วสันตฤดู (อิตาลี: Primavera) เป็นจิตรกรรมที่เขียนโดยซันโดร บอตตีเชลลีจิตรกรสมัยเรอเนซองส์คนสำคัญของอิตาลีที่ปัจจุบันตั้งแสดงอยู่ที่หอศิลป์อุฟฟิซิในเมืองฟลอเร็นซ์ในประเทศอิตาลี
วสันตฤดู | |
---|---|
ศิลปิน | ซันโดร บอตตีเชลลี |
ปี | ราว ค.ศ. 1482 |
ประเภท | สีฝุ่นบนผ้าใบ |
สถานที่ | หอศิลป์อุฟฟิซิ, ฟลอเร็นซ์ |
บอตตีเชลลีเขียนภาพ “วสันตฤดู” ราวปี ค.ศ. 1482 ในปี ค.ศ. 1551 จอร์โจ วาซารีกล่าวถึงภาพนี้ว่าเป็นการประกาศถึงการมาถึงของวสันตฤดู (อิตาลี: “Primavera”) ที่เป็นภาพที่อยู่ในคฤหาสน์เมดิชิในคาสเตลโลไม่ไกลจาก “คฤหาสน์เพตราเอีย” (Lorenzo di Pierfrancesco de' Medici) ผู้เป็นลูกพี่ลูกน้องของลอเรนโซ เดอ เมดิชิซื้อคฤหาสน์นี้ในปี ค.ศ. 1477 ซึ่งทำให้สรุปว่าภาพ “วสันตฤดู” เป็นภาพที่เขียนให้ปิแอร์ฟรานเชสโคเมื่อมีอายุ 14 ปีเมื่อซื้อคฤหาสน์ จากการสำรวจทรัพย์สินของปิแอร์ฟรานเชสโคและน้องชาย (Giovanni il Popolano) ในปี ค.ศ. 1499 กล่าวถึง ภาพ “วสันตฤดู” ว่าตั้งแสดงอยู่ที่วังในเมืองฟลอเรนซ์ในห้องรอที่ติดกับห้องของปิแอร์ฟรานเชสโค
ภาพเขียนขนาดใหญ่เช่นนี้เป็นเรื่องปกติสำหรับครอบครัวที่มีฐานะมั่งคั่ง แต่ภาพ “วสันตฤดู” เป็นภาพที่แสดงให้เห็นถึงการเขียนรูปสัญลักษณ์คลาสสิกและการวางรูปแบบของงานเขียนแบบเรอเนซองส์ ภาพ “วสันตฤดู” เป็นภาพของเทพีวีนัสขนาดเท่าตัวคนยืนกึ่งเปลือยอยู่กลางภาพ ภาพนี้เป็นภาพที่ผู้ชมจะเข้าใจความหมายของภาพได้ก็ด้วยการมีความรู้อันลึกซึ้งในวรรณกรรมของยุคเรอเนซองส์และความสามารถในการประสานทัศน์ต่างๆ เข้าด้วยกัน (syncretism) ขณะที่ตัวแบบบางตัวในภาพมาจากแรงบันดาลใจจากประติมากรรมโบราณแต่มิใช่เป็นงานก็อปปีงานโดยตรงแต่เป็นการเขียนแบบตีความหมายตามความคิดของบอตติเชลลี ที่ตัวแบบมีลักษณะเพรียว, รูปทรงที่เป็นแบบอุดมคติอันสูงส่ง และ มีลักษณะการวางท่าแบบราชสำนักของคริสต์ศตวรรษที่ 16 แบบแมนเนอริสม์
วีนัสยืนอยู่กลางภาพห่างจากตัวแบบอื่นๆ โดยมีคิวปิดเล็งศรแห่งความรักไปยังเทพีชาริทีส (Charites) หรือ “ไตรเทพี” ผู้ที่กำลังเต้นรำอยู่เป็นกลุ่มอยู่ทางด้านซ้ายของภาพ เทพีองค์ไกลไปทางขวาเป็นใบหน้าของ (Caterina Sforza) ที่บอตติเชลลีเขียนเป็นภาพเหมือนต่างหากในภาพ “แคทเธอรินแห่งอเล็กซานเดรีย” สวนของวีนัสผู้เป็นเทพีแห่งความรักได้รับการอารักขาโดยเทพเมอร์คิวรีผู้กำลังเอื้อมมืออกไปแตะผลไม้ เมอร์คิวรีแต่งตัวด้วยเสื้อสีแดงอย่างหลวมๆ สวมหมวกเหล็กและห้อยดาบที่เป็นการแสดงว่าเป็นผู้อารักขาสวน การเป็นผู้สื่อข่าวจากพระเจ้าก็บอกได้จากรองเท้าที่มีปีกและที่เมอร์คิวรีใช้ในการแยกงูสองตัวและรักษาความสงบ บอตติเชลลีเขียนภาพงูเป็นมังกรมีปีก จากทางด้านขวาเทพเจ้าแห่งลมพยายามออกมาไล่นิมฟ์ ทางซ้ายของคลอริสคือเทพีฟลอราเทพีแห่งวสันตฤดูผู้กำลังโปรยดอกไม้ที่อาจจะเป็นภาพของ (Simonetta Vespucci)
ภาพนี้ได้รับการตีความหมายกันไปต่างๆ ที่รวมทั้งความหมายทางการเมืองว่าความรักคือโรม, ไตรเทพี (three Graces) คือปิซา เนเปิลส์ และ เจนัว, เมอร์คิวรีคือมิลาน, ฟลอราคือฟลอเรนซ์, เมย์คือมานตัว, คลอริสและเซพไฟร์คือเวนิสและโบลซาโน (หรือและฟอร์ลิ)
