การออกเสียงประชามติ หรือ การลงประชามติ (อังกฤษ: referendum) คือ การนำร่างกฎหมาย ร่างรัฐธรรมนูญ และนโยบายที่สำคัญของประเทศ ไปผ่านการตัดสินเพื่อแสดงความเห็นชอบหรือไม่เห็นชอบโดยประชาชนผู้เป็นเจ้าของอำนาจอธิปไตย นับเป็นการเปิดโอกาสให้ประชาชนได้มีส่วนร่วมในการตัดสินใจต่อแนวทางการปกครองประเทศ และถือเป็นประชาธิปไตยทางตรงแบบหนึ่งซึ่งประชาชนมีส่วนมีเสียงโดยตรงในการบริหารราชการแผ่นดิน
ประวัติ
คำว่าการออกเสียงประชามติ หรือ referendum มีมาจากภาษาละติน "ad referendum" มีความหมายว่า "การนำมาให้สัตยาบัน" (หรือการนำมาให้รับรอง) แนวคิดเรื่องนี้เกิดขึ้นนานแล้วในทวีปยุโรป
ประเทศที่ปกครองในระบอบประชาธิปไตย อำนาจสูงสุดในการปกครองประเทศมาจากประชาชน เพื่อให้สมาชิกในสังคมอยู่ร่วมกันเป็นปกติสุข มติของคนในสังคมจึงถือเป็นเรื่องสำคัญ เดิมประชาชนในรัฐมีจำนวนไม่มาก จึงสามารถใช้อำนาจออกเสียงต่อกิจการบ้านเมืองได้โดยตรง แต่เมื่อรัฐเจริญขึ้นและมีประชากรมากขึ้น หากต่างคนต่างใช้อำนาจก็ย่อมทำให้เกิดความวุ่นวาย ต่อมาจึงจัดให้มีระบบผู้แทนราษฎรขึ้นเพื่อแก้ไขปัญหาดังกล่าว ผู้แทนราษฎรทำหน้าที่รับความคิดเห็นมาจากประชาชน ออกเสียงแทนประชาชนในเรื่องต่าง ๆ เป็นผู้ใช้อำนาจนิติบัญญัติ (จัดทำกฎหมาย) และอำนาจบริหาร (คณะรัฐมนตรี) แทนประชาชน
อย่างไรก็ตาม หากพิจารณาในทางสังคมวิทยาแล้ว สมาชิกผู้แทนราษฎรหรือพรรคการเมืองที่สังกัดก็ดี อาจใช้วิธีการต่าง ๆ ในการเอื้อประโยชน์ต่อตนเองหรือแก่พรรคซึ่งทำให้การใช้อำนาจเหล่านั้นไม่ตรงกับเจตนาของประชาชนส่วนใหญ่ หรือแม้ว่าสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจะมีเจตนาบริสุทธิ์ ประชาชนมีส่วนในการเป็นเจ้าของประเทศ มีผลได้ผลเสียด้วย จึงมีวิธีการที่หลากหลายในการตรวจสอบการใช้อำนาจ วิธีตรวจสอบเดิมคือการเลือกตั้งเท่านั้น โดยหากประชาชนเห็นว่าผู้แทนราษฎรที่ได้รับเลือกไปไม่มีประสิทธิภาพหรือปฏิบัติตัวไม่ดี ก็ไม่เลือกผู้แทนคนนั้นในการเลือกตั้งครั้งต่อไป
การออกเสียงประชามติเป็นกลไกที่นำมาเสริมทฤษฎีตัวแทนของประชาชน โดยให้สิทธิแก่ประชาชนในการตัดสินใจต่อกิจการหรืองานใด ๆ สนับสนุนหลักการสำคัญของระบอบประชาธิปไตยอย่างแท้จริง นอกจากการให้สิทธิประชาชนออกเสียงประชามติในเรื่องเกี่ยวกับรัฐธรรมนูญแล้ว บางประเทศยังเปิดโอกาสให้มีการออกเสียงประชามติในเรื่องอื่น ๆ เช่น ร่างกฎหมายหรือนโยบายที่สำคัญหรือกิจการอื่นที่ส่งผลกระทบต่อประชาชน
ประเทศไทย
