บทความนี้อาจขยายความได้โดยการแปลบทความที่ตรงกันในภาษาอังกฤษ คลิกที่ [ขยาย] เพื่อศึกษาแนวทางการแปล
|
โฮเมอร์ (กรีกโบราณ: Ὅμηρος Hómēros โฮแมโรส; อังกฤษ: Homer) เป็นนักแต่งกลอนในตำนานชาวกรีก ซึ่งเชื่อกันว่าเป็นผู้แต่งมหากาพย์เรื่อง อีเลียด และ โอดิสซีย์ ชาวกรีกโบราณเชื่อกันว่าโฮเมอร์เป็นนักประวัติศาสตร์ แต่นักวิชาการในปัจจุบันกลับมองโฮเมอร์ด้วยความรู้สึกสงสัย เพราะเป็นข้อมูลชีวประวัติที่สืบต่อกันมายาวนานมาก อีกทั้งตัวกาพย์เอง ก็ถูกเล่าแบบปากต่อปากมานานนับศตวรรษ และถูกแก้ไขใหม่จนกลายมาเป็นกวี มาติน เวสต์ เชื่อว่า "โฮเมอร์" ไม่ใช่นามของกวีในประวัติศาสตร์ แต่เป็นเพียงชื่อที่ถูกสร้างขึ้นมา
ช่วงเวลาที่โฮเมอร์มีชีวิตนั้นเองก็ยังเป็นที่ถกเถียงกันอยู่มาแต่โบราณและจนถึงทุกวันนี้ โดยเฮโรโดตุสอ้างว่าโฮเมอร์เกิดก่อนเขาประมาณ 400 ปี ซึ่งน่าจะเป็นช่วงประมาณ 850 ปีก่อนคริสตกาล แต่ทว่าแหล่งอ้างอิงโบราณอื่น ๆ กลับให้ข้อมูลที่ซึ่งใกล้เคียงกับเวลาที่น่าจะเกิดสงครามเมืองทรอยมากกว่า ซึ่งช่วงเวลาที่อาจจะเกิดสงครามเมืองทรอยนั้น เอราทอสเทนีส กล่าวว่าเกิดในช่วง 1194–1184 ปีก่อนคริสตกาล
อ้างอิง
- G. S. Kirk's comment that "Antiquity knew nothing definite about the life and personality of Homer" represents the general consensus (Kirk, The Iliad: a Commentary (Cambridge 1985), v. 1).
- West, Martin (1999). "The Invention of Homer". Classical Quarterly. 49 (364).
- Herodotus 2.53.
- Graziosi, Barbara (2002). "The Invention of Homer". Cambridge: 98–101.
{{}}
: Cite journal ต้องการ|journal=
((help))
แหล่งข้อมูลอื่น
- ผลงานของ โฮเมอร์ ที่โครงการกูเทินแบร์ค
- โฮเมอร์ 2008-04-12 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน จากไทยกูดวิว
wikipedia, แบบไทย, วิกิพีเดีย, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด, บทความ, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม, มือถือ, โทรศัพท์, Android, iOS, Apple, โทรศัพท์โมบิล, Samsung, iPhone, Xiomi, Xiaomi, Redmi, Honor, Oppo, Nokia, Sonya, MI, PC, พีซี, web, เว็บ, คอมพิวเตอร์
bthkhwamnixackhyaykhwamidodykaraeplbthkhwamthitrngkninphasaxngkvs khlikthi khyay ephuxsuksaaenwthangkaraeplkhunsamarthdu karaepldwykhxmphiwetxrcakbthkhwaminphasaxngkvs ekhruxngmuxchwyaeplxyang diphaexl hrux kuekilthranselth epncuderimtnthidisahrbkaraepl xyangirktam phuaeplcatxngtrwcsxbkhxphidphladcakkaraepldwykhxmphiwetxraelayunynwakaraeplnnthuktxng erakhxptiesthenuxhathikhdlxkcakekhruxngmuxaeplthiimmikartrwcthankxnephyaephr krunaxyaaeplswnkhxngkhxkhwamthiduaelwechuxthuximidhruxmikhunphaphta thaepnipid oprdchwyyunyndwykartrwcsxbaehlngxangxingthipraktinbthkhwamphasann oprdrabuiwinkhwamyxkaraekikhwakhunaeplenuxhamacakphasaid khunkhwrephimaemaebb Translated en Homer iwinhnaphudkhuy sahrbkhaaenanaaelaaenwthangephimetim oprdsuksaidthi wikiphiediy karaepl ohemxr krikobran Ὅmhros Homeros ohaemors xngkvs Homer epnnkaetngklxnintananchawkrik sungechuxknwaepnphuaetngmhakaphyeruxng xieliyd aela oxdissiy chawkrikobranechuxknwaohemxrepnnkprawtisastr aetnkwichakarinpccubnklbmxngohemxrdwykhwamrusuksngsy ephraaepnkhxmulchiwprawtithisubtxknmayawnanmak xikthngtwkaphyexng kthukelaaebbpaktxpakmanannbstwrrs aelathukaekikhihmcnklaymaepnkwi matin ewst echuxwa ohemxr imichnamkhxngkwiinprawtisastr aetepnephiyngchuxthithuksrangkhunmaruppnkhxngohemxr chwngewlathiohemxrmichiwitnnexngkyngepnthithkethiyngknxyumaaetobranaelacnthungthukwnni odyehorodtusxangwaohemxrekidkxnekhapraman 400 pi sungnacaepnchwngpraman 850 pikxnkhristkal aetthwaaehlngxangxingobranxun klbihkhxmulthisungiklekhiyngkbewlathinacaekidsngkhramemuxngthrxymakkwa sungchwngewlathixaccaekidsngkhramemuxngthrxynn exrathxsethnis klawwaekidinchwng 1194 1184 pikxnkhristkalxangxingG S Kirk s comment that Antiquity knew nothing definite about the life and personality of Homer represents the general consensus Kirk The Iliad a Commentary Cambridge 1985 v 1 West Martin 1999 The Invention of Homer Classical Quarterly 49 364 Herodotus 2 53 Graziosi Barbara 2002 The Invention of Homer Cambridge 98 101 a href wiki E0 B9 81 E0 B8 A1 E0 B9 88 E0 B9 81 E0 B8 9A E0 B8 9A Cite journal title aemaebb Cite journal cite journal a Cite journal txngkar journal help aehlngkhxmulxunphlngankhxng ohemxr thiokhrngkarkuethinaebrkh ohemxr 2008 04 12 thi ewyaebkaemchchin cakithykudwiw bthkhwamnkekhiynhruxnkpraphnthniyngepnokhrng khunsamarthchwywikiphiediyidodykarephimetimkhxmuldkhk