นอกจากความหมายต่างๆ ที่ว่าแล้วภาพนี้ก็ยังแสดงถึงธรรมชาติของความเป็นมนุษยชาติอย่างลึกซึ้ง เป็นภาพที่สะท้อนให้เห็นถึงอิทธิพลของวัฒนธรรมร่วมสมัยและเป็นการแสดงออกของเนื้อหาของวรรณกรรมคลาสสิก
แหล่งข้อมูลหนึ่งของฉากที่เขียนอาจจะมาจากกวีนิพนธ์ “Fasti” โดยโอวิด ที่เป็นโคลงที่บรรยายปฏิทินเทศกาลของโรมันโบราณ สำหรับเดือนพฤษภาคมฟลอราเล่าว่าครั้งหนึ่งเคยเป็นนิมฟ์และหายใจออกมาเป็นดอกไม้ พระพายเซพไฟร์หลงใหลในความงามของก็ติดตามและเอาเป็นภรรยา และประทานสวนที่งดงามที่เป็นสวนแห่งวสันตฤดูตลอดกาลให้
บอตติเชลลีเขียนภาพนี้เป็นสองฉากจากคำบรรยายของโอวิด ฉากแรกเป็นพระพายเซพไฟร์ไล่ตามคลอริสและการแปลงของคลอริสเป็นฟลอรา ที่ทำให้เสื้อผ้าของเทพีทั้งสองค์ที่ดูเหมือนจะไม่เห็นกันถูกโบกไปคนละทาง ฟลอรายืนอยู่ข้างวีนัสโปรยกลีบกุหลาบที่เป็นดอกไม้ของเทพีแห่งความรัก นักเขียนคลาสสิกบรรยายไว้ในโคลงคำสอนปรัชญา “De Rerum Natura” ที่สรรเสริญเทพีทั้งสององค์ในฉากวสันตฤดูฉากเดียว โคลงนี้บรรยายถึงวีนัส, คิวปิด, เซพไฟร์, ฟลอรา ซึ่งเป็นบุคคลที่อยู่ในภาพที่บอตติเชลลีวาด ซึ่งทำให้สันนิษฐานกันว่าโคลงนี้เป็นแหล่งข้อมูลหลักของภาพ
(Ernst Gombrich) ค้านความสัมพันธ์ระหว่างโคลงของกับภาพนี้ว่าเป็นงานของเป็นงานที่หนักไปทางปรัชญาที่ไม่น่าจะดึงดูดจิตรกรให้ใช้เป็นแหล่งข้อมูล และสนับสนุนว่า “The Golden Ass” โดย (Apuleius) ว่าน่าจะเป็นแหล่งข้อมูลของภาพมากกว่า ที่เป็นโคลงที่บรรยายภาพเขียนที่หายไปอย่างละเอียด และเป็นงานนี้ก็เป็นที่นิยมใช้เป็นแรงบันดาลใจในบรรดาศิลปินยุคเรอเนซองส์กันมาก โคลงของเป็นสัญลักษณ์ของทางเลือกของวีนัสในฐานะเทพีผู้มีความงามที่สุด ทางเลือกที่นำไปสู่สงครามเมืองทรอยที่บรรยายโดย โฮเมอร์ ใน “อีเลียด” สำหรับมาร์ซิลิโอ ฟิชีโนครูของโลเรนโซแล้ววีนัสเป็นสัญลักษณ์ของ “Humanitas” ฉะนั้นภาพเขียนจึงเป็นการเชิญชวนให้เลือกคุณค่าของลัทธิมนุษยนิยมเรอเนสซองซ์
แต่ยังเชื่อว่า “วสันตฤดู” เป็นภาพของ จาก “ไตรภูมิดานเต” โดยดานเต จากการตีความหมายนี้บุคคลในภาพจากซ้ายไปขวาก็จะเป็น อาดัม, คุณธรรมสามประการ, , มาทิลดา, อีฟ และ ซาตาน
- ไตรเทพี
- ฟลอรา
- เมอร์คิวรี
- เซพไฟร์และคลอริส
อ้างอิง
- Web Gallery of Art: Sandro Botticelli[1]
- Lindskoog, Kathryn, Dante's Divine Comedy — Purgatory — Journey to Joy, Part Two (retold with notes), Mercer University press, Macon , Georgia, 1997. , page ix. http://www.lindentree.org/prima.html 2009-12-24 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน
- Gombrich (1945) Botticelli's Mythologies: A Study in the Neoplatonic Symbolism of His Circle Journal of the Warburg and Courtauld Institutes, Vol. 8. (1945), pp. 7-60
ดูเพิ่ม
wikipedia, แบบไทย, วิกิพีเดีย, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด, บทความ, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม, มือถือ, โทรศัพท์, Android, iOS, Apple, โทรศัพท์โมบิล, Samsung, iPhone, Xiomi, Xiaomi, Redmi, Honor, Oppo, Nokia, Sonya, MI, PC, พีซี, web, เว็บ, คอมพิวเตอร์