หลายประเทศมีการออกเสียงประชามติเป็นเวลาหลายร้อยปีแล้ว ประเทศไทยเคยมีการนำเอาการออกเสียงประชามติมาบัญญัติไว้ในรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย ฉบับ พ.ศ. 2492 ฉบับ พ.ศ. 2511 ฉบับ พ.ศ. 2517 ฉบับ พ.ศ. 2540 และฉบับชั่วคราว พ.ศ. 2549 โดยสามฉบับแรกกำหนดให้ประชาชนมีสิทธิออกเสียงประชามติในกรณีที่เป็นการแก้ไขเพิ่มเติมรัฐธรรมนูญเท่านั้น ส่วนฉบับ พ.ศ. 2540 กำหนดให้นายกรัฐมนตรีและคณะรัฐมนตรีสามารถขอให้ประชาชนออกเสียงประชามติในเรื่องที่อาจกระทบถึงผลประโยชน์ของประเทศชาติหรือประชาชนตามหลักเกณฑ์ที่กำหนดไว้ในกฎหมายประกอบรัฐธรรมนูญ อย่างไรก็ตาม ประเทศไทยไม่เคยมีการดำเนินการออกเสียงประชามติตามที่รัฐธรรมนูญได้บัญญัติไว้จนกระทั่ง พ.ศ. 2550 ที่มีการออกเสียงให้ความเห็นชอบหรือไม่เห็นชอบต่อร่างรัฐธรรมนูญ พ.ศ. 2550
รัฐธรรมนูญ พ.ศ. 2549 (ชั่วคราว)
รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย (ฉบับชั่วคราว) พ.ศ. 2549 ได้บัญญัติให้มีการนำระบบการออกเสียงประชามติมาใช้ในประเทศไทยอีกครั้ง โดยมีวัตถุประสงค์ในการให้ประชาชนออกเสียงเห็นชอบหรือไม่เห็นชอบ ร่างรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2550 โดยการออกเสียงจัดให้มีขั้นเมื่อวันที่ 19 สิงหาคม พ.ศ. 2550 และนับเป็นครั้งแรกในประวัติศาสตร์ที่มีการออกเสียงประชามติในประเทศไทย ซึ่งผลรวมทั่วประเทศออกมามีผู้เห็นชอบ 57.81 % และไม่เห็นชอบ 42.19 % หรือคิดจากผู้มีสิทธิทั้งหมดได้ผลตามตาราง
รายการ | คะแนน | คิดเป็นร้อยละของผู้มีสิทธิทั้งหมด |
---|---|---|
จำนวนผู้เห็นด้วยกับร่างรัฐธรรมนูญ | 14,249,520 | 31.05% |
จำนวนผู้ไม่เห็นด้วยกับร่างรัฐธรรมนูญ | 10,419,912 | 22.71% |
จำนวนบัตรเสีย | 479,715 | 1.05% |
จำนวนไม่ออกเสียง | 20,741,342 | 45.20% |
จำนวนผู้มีสิทธิออกเสียงทั่วประเทศ | 45,890,489 | 100% |
รัฐธรรมนูญ พ.ศ. 2550
รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2550 ได้บัญญัติให้นำการออกเสียงประชามติมาใช้ดังปรากฏในมาตรา 165 โดยการจัดให้มีการออกเสียงประชามติให้กระทำได้ในสองกรณี คือ กรณีที่คณะรัฐมนตรีเห็นว่ากิจการในเรื่องใดอาจกระทบถึงประโยชน์ได้เสียของประเทศชาติหรือประชาชน นายกรัฐมนตรีโดยความเห็นชอบของคณะรัฐมนตรีอาจปรึกษาประธานสภาผู้แทนราษฎรและประธานวุฒิสภาเพื่อประกาศในราชกิจจานุเบกษาให้มีการออกเสียงประชามติได้ และในกรณีที่มีกฎหมายบัญญัติให้มีการออกเสียงประชามติ โดยรัฐต้องดำเนินการให้ข้อมูลอย่างเพียงพอ และให้บุคคลฝ่ายที่เห็นชอบและไม่เห็นชอบกับกิจการนั้น มีโอกาสแสดงความคิดเห็นของตนได้อย่างเท่าเทียมกัน หลักเกณฑ์และวิธีการออกเสียงประชามติให้เป็นไปตามพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญว่าด้วยการออกเสียงประชามติ
ดูเพิ่ม
อ้างอิง
- (PDF). คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิม (PDF)เมื่อ 2007-09-27. สืบค้นเมื่อ 2007-08-25.
