะ และเศรษฐีปาวาริกะโดยลำดับ สร้างถวายแด่พระพุทธองค์ ในโอกาสเดียวกัน กับวัดที่ 4 คือวัดพัทริการาม ซึ่งดูว่าจะอยู่ห่างออกไปเล็กน้อยปรากฏตามพระคัมภีร์ว่า พระพุทธองค์ได้เสด็จประทับ ณ วัดทั้งสี่นี้บ่อย ๆ และบางโอกาสได้ประทับอยู่นาน ได้ทรงแสดงพระสูตรต่าง ๆ ณ วัดทั้งสี่นี้เป็นจำนวนมาก ทรงบัญญัติสิกขาบทรวมหลายสิขาบท รวมทั้งที่ห้ามภิกษุดื่มสุราด้วยพระพุทธองค์ทรงจำพรรษาที่ 9 ณ โกสัมพีนี้ แต่ยังค้นไม่พบว่าทรงประทับอยู่ ณ ที่ไหน
แคว้นวังสะ | |||||||||
---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|
ประมาณ 700 ปีก่อนคริสต์ศักราช–ประมาณ 300 ปีก่อนคริสต์ศักราช | |||||||||
แคว้นวังสะและมหาชนบทแคว้นอื่น ๆ ในยุคพระเวทตอนปลาย | |||||||||
เมืองหลวง | โกสัมพี (อลาหาบาด) | ||||||||
ภาษาทั่วไป | ภาษาสันสกฤต | ||||||||
ศาสนา | ศาสนาฮินดู ศาสนาเชน ศาสนาพุทธ | ||||||||
การปกครอง | ราชาธิปไตย | ||||||||
กษัตริย์ (มหาราชา) | |||||||||
ยุคประวัติศาสตร์ | ยุคโลหะ, ยุคหิน | ||||||||
• ก่อตั้ง | ประมาณ 700 ปีก่อนคริสต์ศักราช | ||||||||
• สิ้นสุด | ประมาณ 300 ปีก่อนคริสต์ศักราช | ||||||||
| |||||||||
ปัจจุบันเป็นส่วนหนึ่งของ | อุตตรประเทศ, อินเดีย |
ในปีพรรษาที่ 10 พระสงฆ์ที่วัดโฆสิตารามทะเลาะกัน และแตกออกเป็นสองพวกแม้พระพุทธองค์จะได้เสด็จมาตักเตือนห้ามปราม และทรงขอให้กลับสามัคคีกัน ก็ยังไม่ทำตามพระพุทธโอวาท พระพุทธองค์ทรงมีความระอาต่อการณ์ดังกล่าวจึงได้เสด็จไปประทับจำพรรษาอยู่แต่พระองค์เดียว ที่รักขิตวันแห่งป่าปาริไลยกะ ดังได้กล่าวแล้วในเรื่องแคว้นเจตี ออกพรรษาแล้วจึงเสด็จ ต่อไปยังสาวัตถี พระที่ทะเลาะกันรู้สำนึกความผิด และคืนดีกันได้ภายในพรรษา ออกพรรษาแล้วจึงได้พร้อมใจกันไปเฝ้าพระพุทธองค์ ณ สาวัตถี เพื่อกราบทูลขอโทษ
ที่โฆสิตารามนี้ พระฉันนะ ถือตัวว่าเป็นคนเก่าแก่ของพระพุทธองค์ ประพฤติตนเป็นคนดื้อด้านว่ายาก ไม่ยอมฟังคำตักเตือนของผู้ใด ก่อนจะเสด็จปรินิพพานพระพุทธองค์ตรัสบอกท่านพระอานนท์ว่า ให้สงฆ์ลงพรหมทัณฑ์แก่พระฉันนะคือไม่พูดด้วย ไม่ว่ากล่าวตักเตือน และเกี่ยวข้องอะไรด้วยทั้งสิ้น เสร็จสังคายนาครั้งที่หนึ่งแล้ว โดยฉันทานุมัติจากที่ประชุมสงฆ์ ท่านพระอานนท์ พร้อมด้วยบริวารได้เดินทางจากราชคฤห์มายังโฆสิตาราม เพื่อ ประกาศลงพรหมทัณฑ์แก่พระฉันนะ พระฉันนะได้สำนึก ประพฤติตนดี และเอาใจใส่ในการบำเพ็ญเพียร จนได้สำเร็จเป็นพระอรหันต์
นอกจากที่กล่าวแล้วนี้ เรื่องอื่น ๆ ที่เกิดขึ้น ณ โกสัมพี ที่ทราบกันแพร่หลายที่มีเล่าในอรรถกถา ธรรมบทก็มีเรื่องโฆสกะเศรษฐี เรื่องพระพากุละหรือพักกุละเรื่องพระปิณโฑลภารทวาชะ และเรื่องของพระเจ้าอุเทน กับพระนางสามาวดีพระนางมาคันทิยา และพระนางวาสุลทัตตาเป็นต้นตามความที่ปรากฏในเรื่องของพระเจ้าอุเทน กับพระมเหสีทั้งสามที่โกสัมพีนี้ พระพุทธองค์ทรงถูกเหล่าชนมิจฉาทิฏฐิ ซึ่งได้รับสินจ้างจากพระนางมาคันทิยาผู้ผูกอาฆาตในพระพุทธองค์ ติดตามด่าว่าเยาะเย้ยด้วยประการต่าง ๆ จนท่านพระอานนท์ทนฟังไม่ไหว ได้กราบทูลพระพุทธองค์ว่าควรจะเสด็จหนีไปเมืองอื่นเสียแต่พระพุทธองค์ไม่ทรงเห็นด้วย ตรัสว่า เรื่องเกิดขึ้นที่ไหนก็ควรทำให้สงบ ณ ที่นั้นเสียก่อน จึงค่อยไปที่อื่น แล้วตรัสพระพุทธภาษิตอันถือกันว่า เป็นธรรมะสอนใจอย่างดียิ่ง เรื่องละเอียดมีใน สามาวดีวัตถุ แห่งอรรถกถาธรรมบท