bthkhwamnixangxingkhristskrach khristthswrrs khriststwrrs sungepnsarasakhykhxngenuxha wsntvdu xitali Primavera epncitrkrrmthiekhiynodysnodr bxttiechllicitrkrsmyerxensxngskhnsakhykhxngxitalithipccubntngaesdngxyuthihxsilpxuffisiinemuxngflxernsinpraethsxitaliwsntvdusilpinsnodr bxttiechllipiraw kh s 1482praephthsifunbnphaibsthanthihxsilpxuffisi flxerns bxttiechlliekhiynphaph wsntvdu rawpi kh s 1482 inpi kh s 1551 cxroc wasariklawthungphaphniwaepnkarprakasthungkarmathungkhxngwsntvdu xitali Primavera thiepnphaphthixyuinkhvhasnemdichiinkhasetlolimiklcak khvhasnephtraexiy Lorenzo di Pierfrancesco de Medici phuepnlukphiluknxngkhxnglxernos edx emdichisuxkhvhasnniinpi kh s 1477 sungthaihsrupwaphaph wsntvdu epnphaphthiekhiynihpiaexrfranechsokhemuxmixayu 14 piemuxsuxkhvhasn cakkarsarwcthrphysinkhxngpiaexrfranechsokhaelanxngchay Giovanni il Popolano inpi kh s 1499 klawthung phaph wsntvdu watngaesdngxyuthiwnginemuxngflxernsinhxngrxthitidkbhxngkhxngpiaexrfranechsokh phaphekhiynkhnadihyechnniepneruxngpktisahrbkhrxbkhrwthimithanamngkhng aetphaph wsntvdu epnphaphthiaesdngihehnthungkarekhiynrupsylksnkhlassikaelakarwangrupaebbkhxngnganekhiynaebberxensxngs phaph wsntvdu epnphaphkhxngethphiwinskhnadethatwkhnyunkungepluxyxyuklangphaph phaphniepnphaphthiphuchmcaekhaickhwamhmaykhxngphaphidkdwykarmikhwamruxnluksunginwrrnkrrmkhxngyukherxensxngsaelakhwamsamarthinkarprasanthsntang ekhadwykn syncretism khnathitwaebbbangtwinphaphmacakaerngbndaliccakpratimakrrmobranaetmiichepnngankxppinganodytrngaetepnkarekhiynaebbtikhwamhmaytamkhwamkhidkhxngbxttiechlli thitwaebbmilksnaephriyw rupthrngthiepnaebbxudmkhtixnsungsng aela milksnakarwangthaaebbrachsankkhxngkhriststwrrsthi 16 aebbaemnenxrism winsyunxyuklangphaphhangcaktwaebbxun odymikhiwpidelngsraehngkhwamrkipyngethphicharithis Charites hrux itrethphi phuthikalngetnraxyuepnklumxyuthangdansaykhxngphaph ethphixngkhiklipthangkhwaepnibhnakhxng Caterina Sforza thibxttiechlliekhiynepnphaphehmuxntanghakinphaph aekhthethxrinaehngxelksanedriy swnkhxngwinsphuepnethphiaehngkhwamrkidrbkarxarkkhaodyethphemxrkhiwriphukalngexuxmmuxxkipaetaphlim emxrkhiwriaetngtwdwyesuxsiaedngxyanghlwm swmhmwkehlkaelahxydabthiepnkaraesdngwaepnphuxarkkhaswn karepnphusuxkhawcakphraecakbxkidcakrxngethathimipikaelathiemxrkhiwriichinkaraeykngusxngtwaelarksakhwamsngb bxttiechlliekhiynphaphnguepnmngkrmipik cakthangdankhwaethphecaaehnglmphyayamxxkmailnimf thangsaykhxngkhlxriskhuxethphiflxraethphiaehngwsntvduphukalngoprydxkimthixaccaepnphaphkhxng Simonetta Vespucci raylaexiydkhxngitrethphihlngcakthiphaphidrbkarthakhwamsaxadaelw thangdankhwaepnphaphkhxng