- นันทวัฒน์ บรมานันท์, สารานุกรมรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย (พ.ศ. ๒๕๔๐) หมวดองค์กรทางการเมือง เรื่อง ๑๒. การออกเสียงประชามติ, กรุงเทพฯ : สถาบันพระปกเกล้า, องค์การค้าของคุรุสภา, 2544, 45 หน้า.
wikipedia, แบบไทย, วิกิพีเดีย, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด, บทความ, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม, มือถือ, โทรศัพท์, Android, iOS, Apple, โทรศัพท์โมบิล, Samsung, iPhone, Xiomi, Xiaomi, Redmi, Honor, Oppo, Nokia, Sonya, MI, PC, พีซี, web, เว็บ, คอมพิวเตอร์
karxxkesiyngprachamti hrux karlngprachamti xngkvs referendum khux karnarangkdhmay rangrththrrmnuy aelanoybaythisakhykhxngpraeths ipphankartdsinephuxaesdngkhwamehnchxbhruximehnchxbodyprachachnphuepnecakhxngxanacxthipity nbepnkarepidoxkasihprachachnidmiswnrwminkartdsinictxaenwthangkarpkkhrxngpraeths aelathuxepnprachathipitythangtrngaebbhnungsungprachachnmiswnmiesiyngodytrnginkarbriharrachkaraephndinprawtikhawakarxxkesiyngprachamti hrux referendum mimacakphasalatin ad referendum mikhwamhmaywa karnamaihstyabn hruxkarnamaihrbrxng aenwkhideruxngniekidkhunnanaelwinthwipyuorp praethsthipkkhrxnginrabxbprachathipity xanacsungsudinkarpkkhrxngpraethsmacakprachachn ephuxihsmachikinsngkhmxyurwmknepnpktisukh mtikhxngkhninsngkhmcungthuxepneruxngsakhy edimprachachninrthmicanwnimmak cungsamarthichxanacxxkesiyngtxkickarbanemuxngidodytrng aetemuxrthecriykhunaelamiprachakrmakkhun haktangkhntangichxanackyxmthaihekidkhwamwunway txmacungcdihmirabbphuaethnrasdrkhunephuxaekikhpyhadngklaw phuaethnrasdrthahnathirbkhwamkhidehnmacakprachachn xxkesiyngaethnprachachnineruxngtang epnphuichxanacnitibyyti cdthakdhmay aelaxanacbrihar khnarthmntri aethnprachachn xyangirktam hakphicarnainthangsngkhmwithyaaelw smachikphuaethnrasdrhruxphrrkhkaremuxngthisngkdkdi xacichwithikartang inkarexuxpraoychntxtnexnghruxaekphrrkhsungthaihkarichxanacehlannimtrngkbectnakhxngprachachnswnihy hruxaemwasmachiksphaphuaethnrasdrcamiectnabrisuththi prachachnmiswninkarepnecakhxngpraeths miphlidphlesiydwy cungmiwithikarthihlakhlayinkartrwcsxbkarichxanac withitrwcsxbedimkhuxkareluxktngethann odyhakprachachnehnwaphuaethnrasdrthiidrbeluxkipimmiprasiththiphaphhruxptibtitwimdi kimeluxkphuaethnkhnnninkareluxktngkhrngtxip karxxkesiyngprachamtiepnklikthinamaesrimthvsditwaethnkhxngprachachn odyihsiththiaekprachachninkartdsinictxkickarhruxnganid snbsnunhlkkarsakhykhxngrabxbprachathipityxyangaethcring nxkcakkarihsiththiprachachnxxkesiyngprachamtiineruxngekiywkbrththrrmnuyaelw bangpraethsyngepidoxkasihmikarxxkesiyngprachamtiineruxngxun echn rangkdhmayhruxnoybaythisakhyhruxkickarxunthisngphlkrathbtxprachachnpraethsithyhlaypraethsmikarxxkesiyngprachamtiepnewlahlayrxypiaelw