อ้างอิง
- Louis Herbert Gray (1902). Indo-Iranian Phonology with Special Reference to the Middle and New Indo-Iranian Languages. Columbia University Press. pp. 169–170.
- Rohan L. Jayetilleke (5 ธันวาคม 2007). . . คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 4 มิถุนายน 2011. สืบค้นเมื่อ 29 ตุลาคม 2008.
- มหาชนบท 16 แคว้น แคว้นสำคัญในชมพูทวีปสมัยพุทธกาล จากเว็บ vichadham.com
แหลงข้อมูลอื่น
- (2016), A History of Ancient and Early Medieval India: From the Stone Age to the 12th Century, , ISBN
wikipedia, แบบไทย, วิกิพีเดีย, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด, บทความ, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม, มือถือ, โทรศัพท์, Android, iOS, Apple, โทรศัพท์โมบิล, Samsung, iPhone, Xiomi, Xiaomi, Redmi, Honor, Oppo, Nokia, Sonya, MI, PC, พีซี, web, เว็บ, คอมพิวเตอร์
wtsa xksrormn Vatsa hrux wngsa xksrormn Vamsa Pali and Vaccha literally calf epnaekhwnhnunginmhachnbth 16 aekhwnxyuin rthxuttrpraeths khxngpraethsxinediyinyukhobran tamthimibrryayin aekhwnwngsa hruxwtsa tngxyuthangitkhxngaekhwnoksl aelathangehnuxhruxtawnxxkechiyngehnuxkhxngaekhwnxwnti xanaekhtkhxngaekhwnimmibxkiwihchdecn aetkklawwaimkwangkhwangihyotnk insmyphuththkalaekhwnwngsaepnrachxanackrthiecriyrungeruxng aelamixanacmakaekhwnhnung phraecaaephndinphukhrxngaekhwnkhuxphraecaxuethn ethiybkbpccubn aekhwnwngsa idaekekhtcnghwdxlahabad khxngrthxuttrpraethsaelabriewniklekhiyngaekhwnwngsamiemuxnghlwngchux oksmphi tngxyubnfngaemnaymuna pccubnidaektablhruxhmubanoksm inekhtcnghwdxalahabad hangcaktwemuxngxllhabadipthangtawntkechiyngitpraman 59 kiolemtr hrux 37 iml idmikarkhudkhnsarwc aelaidhlkthanepnthiaennxnaelw sakkaaephngemuxngkyngpraktihehnxyukarkhudkhnsarwcsungidthaaelw n bangcud rwmthngcudsungekhaicepnwdokhsitaramdwy idphbobranwtthutangchnidrwmthngphraphuththrupmakmay swnihyewlanirksaiwthiphiphithphnthemuxngxllhabadoksmphiinsmyphuththkal epnemuxngihyaelaecriyrungeruxng epnsunyklangkarkharahwangaekhwnthisakhyaehnghnung phraxannthrabuwaepnemuxnghnungsungkhwrepnthiesdcpriniphphankhxngphraphuththxngkhwdthioksmphiinphuththsmymipraktchux 4 wd khuxwdokhsitaram wdkukkutaram wdpawarikaram hruxpawawikmphwn sungesrsthiaehngoksmphi 3 khn khuxesrsthiokhskahruxokhsita esrsthikukkuta aelaesrsthipawarikaodyladb srangthwayaedphraphuththxngkh inoxkasediywkn kbwdthi 4 khuxwdphthrikaram sungduwacaxyuhangxxkipelknxyprakttamphrakhmphirwa phraphuththxngkhidesdcprathb n wdthngsinibxy aelabangoxkasidprathbxyunan idthrngaesdngphrasutrtang n wdthngsiniepncanwnmak thrngbyytisikkhabthrwmhlaysikhabth rwmthngthihamphiksudumsuradwyphraphuththxngkhthrngcaphrrsathi 9 n oksmphini aetyngkhnimphbwathrngprathbxyu n thiihnaekhwnwngsapraman 700 