phaphniidrbkartikhwamhmaykniptang thirwmthngkhwamhmaythangkaremuxngwakhwamrkkhuxorm itrethphi three Graces khuxpisa enepils aela ecnw emxrkhiwrikhuxmilan flxrakhuxflxerns emykhuxmantw khlxrisaelaesphifrkhuxewnisaelaoblsaon hruxaelafxrli nxkcakkhwamhmaytang thiwaaelwphaphnikyngaesdngthungthrrmchatikhxngkhwamepnmnusychatixyangluksung epnphaphthisathxnihehnthungxiththiphlkhxngwthnthrrmrwmsmyaelaepnkaraesdngxxkkhxngenuxhakhxngwrrnkrrmkhlassik aehlngkhxmulhnungkhxngchakthiekhiynxaccamacakkwiniphnth Fasti odyoxwid thiepnokhlngthibrryayptithinethskalkhxngormnobran sahrbeduxnphvsphakhmflxraelawakhrnghnungekhyepnnimfaelahayicxxkmaepndxkim phraphayesphifrhlngihlinkhwamngamkhxngktidtamaelaexaepnphrrya aelaprathanswnthingdngamthiepnswnaehngwsntvdutlxdkalih bxttiechlliekhiynphaphniepnsxngchakcakkhabrryaykhxngoxwid chakaerkepnphraphayesphifriltamkhlxrisaelakaraeplngkhxngkhlxrisepnflxra thithaihesuxphakhxngethphithngsxngkhthiduehmuxncaimehnknthukobkipkhnlathang flxrayunxyukhangwinsopryklibkuhlabthiepndxkimkhxngethphiaehngkhwamrk nkekhiynkhlassikbrryayiwinokhlngkhasxnprchya De Rerum Natura thisrresriyethphithngsxngxngkhinchakwsntvduchakediyw okhlngnibrryaythungwins khiwpid esphifr flxra sungepnbukhkhlthixyuinphaphthibxttiechlliwad sungthaihsnnisthanknwaokhlngniepnaehlngkhxmulhlkkhxngphaph Ernst Gombrich khankhwamsmphnthrahwangokhlngkhxngkbphaphniwaepnngankhxngepnnganthihnkipthangprchyathiimnacadungdudcitrkrihichepnaehlngkhxmul aelasnbsnunwa The Golden Ass ody Apuleius wanacaepnaehlngkhxmulkhxngphaphmakkwa thiepnokhlngthibrryayphaphekhiynthihayipxyanglaexiyd aelaepnngannikepnthiniymichepnaerngbndalicinbrrdasilpinyukherxensxngsknmak okhlngkhxngepnsylksnkhxngthangeluxkkhxngwinsinthanaethphiphumikhwamngamthisud thangeluxkthinaipsusngkhramemuxngthrxythibrryayody ohemxr in xieliyd sahrbmarsiliox fichionkhrukhxngolernosaelwwinsepnsylksnkhxng Humanitas channphaphekhiyncungepnkarechiychwniheluxkkhunkhakhxnglththimnusyniymerxenssxngs aetyngechuxwa wsntvdu epnphaphkhxng cak itrphumidanet odydanet cakkartikhwamhmaynibukhkhlinphaphcaksayipkhwakcaepn xadm khunthrrmsamprakar mathilda xif aela satan itrethphi flxra emxrkhiwri esphifraelakhlxrisxangxingWeb Gallery of Art Sandro Botticelli 1 Lindskoog Kathryn Dante s Divine Comedy Purgatory Journey to Joy Part Two retold with notes Mercer University press Macon Georgia 1997 ISBN 0 86554 573 1 page ix http www lindentree org prima html 2009 12 24 thi ewyaebkaemchchin Gombrich 1945 Botticelli s Mythologies A Study in the Neoplatonic Symbolism of His Circle Journal of the Warburg and Courtauld Institutes Vol 8 1945 pp 7 60duephimsnodr bxttiechlli