praethsithyekhymikarnaexakarxxkesiyngprachamtimabyytiiwinrththrrmnuyaehngrachxanackrithy chbb ph s 2492 chbb ph s 2511 chbb ph s 2517 chbb ph s 2540 aelachbbchwkhraw ph s 2549 odysamchbbaerkkahndihprachachnmisiththixxkesiyngprachamtiinkrnithiepnkaraekikhephimetimrththrrmnuyethann swnchbb ph s 2540 kahndihnaykrthmntriaelakhnarthmntrisamarthkhxihprachachnxxkesiyngprachamtiineruxngthixackrathbthungphlpraoychnkhxngpraethschatihruxprachachntamhlkeknththikahndiwinkdhmayprakxbrththrrmnuy xyangirktam praethsithyimekhymikardaeninkarxxkesiyngprachamtitamthirththrrmnuyidbyytiiwcnkrathng ph s 2550 thimikarxxkesiyngihkhwamehnchxbhruximehnchxbtxrangrththrrmnuy ph s 2550 rththrrmnuy ph s 2549 chwkhraw rththrrmnuyaehngrachxanackrithy chbbchwkhraw ph s 2549 idbyytiihmikarnarabbkarxxkesiyngprachamtimaichinpraethsithyxikkhrng odymiwtthuprasngkhinkarihprachachnxxkesiyngehnchxbhruximehnchxb rangrththrrmnuyaehngrachxanackrithy phuththskrach 2550 odykarxxkesiyngcdihmikhnemuxwnthi 19 singhakhm ph s 2550 aelanbepnkhrngaerkinprawtisastrthimikarxxkesiyngprachamtiinpraethsithy sungphlrwmthwpraethsxxkmamiphuehnchxb 57 81 aelaimehnchxb 42 19 hruxkhidcakphumisiththithnghmdidphltamtarang raykar khaaenn khidepnrxylakhxngphumisiththithnghmdcanwnphuehndwykbrangrththrrmnuy 14 249 520 31 05 canwnphuimehndwykbrangrththrrmnuy 10 419 912 22 71 canwnbtresiy 479 715 1 05 canwnimxxkesiyng 20 741 342 45 20 canwnphumisiththixxkesiyngthwpraeths 45 890 489 100 rththrrmnuy ph s 2550 rththrrmnuyaehngrachxanackrithy phuththskrach 2550 idbyytiihnakarxxkesiyngprachamtimaichdngpraktinmatra 165 odykarcdihmikarxxkesiyngprachamtiihkrathaidinsxngkrni khux krnithikhnarthmntriehnwakickarineruxngidxackrathbthungpraoychnidesiykhxngpraethschatihruxprachachn naykrthmntriodykhwamehnchxbkhxngkhnarthmntrixacpruksaprathansphaphuaethnrasdraelaprathanwuthisphaephuxprakasinrachkiccanuebksaihmikarxxkesiyngprachamtiid aelainkrnithimikdhmaybyytiihmikarxxkesiyngprachamti odyrthtxngdaeninkarihkhxmulxyangephiyngphx aelaihbukhkhlfaythiehnchxbaelaimehnchxbkbkickarnn mioxkasaesdngkhwamkhidehnkhxngtnidxyangethaethiymkn hlkeknthaelawithikarxxkesiyngprachamtiihepniptamphrarachbyytiprakxbrththrrmnuywadwykarxxkesiyngprachamtiduephimkarlngprachamtiaeykepnexkrachxangxing PDF khlngkhxmulekaekbcakaehlngedim PDF emux 2007 09 27 subkhnemux 2007 08 25 nnthwthn brmannth saranukrmrththrrmnuyaehngrachxanackrithy ph s 2540 hmwdxngkhkrthangkaremuxng eruxng 12 karxxkesiyngprachamti krungethph sthabnphrapkekla xngkhkarkhakhxngkhuruspha 2544 45 hna ISBN 974 00 8346 3 bthkhwamekiywkbkaremuxng karpkkhrxngniyngepnokhrng khunsamarthchwywikiphiediyidodykarephimetimkhxmuldkhk