pikxnkhristskrach praman 300 pikxnkhristskrachaekhwnwngsaaelamhachnbthaekhwnxun inyukhphraewthtxnplayemuxnghlwngoksmphi xlahabad phasathwipphasasnskvtsasnasasnahindu sasnaechn sasnaphuththkarpkkhrxngrachathipitykstriy mharacha yukhprawtisastryukholha yukhhin kxtngpraman 700 pikxnkhristskrach sinsudpraman 300 pikxnkhristskrachkxnhna thdipaekhwnkuru rachwngssisunakhpccubnepnswnhnungkhxngxuttrpraeths xinediy inpiphrrsathi 10 phrasngkhthiwdokhsitaramthaelaakn aelaaetkxxkepnsxngphwkaemphraphuththxngkhcaidesdcmatketuxnhampram aelathrngkhxihklbsamkhkhikn kyngimthatamphraphuththoxwath phraphuththxngkhthrngmikhwamraxatxkarndngklawcungidesdcipprathbcaphrrsaxyuaetphraxngkhediyw thirkkhitwnaehngpapariilyka dngidklawaelwineruxngaekhwnecti xxkphrrsaaelwcungesdc txipyngsawtthi phrathithaelaaknrusanukkhwamphid aelakhundiknidphayinphrrsa xxkphrrsaaelwcungidphrxmicknipefaphraphuththxngkh n sawtthi ephuxkrabthulkhxoths thiokhsitaramni phrachnna thuxtwwaepnkhnekaaekkhxngphraphuththxngkh praphvtitnepnkhnduxdanwayak imyxmfngkhatketuxnkhxngphuid kxncaesdcpriniphphanphraphuththxngkhtrsbxkthanphraxannthwa ihsngkhlngphrhmthnthaekphrachnnakhuximphuddwy imwaklawtketuxn aelaekiywkhxngxairdwythngsin esrcsngkhaynakhrngthihnungaelw odychnthanumticakthiprachumsngkh thanphraxannth phrxmdwybriwaridedinthangcakrachkhvhmayngokhsitaram ephux prakaslngphrhmthnthaekphrachnna phrachnnaidsanuk praphvtitndi aelaexaicisinkarbaephyephiyr cnidsaercepnphraxrhnt nxkcakthiklawaelwni eruxngxun thiekidkhun n oksmphi thithrabknaephrhlaythimielainxrrthktha thrrmbthkmieruxngokhskaesrsthi eruxngphraphakulahruxphkkulaeruxngphrapinothlpharthwacha aelaeruxngkhxngphraecaxuethn kbphranangsamawdiphranangmakhnthiya aelaphranangwasulthttaepntntamkhwamthipraktineruxngkhxngphraecaxuethn kbphramehsithngsamthioksmphini phraphuththxngkhthrngthukehlachnmicchathitthi sungidrbsincangcakphranangmakhnthiyaphuphukxakhatinphraphuththxngkh tidtamdawaeyaaeyydwyprakartang cnthanphraxannththnfngimihw idkrabthulphraphuththxngkhwakhwrcaesdchniipemuxngxunesiyaetphraphuththxngkhimthrngehndwy trswa eruxngekidkhunthiihnkkhwrthaihsngb n thinnesiykxn cungkhxyipthixun aelwtrsphraphuththphasitxnthuxknwa epnthrrmasxnicxyangdiying eruxnglaexiydmiin samawdiwtthu aehngxrrthkthathrrmbthxangxingLouis Herbert Gray 1902 Indo Iranian Phonology with Special Reference to the Middle and New Indo Iranian Languages Columbia University Press pp 169 170 Rohan L Jayetilleke 5 thnwakhm 2007 khlngkhxmulekaekbcakaehlngedimemux 4 mithunayn 2011 subkhnemux 29 tulakhm 2008 mhachnbth 16 aekhwn aekhwnsakhyinchmphuthwipsmyphuththkal cakewb vichadham com aehlngkhxmulxun 2016 A History of Ancient and Early Medieval India From the Stone Age to the 12th Century ISBN 978 81 317 1677 9